ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Array
2
อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ กลุ่มข้อมูลประเภทเดียวกันที่มีการอ้างอิงถึงชื่อตัวแปรชื่อเดียวกัน โดยการอ้างอิงข้อมูลแต่ละตัวในอาร์เรย์จะมีการใช้ตัวชี้เพื่ออ้างอิง ตัวชี้ (index) ไว้อ้างถึงข้อมูลในอาร์เรย์ สมาชิก (element) คือ สมาชิกในอาร์เรย์
3
การประกาศตัวแปรชนิดอาร์เรย์ 1 มิติ
รูปแบบ: <ประเภทข้อมูล> <ชื่ออาร์เรย์>[ขนาดของอาร์เรย์] ตัวอย่าง int score[10]; char name[21]; float x[20]; score[0] score[1] score[2] score[3] score[4] score[5] score[6] score[7] score[8] score[9] score
4
การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 1 มิติ
รูปแบบ: <ประเภทข้อมูล> <ชื่ออาร์เรย์> [ขนาดอาร์เรย์] = {ค่าของสมาชิกแต่ละตัว} ตัวอย่างเช่น int num[5] = {10, 20, 30, 40, 50}; char character[3] = {‘a’, ‘b’, ‘c’}; char st[6] = “Hello”; เท่ากับ char st[6] = {‘H’, ‘e’, ‘l’, ‘l’, ‘o’}; num[0] num[1] num[2] num[3] num[4] num 10 20 30 40 50
5
การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ
การกำหนดค่าให้โดยตรง รูปแบบ: <ชื่ออาร์เรย์>[ตัวชี้] = ค่าที่ต้องการกำหนดให้ ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ char ch[6]; int i[3]; ch[0] = ‘H’; ch[1] = ‘e’; i[1]= 5; i[0] i[1] i[2] 5 i ch[0] ch[1] ch[2] ch[3] ch[4] ch[5] H e ch
6
การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ
การอ่านค่าเพื่อเก็บในอาร์เรย์ ตัวอย่างเช่น scanf(“%c”, character[1]); scanf(“%c”, i[0]);
7
การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ
การเก็บค่าให้กับสมาชิกในอาร์เรย์โดยใช้ loop รูปแบบ: for (int index = 0; index < arraysize; ++index) <กำหนดค่าหรืออ่านค่าของสมาชิกที่มีตัวชี้อยู่> ตัวอย่าง for (int i=0; i<10; ++i) scanf(“%d”, sample[i]);
8
ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติ
เขียนโปแกรมเพื่อรับค่าจำนวนเต็มเข้ามา 10 จำนวน เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงผลลัพธ์ จำนวนเต็มในข้อ 1. หาผลบวกของจำนวน 10 จำนวนในข้อ 1. แสดงผลลัพธ์ของผลบวกในข้อ 3.
9
แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาตัวเลขในตัวแปรอาร์เรย์ โดยกำหนดให้ตัวแปรอาร์เรย์เก็บข้อมูลได้ 10 จำนวน และมีค่าดังนี้ 25, 100, 84, 43, 98, 0, 55, 38, 12, 7 จากนั้นรับตัวเลขที่ต้องการค้นหาเข้ามา พื่อตรวจสอบว่าตัวเลขนั้นอยู่ที่ตำแหน่งใดภายในตัวแปรอาร์เรย์ ถ้าไม่พบตัวเลขที่ต้องการค้น ให้แสดงข้อความ “Not found data”
10
การส่งค่าจากอาร์เรย์ 1 มิติไปยังฟังก์ชัน
การเรียกใช้ การนิยาม
11
ตัวอย่าง
12
อาร์เรย์หลายมิติ รูปแบบ
<ประเภทข้อมูล> ชื่อตัวแปร[ขนาด N] …[ขนาด 2][ขนาด 1]; ตัวอย่างเช่น int m[4][3][6]; การกำหนดค่าเริ่มต้น int xy[3][3] = {10,20,30,40,50,60,70,80,90};
13
ตัวอย่าง
14
ตัวอย่าง เขียนโปรแกรมเพื่อรับคะแนน 4 วิชา ของนักเรียน 5 คน
พร้อมคำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละวิชา และคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละคน และหาว่านักเรียนสอบผ่านกี่คน โดยนักเรียนจะสอบผ่านก็ต่อเมื่อมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 50 คะแนน
15
รับคะแนน 4 วิชา ของนักเรียน 5 คน
ตัวอย่างหน้าจอข้อมูลเข้า ตัวอย่างโปรแกรม
16
คำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละวิชา
ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ ตัวอย่างโปรแกรม
17
ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ นับจำนวนนักศึกษาที่สอบผ่าน
และคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละคน และหาว่านักเรียนสอบผ่านกี่คน โดยนักเรียนจะสอบผ่านก็ต่อเมื่อมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 50 คะแนน ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ ตัวอย่างโปรแกรม นับจำนวนนักศึกษาที่สอบผ่าน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.