งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PASSEGE 8 PROTECTION OF FRESHWATER FISH การคุ้มครองของปลาน้ำจืด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PASSEGE 8 PROTECTION OF FRESHWATER FISH การคุ้มครองของปลาน้ำจืด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PASSEGE 8 PROTECTION OF FRESHWATER FISH การคุ้มครองของปลาน้ำจืด

2 For centuries, freshwater fish have been protected as a resource, initially because their value as a food for man and animals led to over fishing. เป็นหลายศตวรรษที่ปลาน้ำจืดได้รับการคุ้มครองในฐานะ ทรัพยากร อันดับแรกเพราะคุณค่าของพวกเขาเป็นอาหาร สำหรับมนุษย์และสัตว์ซึ่งนั่นนำไปสู่การจับปลาที่มากเกินไป

3 In the reign of Elizabeth I a law was passed to prevent the over-exploitation of coarse fish as a source of food for pigs, and there were many restriction on the taking of salmon, trout and eels. ในสมัยของเอลิซาเบธที่หนึ่งมีกฎหมายที่ผ่านได้เพื่อป้องกัน ไม่ให้แสวงหาผลประโยชน์มากเกินไปในการจับปลาเพื่อเป็น แหล่งอาหารสำหรับสุกรและมีข้อกำหนดในการจับปลาเทราท์, ปลาแซลมอนและปลาไหล

4 It was not until the mid-19 th century that the pollution state of rivers which drained the expending industrial areas because of public concern. จนกระทั่งกลางศตวรรษที่ 19 เกิดความกังวลใจของประชาชน เกี่ยวกับสถานการณ์มลพิษในพื้นที่อุตสาหกรรมที่ได้ระบายทิ้ง ในแม่น้ำ

5 This led to the number of initiatives in the UK including the setting up of Royal Commissions to investigate the problem and the passing of legislation. สิ่งนี้นำไปสู่​​จำนวนของผู้มีแนวคิดริเริ่มใน UK ได้จัดตั้ง คณะกรรมการรอยัลตรวจสอบปัญหาและผ่านการออก กฎหมาย

6 The first attempt to protect fish from pollution seemed simple. The Salmon and Freshwater Fisheries Act of 1889 contained the clause : ความพยายามครั้งแรกที่จะป้องกันปลาจากมลภาวะดูเหมือน ง่าย มีพระราชบัญญัติการประมงจากที่มีคำสั่ง 1889 เกี่ยวกับ การจับปลาแซลมอนและน้ำจืด

7 ‘ No person shall cause or knowingly permit to flow, or put or knowingly permit to be put, into any waters containing fish, or into any tributaries therefore, any liquid or solid matter to such an extent as to cause the water to be poisonous or injurious to fish or the spawning ground, spawn or food of fish, and if any person contravenes this subsection be shall be guilty of an offence against this act…’ ไม่มีใครจะได้รับอนุให้ทิ้งสิ่งใดลงในแม่น้ำ เพราะฉะนั้น ของเหลวหรือของแข็งที่มีส่วนผสมของโลหะ ที่เป็น สาเหตุให้น้ำเน่าเสีย เป็นอันตรายต่อปลา และบริเวณที่ ปลาวางไข่ หรือสัตว์ที่เป็นอาหารของปลา และถ้ามนุษย์ ยังทำพฤติกรรมแบบนี้จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติ

8

9 This clause was repeated in the subsequent Acts of 1923 and 1975. With the proviso that a person was not liable to a penalty if the discharge was authorized and if he could prove: พระราชบัญญัตินี้ถูกกระทำช้ำในเวลาต่อมาในปี 1923-1975 กับผู้ที่ไม่ตระหนักถึงโทษถ้าเขาได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลลงในแม่น้ำลำ ครองจะต้องมีความรับผิดชอบจะได้รับบทลงโทษ

10 ‘ that he had used the best pracable means, within a reasonable cost, to prevent such matter from doing injury to fish or the spawning grounds, spawn or food of fish;…. เขาจะต้องรับผิดชอบในทุกวิธีที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้ เรื่องดังกล่าวที่จะส่งผลกระทบถึงปลาและบริเวณวางไข่ปลา หรืออาหารปลา

11 These clauses show that there was a firm intention to protect fish, while recognizing the need for discharges to be made to water courses. But in practice these clauses were difficult to enforce. In rivers receiving multiple inputs it was difficult to prove that any one discharge was the specific cause of harm to a fisheries, and even if were, then there was always the defense that remedial action to improve the discharge would be too expensive, and in time of industrial competition, recession and unemployment, such arguments would be very persuasive

12

13 In practice, the use of Common Law was more effective; a riparian owner had a reasonable expectation that his water should contain a flourishing fish population and deserved compensation if upstream discharges prevented the establishment of this resource. ในทางปฏิบัติ, การใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ; เจ้าของที่ซึ่งติดชายฝั่งมีคาดหวังว่าแหล่งน้ำของเขาควรจะมี ประชากรปลาจำนวนมากและได้รับการชดเชยถ้าหากต้นน้ำ ปล่อยของเสียออกมาขัดขวางการสร้างทรัพยากรแหล่งนั้นๆ

14 It was in recognition if such an expectation that the Anglers’Co-operative Association (ACA) was formed in 1948 and in the following years a considerable number of successful prosecution were brought against discharges of harmful effluents. เป็นการตระหนักและการคาดหวังเช่นที่กล่าวมาแล้ว กลุ่ม Anglers'Co-operative Association (ACA) เป็นรูปร่างในปี 1948 และในหลายปีถัดไป เป็นปีที่สำคัญของการประสบ ผลสำเร็จในการลงโทษผู้ที่ทิ้งน้ำเสียลงในแหล่งน้ำ

15 The ACA is supported entirely public concern for the maintenance and restoration of freshwater fisheries. ACA ได้ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการบำรุงรักษาและการคง สภาพการประมงน้ำจืด

16 However, it is clear that for over 100 years there has been a restoration in successive Acts of Parliament that freshwater fish should be protected from pollution. อย่างไรก็ตาม เป็นที่ชัดเจนว่าตลอด 100 ปี ความสำเร็จของ กฏหมายในการบำรุงรักษา ในการกระทำต่อเนื่องกันของ รัฐบาลช่วยการประมงน้ำจืดจากการป้องกันจากมลพิษได้

17 The main problem has been in the enforcement of this intention and, during this century, these has been a steady progress towards the development of water quality standards for substances in effluents and in rivers. ปัญหาสำคัญได้ถูกบังคับใช้โดยกฎหมายนี้และในช่วงศตวรรษ นี้เกิดขึ้นและก้าวหน้าอย่างมั่นคงในการพัฒนามาตรฐาน คุณภาพน้ำสำหรับสารที่ทิ้งลงในแม่น้ำ Source : Lloyd, Richard. Pollution and freshwater Fish. Combridge : Blackwell Scientific publication Ltd. 1992.


ดาวน์โหลด ppt PASSEGE 8 PROTECTION OF FRESHWATER FISH การคุ้มครองของปลาน้ำจืด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google