งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

2 ของแข็ง - โมเลกุลเรียงชิดติดกัน - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีมาก
- โมเลกุลเรียงชิดติดกัน - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีมาก - โมเลกุล เป็นระเบียบ เคลื่อนไหวได้น้อย - ช่องว่างระหว่างโมเลกุล มีขนาดเล็ก ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

3 ของเหลว - โมเลกุลจัดเรียงตัวกันอย่างหลวมๆ
- โมเลกุลจัดเรียงตัวกันอย่างหลวมๆ - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย - อนุภาคสามารถเลื่อนที่ได้อย่างอิสระ - ช่องว่างระหว่างโมเลกุลมาก ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

4 แก๊ส - โมเลกุลอยู่กระจายตัวห่างกันมาก
- โมเลกุลอยู่กระจายตัวห่างกันมาก - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย - โมเลกุลเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ - ช่องว่างระหว่างโมเลกุลมาก ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

5 เราสามารถพบสารได้ทั้งสามสถานะ
Three elements at room temperature ; Cl2 gas Br2 liquid I2 solide ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

6 การพิจารณาสถานะของสาร
ในการพิจารณาสถานะของสารนั้นจะต้องทราบ 1. Boiling Point  อุณหภูมิที่สูงกว่าจุดเดือด สารจะอยู่ในสถานะของก๊าซ 2. Melting Point  อุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุด หลอมเหลว สารจะอยู่ใน สถานะของ ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

7 การพิจารณาสถานะของสาร
Ex. การพิจารณา สถานะของน้ำที่อุณหภูมิ 80 ๐C Melting point Boiling point ( 0๐C) ๐C ( 100๐C) Solid Liquid Gas ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

8 การพิจารณาสถานะของสาร
Ex. จงพิจารณาสถานะของสาร A และ B เมื่อกำหนดให้ สาร mp. bp. A B -36 -300 380 -26 ที่อุณหภูมิ ๐C สาร A มีสถานะ_____ สาร B มีสถานะ ______ ที่อุณหภูมิ ๐C สาร A มีสถานะ _____ สาร B มีสถานะ ______ ที่อุณหภูมิ ๐C สาร A มีสถานะ _____ สาร B มีสถานะ ______ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

9 Phase diagram ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

10 Phase diagram ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

11 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

12 พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงสถานะ
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

13 ของแข็งแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
ของแข็งผลึก (Crystalline solid) อนุภาคเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบแบบแผนทางเรขาคณิตเป็นสามมิติ เรียกว่า Crystal lattice หรือ Space lattice ผิวหน้าเรียบ มุมระหว่างผิวหน้ามีค่าแน่นอน มีจุดหลอมเหลวแน่นอน มีสมบัติไม่เหมือนกันทุกทิศทาง (Anisotropic Substance) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

14 ของแข็งแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
ของแข็งผลึก (Crystalline solid) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

15 Crystalline solid ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

16 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

17 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

18 2. ของแข็งอสัณฐาน (Amorphous solid)
อนุภาคเรียงตัวโดยไม่มีระเบียบแบบแผน ผิวหน้าไม่เรียบ และมุมต่างๆ กัน ช่วงการหลอมเหลวกว้าง มีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง (Isotropic Substance) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

19 2. ของแข็งอสัณฐาน (Amorphous solid)
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

20 2. ของแข็งอสัณฐาน (Amorphous solid)
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

21 ลักษณะเฉพาะและสมบัติชนิดของผลึก ชนิดของอนุภาคภายในผลึก
ชนิดของพันธะหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค สมบัติทั่วไป ตัวอย่างของของแข็ง ผลึกโมเลกุล โมเลกุล หรือ อะตอม โมเลกุลมีขั้ว - แรงดึงดูดระหว่างขั้ว - พันธะไฮโดรเจน โมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอม - แรงลอนดอน - อ่อนหรือแข็งปาน กลางเปราะไม่มาก - จุดหลอมเหลวต่ำ - ไม่นำความร้อน และไฟฟ้า - น้ำแข็ง - แอมโมเนีย โมเลกุลไม่มีขั้ว - น้ำแข็งแห้ง - แนฟทาลีน - กำมะถัน - ไอโอดีน ผลึกโคเวเลนต์ ร่างตาข่าย พันธะโคเวเลนต์ - แข็ง - จุดหลอมเหลวสูง - ส่วนใหญ่ไม่นำ ความร้อนและ ไฟฟ้า - เพชร - แกรไฟต์ - ควอตซ์ ผลึกโลหะ พันธะโลหะ - นำความร้อนและ ไฟฟ้าได้ดี - แมกนีเซียม - เหล็ก - ทองแดง - โซเดียม ผลึกไอออนิก ไอออน พันธะไอออนิก - โพแทสเซียม ไนเตรต - ซิลเวอร์คลอไรด์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

22 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

23 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

24 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

25 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

26 การศึกษารูปของผลึกกำมะถัน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

27 การทดลองที่ 5.1 การศึกษารูปผลึกของกำมะถัน
ชื่อ ชั้น เลขที่ วิธีการทดลอง - ใส่ผงกำมะถัน 1 g ในหลอดทดลองขนาดกลาง และเติมโทลูอีนลงไป 5 cm3 - อุ่นสารในข้อ 1 ในบีกเกอร์น้ำร้อนที่อุณหภูมิ ประมาณ 75o C ใช้แท่งแก้วคนจนกำมะถันละลายหมด - ลดอุณหภูมิของสารละลาย ข้อ 2 อย่างช้า ๆ จนมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้อง ขณะที่ลดอุณหภูมิยังคงแช่สารละลายอยู่ในบีกเกอร์น้ำร้อน สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง - เทสารจากข้อ 3 ทั้งหมดลงบนกระจกนาฬิกาแล้วนำไปวางในที่อากาศถ่ายเทได้ดีโทลูอีนจะละเหยอย่างรวดเร็วสังเกตลักษณะของกำมะถันที่เกิดขึ้น ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

28 กำมะถันมอนอคลินิก กำมะถันรอมบิก
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

29 สมบัติของกำมะถันรอมบิก
1. เป็นผลึกรูปเหลี่ยม โปร่งใสสีเหลืองอ่อน 2. มีจุดหลอมเหลว oC และจุดเดือด oC 3. มีความหนาแน่น g/cm3 4. ละลายได้ใน CS2 (คาร์บอนไดซัลไฟด์) C6H6(เบนซีน) C7H8 (โทลูอีน) แต่ไม่ละลายน้ำ 5. เสถียรที่สุดที่อุณหภูมิปกติ ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า oC จะเปลี่ยนเป็นกำมะถันมอนอคลีนิก 6. ไม่นำไฟฟ้า ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

30 กำมะถันมอนอคลินิก กำมะถันมอนอคลินิก รูปคงตัวที่อุณหภูมิสูงกว่า oC แต่ไม่เกิน 119 oC ลักษณะผลึกเป็นรูปเข็ม เมื่อ อุณหภูมิต่ำกว่า oC จะเปลี่ยนเป็นกำมะถันรอมบิก เรียกอุณหภูมินี้ว่า Transition Temperature ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

31 สมบัติของกำมะถันมอนอคลินิก
1. เป็นผลึกรูปเข็ม โปร่งใสสีเหลืองเข้ม 2. มีจุดหลอมเหลว 119 oC และจุดเดือด oC 3. มีความหนาแน่น g/cm3 4. ละลายได้ใน CS2 (คาร์บอนไดซัลไฟด์) C7H8(โทลูอีน) 5. เสถียรที่อุณหภูมิสูงกว่า oC แต่ไม่เกิน 119 oC 6. ไม่นำไฟฟ้า ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

32 คาร์บอน                           ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

33 คาร์บอน ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

34 ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะ มีรูปที่สำคัญ 3 ชนิด คือ
ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะ มีรูปที่สำคัญ 3 ชนิด คือ ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสแดง ฟอสฟอรัสดำ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

35 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

36 แหล่งอ้างอิง Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร


ดาวน์โหลด ppt ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google