ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Microsoft Excel 2007
2
พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Excel
เป็นโปรแกรมสำหรับงานด้านเอกสารในรูปแบบของตารางเหมาะสำหรับนำไปใช้งานด้านการคำนวณ แบ่งการทำงานเป็น Worksheet ในหนึ่งไฟล์ (Workbook) สามารถมีหลาย Worksheet ใน Worksheet ประกอบด้วย Row และ Column จุดตัดของ Row และ Column เรียกว่า Cell การคำนวณ สามารถใช้ชื่อ Cell เป็นตัวแปรในการคำนวณ
3
รู้จักกับโปรแกรม Excel 2007
Ribbon : ส่วนที่ใช้ติดต่อระหว่างผู้ใช้กับโปรแกรมแบบใหม่ Office Button : ปุ่มสำหรับการเข้าถึงเมนูพื้นฐานต่างๆ เช่น เช่น New, Open Save, Close เป็นต้น Table Tools : ช่วยในการจัดรูปแบบเซลล์หรือตารางให้สวยงามยิ่งขึ้น มีแถวและคอลัมน์มากขึ้น โดยมีแถวทั้งหมด 1,048,576 แถว มีคอลัมน์ 16,384 คอลัมน์ เริ่มจาก A-Z,AA-AZ,BA-BZ,…..,XFD Chart Tools : เป็นตัวช่วยในการออกแบบ chart การแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันระหว่างโปรแกรม
4
การป้อนข้อมูล ชนิดของข้อมูล
1. ค่าคงที่ (Constant) หมายถึง ข้อมูลที่ใส่ไปในเซลล์โดยตง โดยอาจเป็นตัวเลข,วัน-เวลา หรือข้อความ โดยข้อมูลนี้จะไม่เปลี่ยนค่า เว้นแต่เราได้ดำเนินการแก้ไขเอง 2. สูตรการคำนวณ (Formula) หมายถึง นิพจน์ที่อาจเกิดจากค่าคงที่ ,ฟังก์ชัน หรือเครื่องหมายคำนวณมาประกอบกัน ข้อมูลชนิดนี้ต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย = เสมอ และค่าของผลลัพธ์จะแปรเปลี่ยนตามค่าที่เกี่ยวข้อง
5
การสร้างสูตรคำนวณ Microsoft Excel 2007
6
รู้จักกับตัวดำเนินการ (Operation) ใน Excel
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง + บวก 3+7 - ลบ 18-5 * คูณ 6*2 / หาร 50/4 % เปอร์เซ็นต์ 18% ^ ยกกำลัง 10^3 = เท่ากับ A1=A2 < น้อยกว่า A1<A2 > มากกว่า A1>A2 <> ไม่เท่ากับ A1<>A2
7
ประเภทตัวดำเนินการ ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ
ตัวดำเนินการข้อความ ตัวดำเนินการอ้างอิง
8
=,<, >, >=,<=,<>
ลำดับการคิดคำนวณ ลำดับ ตัวดำเนินการ คำอธิบาย 1 ( ) วงเล็บ 2 % เปอร์เซ็นต์ 3 ^ ยกกำลัง 4 * , / คูณและหาร 5 + , - บวกและลบ 6 =,<, >, >=,<=,<> เปรียบเทียบ
9
หลักการพิมพ์สูตรคำนวณลงในเซลล์
1. ใส่เครื่องหมาย = ทุกครั้งก่อนสร้างสูตร เช่น =D3*E2 2. ใส่วงเล็บ คล่อมสูตรคำนวณ เพื่อให้โปรแกรมทราบว่าต้องการจะให้เซลล์ใดกระทำกับเซลล์ใดก่อน เช่น (A1+A2)*A3 3. ใส่เครื่องหมายคอมม่า (,) คั่นเพื่อแยกกลุ่มของเซลล์เป็นส่วนๆ เช่น B4,C5,D2 4. ใส่เครื่องหมายอัญประกาศ (“ ”) ในข้อความ เวลา หรือ วันที่
10
เครื่องหมายในการอ้างอิง
คำอธิบาย ตัวอย่าง : โคล่อน บอกช่วงข้อมูล เช่น A1:A20 หรือ 1:3 หมายถึงทั้งแถวที่ 1 ถึง 3 , คอมม่า ใช้ข้อมูลทั้ง 2 ช่วง เช่น SUM(B5:B1,D5:D15)
11
ความผิดพลาดของสูตรคำนวณ (Error Message)
สาเหตุ การแก้ไข #### ผลลัพธ์มีความยาวเกินช่องเซลล์ ปรับคอลัมน์ให้กว้างขึ้น # VALUE! ใช้ตัวดำเนินการผิดประเภท เช่น นำตัวเลขมาคำนวณกับข้อความ ตรวจสอบตัวดำเนินการ # NAME? -ชื่อเซลล์หรือฟังก์ชันสะกดผิด -ไม่ใส่ colon(;) ในสูตรที่อ้างอิงถึงช่วงเซลล์ -ตรวจสอบชื่อเซลล์และชื่อฟังก์ชัน -ใส่ colon (;) ในสูตรช่วงที่อ้างอิง เช่น A1:A5 # N/A ใช้ตัวแปรไม่ตรงฟังก์ชัน ตรวจสอบตัวแปรและแก้ไขให้ถูกต้อง # REF! ไม่พบเซลล์ที่อ้างถึง เปลี่ยนเซลล์ให้ถูกต้อง
12
การสร้างสูตรคำนวณ การสร้างสูตรเอง การใช้ฟังก์ชั่น =SUM =MAX =Median
= A+B การใช้ฟังก์ชั่น =SUM =MAX =Median =MIN =AVERAGE
13
การอ้างอิงตำแหน่งเซล
การอ้างอิงแบบสัมพัทธ์ การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.