งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส 07500631.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส 07500631."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส

2 Magnetic drum ดรัมแม่เหล็ก (Magnetic Drum) หมายถึง วัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอก ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก มีขนาดต่าง ๆ กัน โดยเฉลี่ยทั่วไปมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 นิ้ว สูง 8 นิ้ว บันทึกข้อมูลไว้เป็นรอยทางรอบดรัมแม่เหล็กประมาณ 40 รอย ทางต่อ ระยะทางหนึ่งนิ้ว และ 2,000 บิตต่อ 1 รอยทาง มีความจุเฉลี่ยประมาณ 400, ,000,000 บิต หมุนเร็วด้วยอัตราสูง 12,000 รอบต่อนาที มีเวลาในการเรียกหาเฉลี่ย 8 มิลลิวินาที

3 การบันทึกข้อมูลลงบนพื้นผิวของ ดรัมจะบันทึกผ่านหัวบันทึก(write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) มีจำนวนมาก เท่ากับจำนวนของรอยทางที่บันทึกข้อมูลติดตั้งไว้ใกล้ผิวของดรัม ซึ่งมีหลักการ ทำงานคล้ายหัวอ่านและหรือหัวบันทึกของแถบแม่เหล็ก ลักษณะการทำงาน

4 Magnetic Drum 1951 - UNIVACI
ดรัมเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลน้อยกว่าแถบบันทึก (Magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานบันทึก (Magnetic disk)โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า (magnetic drum)  ตัวแม่เหล็กมีราคาถูกกว่าแกนแม่เหล็ก แต่ทำงานได้ช้ากว่า เนื่องจากต้องเสียเวลาไปในการหมุนของดรัมและการเคลื่อนย้ายหัวอ่านและหรือหัวบันทึกไปที่ตำแหน่งที่ต้องการ ของคอมพิวเตอร์ในชุดคำสั่ง Magnetic Drum UNIVACI

5 จนกระทั่ง IBM ได้พัฒนาฮาร์ดดิสก์ขึ้นมาได้สำเร็จ ซึ่งฮาร์ดดิสก์ในยุคแรกเป็น Magnetic Drum รูปทรงกระบอก ไม่ใช่แผ่นเล็กๆ แบนๆ อย่างที่เห็นในปัจจุบัน การเกิดขึ้นของฮาร์ดดิสก์มีส่วนช่วยต่อการทำงานของคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่เก็บข้อมูลแบบถาวร (Permanent storage), ข้อมูลไม่หายเมื่อมีการปิดไฟ (Non-volatile memory) และมีการเข้าถึงข้อมูลแบบ Random access โดยไม่จำเป็นต้องรออ่านข้อมูลตั้งแต่ต้นเหมือนอย่างในเทปแม่เหล็กฮาร์ดดิสก์ที่ใช้งานกันในปัจจุบันนั้นยังคงใช้แนวคิด และเทคโนโลยีหลายตัวดังเช่นฮาร์ดดิสก์แม่แบบ ด้วยความสามารถที่สูงขึ้น และราคาขนาดความจุต่อหน่วยลดลงทำให้ฮาร์ดดิสก์ได้กลายเป็นส่วนประกอบหนึ่งของคอมพิวเตอร์ชนิดที่ขาดไม่ได้

6 เอกสารอ้างอิงจากเว็บไซด์
YearEduc2550/AssignMent/Assign2%20%20from%20Students/...Drum/Magnetic%20cores&Drum.doc


ดาวน์โหลด ppt Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส 07500631.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google