งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Emulsifying Agent.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Emulsifying Agent."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Emulsifying Agent

2 Emulsion หมายถึงของ 2 ชนิด ผสมกันอยู่ในลักษณะที่ไม่ได้เป็นเนื้อเดียวกัน (ปกติไม่รวมกัน) แต่มิได้แยกออกจากกันโดยเห็นชัด โดยส่วนหนึ่ง ส่วนที่กระจายตัวมักจะมีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า disperse phase หรือ discontinuous phase หรือ internal phase ส่วนที่มีปริมาณมากว่าจะทำหน้าที่ห่อหุ้มส่วนที่กระจายตัว เรียกว่า continuous phase หรือ external phase หรือ external phase

3 Type internal phase external phase Emulsion Foam Aerosol Suspension Liquid gas solid liquid

4 ชนิดของ Emulsion มี 2 แบบ คือ
มี 2 แบบ คือ 1. Oil in water (o/w) น้ำมัน เป็น dispersed phsase ตัวอย่างเช่น นม, ไอศครีม,มายองเนส 2. Water in oil (w/o) น้ำ เป็น dispersed phsase ตัวอย่างเช่น เนย, มาการีน

5 ลักษณะทางกายภาพของ emulsion จะแตกต่างกันในด้านลักษณะและความหนืด
Appearance อิมัลชั่นอาจมีลักษณะปรากฏที่ขุ่น ทึบแสง ขาว หรือโปร่งใส viscosity ความหนืดของ emulsion มักใกล้เคียงกับความหนืดของ external phase

6 การทำ emulsion ต้องให้ dispersed phase กระจายตัวโดยมีขนาดเล็กที่สุด โดยใช้เครื่องผสม (blender) homogenizer หรือ colloid mill การทำอิมัลชันแบบ inversion เช่น ต้องการเตรียมอิมัลชันชนิด o/w จะผสมน้ำมัน, emulsifier ให้เข้ากันดีในเครื่องผสม เติมน้ำทีละน้อย visicosity เพิ่มขึ้นจนถึงจุด inversion point viscosity จะลดลงโดยฉับพลัน และเปลี่ยนจาก w/o เป็น o/w

7 ปัจจัยที่มีผลต่อความคงตัวของ emulsion
viscosity ของ continuous phase ควรจะมาก -electric charge continuous phase ควรมีประจุสูง dispersed phase ควรมีขนาดเล็กที่สุด Interfacial tension ควรให้น้อยที่สุด (ระหว่างส่วนผสม) การดูดซับอนุภาคของแข็งที่ผิวของ emulsifier phase ควรให้มีปริมาณของแข็งที่ปะปนอยู่ใน internal phase น้อยที่สุด

8 Emulsifier (emulsifying agent)
คือสารเคมีที่สามารถ emulsify หรือทำให้ emulsion, foam คงตัวโดยอาศัยคุณสมบัติการลดแรงตึงระหว่างผิว ในอดีตจะใช้อิมัลซิไฟเออร์ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น gum, polysaccharide, lecithin, lipoprotein, bile salt แต่ในปัจจุบันนิยมอิมัลซิไฟเออร์พวก monoglyceride (MG) และ diglyceride (DG) โดยพบว่า 70% ของอิมัลซิไฟเออร์ จะอยู่ในรูป MG, DG

9 อาจแบ่ง emulsifier (surfactant) ได้หลายประเภท ดังนี้
แบ่งตามประจุ anionic - surfactant ที่มีประจุลบบนส่วนที่เป็ฯ active portion ของโมเลกุล cationic - surfactant ที่มีประจุบวกบนส่วนที่เป็ฯ active portion ของโมเลกุล non-ionic – โมเลกุลไม่แสดงประจุ

10 2. แบ่งตามค่า HLB (hydrophilic – lipophilic balance)
amphoteric แสดงได้ทั้งประจุบวกและประจุลบขึ้นกับ pH Zwitter ionic – แสดงทั้งประจุบวกและประจุลบที่ surface active portion 2. แบ่งตามค่า HLB (hydrophilic – lipophilic balance) 3. แบ่งตามการละลาย 4. แบ่งตาม function group เช่น เป็นอิมัลซิไฟเออร์ ชนิดที่ไขมันอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว (saturate/unsaturate) , acid, alcohol

11 การเลือกใช้ emulsifier
อาจพิจารณาจากค่า HLB ซึ่งจะบอกปริมาณร้อยละโดยน้ำหนักของส่วน hydrophilic โดยปกติ HLB มีค่า ถ้าเป็นอิมัลซิไฟเออร์ที่ชอบน้ำมัน, น้ำ เท่า ๆ กัน จะมีค่า HLB = 10 ถ้าโมเลกุลเป็นพวกที่ชอบน้ำอย่างเดียว (100% hydrophilic) จะมีค่า HLB = 20

12 การคำนวณค่า HLB HLB = E/5 = 20(1- S/A)
; E = ร้อยละโดยน้ำหนักของ hydrophilic ในโมเลกุล S = Saponification number (mg. KOH ที่ saponify oil 1 g.) A = acid number ของกรดไขมันที่เกาะอยู่ในโมเลกุล (การคำนวณ HLB ตามสูตรข้างบนมักใช้กับพวก nonionic emulsifier)

13 ค่า HLB จะบอกคุณสมบัติในการนำมาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
HLB function 4 –6 w/o emulsifier 7 – 9 wetting agent 8 – 18 o/w emulsifier 13 – 15 detergent 15 – 18 solubiliser

14 Optimum stability ของ W/O emulsifier คือ HLB 3.5
O/W emulsifier คือ HLB 12 emulsifier หลายชนิดผสมกันให้ผลดีกว่า emulsifier ชนิดเดียวที่ค่า HLB เท่ากัน การเตรียม o/w emulsion ควรเลือก emulsifier ที่ละลายน้ำ การเตรียมอิมัลชันชนิด w/o ควรเลือกใช้ emulsifier ชนิดละลายได้ในไขมัน


ดาวน์โหลด ppt Emulsifying Agent.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google