ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
PRODUCTION ผลผลิต อัตราการผลิต PRODUCTION
พลังงานหรือสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตสร้างขึ้น RATE OF PRODUCTION PRODUCTIVITY อัตราการผลิต หน่วยที่ใช้ กิโลแคลลอลี่ /เมตร2/ ปี (kcal/m2/yr) กรัม น.น.แห้ง /เมตร2/ ปี (g/m2/yr)
2
พลังงานหรือสารอาหารที่ผู้ผลิตสร้างขึ้น จากการสังเคราะห์ด้วยแสง
PRODUCTIVITY PRIMARY PRODUCTIVITY ปฐมภูมิ พลังงานหรือสารอาหารที่ผู้ผลิตสร้างขึ้น จากการสังเคราะห์ด้วยแสง SECONDARY PRODUCTIVITY ทุติยภูมิ พลังงานหรือสารอาหารที่สร้างหรือสะสมในผู้บริโภค
3
PRIMARY (1O) PRODUCTIVITY
แบ่งได้เป็น GROSS PRIMARY PRODUCTIVITY(GPP) อัตราการสร้าง/ สะสม สารอินทรีย์ทั้งหมด จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของผู้ผลิต TOTAL PHOTOSYNTHESIS / TOTAL ASSIMILATION NET PRIMARY PRODUCTIVITY(NPP)
4
NET PRIMARY PRODUCTIVITY(NPP) สุทธิ
อัตราการสร้าง/ สะสม สารอินทรีย์ในผู้ผลิต โดยหักส่วนที่ใช้ในการหายใจ GPP รูป 2.26(a) NPP Rp APPARENT PHOTOSYNTHESIS NET ASSIMILATION
5
NPP = GROSS PP - RESPIRATION
6
NET ECOSYSTEM PRODUCTIVITY
รูปที่ 2.26 (b) GPP ผู้ผลิต NPP Rp Rh ผู้บริโภค Rp NEP NET ECOSYSTEM PRODUCTIVITY
7
SECONDARY PRODUCTIVITY
NPP Rp ผู้ผลิต ผู้บริโภค SECONDARY PRODUCTIVITY
8
อัตราการสร้าง = การใช้
สังคมที่สมดุล อัตราการสร้าง = การใช้ GPP ผู้ผลิต NPP Rp รูปที่2.26 (c) ผู้บริโภค Rh สร้าง กิน ใช้…หมด ไม่เหลือในการเจริญ
9
AVERAGE NET 10 PRODUCTION (G/M2/YR)
ตาราง 2.4(35)) % OF EARTH’S SURFACE AREA
10
PERCENTAGE OF EARTH’S NET 10 PRODUCTION
11
ขั้นตอนของGPP,NPP & 20 PRODUCTION NEW PROTOPLASM(CATTLE) 1.2
รูปที่2.27(34) ขั้นตอนของGPP,NPP & 20 PRODUCTION SUNLIGHT 2043 PLANT PHOTOSYN 33 NEW CORN PROTOPLASM 26.6 REFLECTED 2010 CORN RESPIRATION 6.4 GRAIN 8.2 CATTLE 7.0 NOT ASSIMILATION 1.2 RESPIRATION ราก กิ่ง…18.4. 20 PRODUCTION NEW PROTOPLASM(CATTLE) 1.2
12
สังคมที่กำลังเจริญ จะมีการสร้างผลผลิตมาก
สังคมที่กำลังเจริญ จะมีการสร้างผลผลิตมาก มากกว่าการใช้(หายใจ) มีส่วนเหลือ..การเจริญ สังคมที่พัฒนามานาน ..เจริญเต็มที่แล้ว อัตราการสร้าง = การใช้(หายใจ)
13
เปรียบเทียบPRODUCTIVITY สังคมกำลังเจริญ..เจริญเต็มที่
ตารางที่ 2.5 เปรียบเทียบPRODUCTIVITY สังคมกำลังเจริญ..เจริญเต็มที่ GPP Rp NPP Rh NCP Alfalfa Young Pine Mature RF Coastal Sound - 24400 12200 45000 5700 9200 4700 32000 3200 15200 800 14400 7500 4600 2900 13000 none 2500
14
เพิ่มขึ้นตามลำดับ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับค่า 10 productivity
TERRESTRIAL 10 PRODUCTIVITY 1.CLIMATIC FACTOR TEMPERATURE & PRECIPITATION การศึกษาพบว่า ช่วง C…PRODUCTIVITY เพิ่มขึ้นตามลำดับ สูง หรือ ต่ำกว่านี้ ไม่ขึ้นต่อกัน
15
TEMP
16
PRECIPITATION รูปแบบที่ตกลงมา... หิมะ / ฝน
สัมพันธ์เช่นกัน ขึ้นกับรายละเอียด เช่น รูปแบบที่ตกลงมา... หิมะ / ฝน การกระจายของฝน…. ดินในระบบอุ้มน้ำได้ดี? ทั่วๆไป ปริมาณฝนมาก PRODUCTIVITY มากด้วย
17
PRECIPITATION
18
ตัวอย่าง PRODUCTIVITY ที่สัมพันธ์กับ น้ำฝน
ตารางที่ 2.6(38) ตัวอย่าง PRODUCTIVITY ที่สัมพันธ์กับ น้ำฝน DESERT GRASSLAND MEXICO IDAHO TYPE LOCALITY PRECIP. NET ABOVEGR. PRODUCT.
19
ANNUAL WORLD PRECIPITATION
ต่ำ 20-40” ANNUAL WORLD PRECIPITATION
20
2. PLANT NUTRIENT แร่ธาตุอาหาร ผลโดยตรง….การเจริญของพืช การเพิ่มธาตุอาหาร…ปุ๋ย เพิ่ม 10 PRODUCTIVITY
21
ทดลองเพิ่มปุ๋ยให้พืช
มีการเจริญดีขึ้น BIOMASS
22
การกัดกินของสัตว์ มวลชีวภาพ ลดลง
3. HERBIVORY การกัดกินของสัตว์กินพืช การกัดกินของสัตว์ มวลชีวภาพ ลดลง แต่ในทางกลับกัน การกัดกิน แตกยอดใหม่ เพิ่ม PRODUCTIVITY สูงกว่าที่ไม่มีการกัดกิน
23
TANZANIA’S NATIONAL PARK ขณะที่ หญ้าที่ไม่ถูกกัดกิน มีการแห้งตายไป
GREEN BIOMASS DAYS AFTER GRAZING 16 32 UNGRAZED GRAZED ขณะที่ หญ้าที่ไม่ถูกกัดกิน มีการแห้งตายไป
24
ใต้ดิน กับ เหนือดิน อาจแปรผกผันกัน การเก็บข้อมูล จึงควรศึกษาประกอบกัน
4. ROOT PRODUCTION ควรคำนึงถึง เหนือดิน..ABOVEGROUND & ใต้ดิน.. BELOWGROUND PRODUCTIVITY เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ข้อมูลเหนือดิน อาจไม่ใช่เป็นตัวแทนที่ดี ใต้ดิน กับ เหนือดิน อาจแปรผกผันกัน การเก็บข้อมูล จึงควรศึกษาประกอบกัน
26
ใบขนาดใหญ่ รับแสงได้ดีกว่า
5.CANOPY GEOMETRY LEAF SIZE ขนาดใบ ใบขนาดใหญ่ รับแสงได้ดีกว่า LEAF-ANGLE ORIENTATION การเรียงตัวของใบ แนวดิ่ง หรือ แนวราบ ส่งผลต่อการรับแสง
27
NET PHOTOSYN. ดิ่ง ราบ
28
ปัจัยที่สำคัญ ที่มีผลต่อผลผลิตของระบบนิเวศแหล่งน้ำ
AQUATIC 10 PRODUCTIVITY ปัจัยที่สำคัญ ที่มีผลต่อผลผลิตของระบบนิเวศแหล่งน้ำ 1. ปริมาณแสงที่ได้รับตามระดับความลึกในน้ำ ยิ่งลึก แสงยิ่งน้อย NET PHOTOSYN. ความเข้มแสง% 10 1 30 ความลึก(ม) ความลึก
29
2. ธาตุอาหาร ในแหล่งน้ำ บางครั้งสารอาหารทับถมกันอยู่ด้านล่าง
ต้องมีกระแสน้ำ หรือ คลื่น ช่วยพัดพาขึ้นมา ให้ผู้ผลิตใช้ได้
30
นอกจากนี้ 10 PRODUCT.ยังมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ทะเลสาบMICHIGAN
สารอาหารถูกพัดพาขึ้นจากที่ลึก
31
แพลงก์ตอนพืช อยู่ต่ำกว่าผิวน้ำ
แพลงก์ตอนพืช อยู่ต่ำกว่าผิวน้ำ
33
ทะเลหมอก
34
การศึกษาค่าอัตราการผลิตปฐมภูมิ
1. HARVEST METHOD การเก็บเกี่ยว หรือตัดพืช มาชั่งน้ำหนัก มวล/ พื้นที่/ เวลา พลังงาน
35
นิยมใช้ศึกษากับ พืชไร่ ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น
นิยมใช้ศึกษากับ พืชไร่ ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น ต้องไม่มีการรบกวนจากแมลงและสัตว์อื่น ข้อเสีย ใช้เวลามาก ข้อมูลอาจผิดพลาด จากผลผลิตเก่า ที่ตกค้างอยู่ หรือ เก็บผลผลิตไม่หมด ไม่สามารถป้องกันแมลง และสัตว์ ได้ 100 %
37
2. CHLOROPHYLL METHOD ปริมาณ CHLOROPHYLL a ในพืช
เป็นสัดส่วนกับอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยการสกัด CHLOROPHYLL นำไปวัดด้วยเครื่อง SPECTROPHOTOMETER คำนวณกลับเป็นค่าอัตราการผลิต
38
3. CARBONDIOXIDE METHOD ใช้ภาชนะครอบพืช กลางแจ้ง
TRANSEAU (1926) ใช้ภาชนะครอบพืช กลางแจ้ง วัดCO2 ที่เข้า-ออก ภาชนะ กลางวัน….พืชสังเคราะห์แสง& หายใจ CO2 อัตราผลิตปฐมภูมิสุทธิ กลางคืน….การหายใจ
39
นิยมใช้กับระบบนิเวศบนบก มีความร้อนเกิดขึ้นในภาชนะ
ข้อเสีย มีความร้อนเกิดขึ้นในภาชนะ ใช้ได้กับพืชบางชนิด
40
4. LIGHT AND DARK BOTTLE METHOD
-การหายใจ
41
D L
42
ใช้ศึกษาในแหล่งน้ำ จืด ... เค็ม
ใช้ศึกษาในแหล่งน้ำ จืด ... เค็ม ข้อเสีย อัตราการหายใจ ในที่มืด กับสว่าง อาจแตกต่างกัน
43
จบบทที่ 2
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.