งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สัมนาเศรษฐกิจสมดุลใหม่ ทำไมต้องเศรษฐกิจสมดุลใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สัมนาเศรษฐกิจสมดุลใหม่ ทำไมต้องเศรษฐกิจสมดุลใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สัมนาเศรษฐกิจสมดุลใหม่ ทำไมต้องเศรษฐกิจสมดุลใหม่
พิสิฐ ลี้อาธรรม 29 ตุลาคม 2551 โรงแรม เจบี หาดใหญ่

2 วิกฤตเศรษฐกิจการเงินของโลก ในปี 1929 ทฤษฎีสมดุลใหม่ ของ Keynes
“The Wealth of Nations” ของ Adam Smith ในปี 1776 กับทฤษฎีของ Classics: มือที่มองไม่เห็นและปัจจัยการผลิต แนวคิดแบบ Microeconomics: supply-demand ของสินค้าแต่ละตัว 1900s มีการปฏิวัติการขนส่งด้วยการใช้รถยนต์และเครื่องบิน ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ดั้งเดิมที่ริเริ่มตั้งแต่ อดัม สมิท ไม่สามารถอธิบายวิกฤตเศรษฐกิจในปี 1929 นับเป็นวิกฤตที่เกิดภายหลังมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมและการเปลี่ยนระบบการขนส่ง30 ปี “The General Theory of Employment, Interest and Money” โดย John Maynard Keynes ในปี1936 ต้นแบบของMacroeconomics ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค มุ่งใช้กับเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีการค้ากับต่างประเทศ การตั้ง Breton Woods Institutions เช่น IMF และ World Bank เพื่อดูแลระบบการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสถกลต่างๆ และการให้สินเชื่อระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ในปี 1945

3 New Theories Supply creates Demand ก่อน 1936
Demand Management และ Inflation หลังสงครามโลก 2 Supply side economics สมัย Reagan ปี 1980s Neo Classics vs Neo Keynesian Development Economics and Productivity Asian Miracle in 1990s and Paul Krugman: that the growth of economies in East Asia was not the result of new and original economic models, but rather increased capital and labor inputs, which did not result in an increase in total factor productivity

4 วิกฤตเศรษฐกิจโลก ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคและความสมดุลทางด้าน Flows
Decreasing rate of return and the traditional agriculture and industrial goods Budget constraints and marginal utilities ภาวะเงินเฟ้อ และการ ดำเนินนโยบายการเงินการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ Financial risk and financial innovation กลไกตลาดและราคากับบทบาทและการทำงานของภาครัฐ วิกฤตเศรษฐกิจในครึ่งหลังของปี 1900 มาจากการขาดดุลการคลัง กระแสโลกาภิวัฒน์ และ โรคติอต่อของวิกฤตเศรษฐกิจ (Contagion) วิกฤตเศรษฐกิจการเงินของโลก ในปี 2008 และ ทฤษฎีสมดุลใหม่ ????

5 Complexity of Wealth management
Investment behavior of funds managers Liquidity in Global Financial system Hedge Funds and leverage Inadequate Government regulations Free market and tax heavens

6 New crisis: Financial Wealth, hedge Fund, International capital flows and efficient market mechanism Bubble economy and asset inflation Asset price bubble burst: Japan (1989), Asia(1997/8), USA&UK(2007/8) IMF rescue package, US $700 billion Modern technology: perfect information flows Crisis of confidence among investors Valuation of asset prices: future value/present value /Downward spiral adjustment of asset price นโยบายการเงินการคลังไม่ได้ผล ไม่สามารถฟื้นความสมดุลทั้งในภาคการเงินและเศรษฐกิจจริง Too big to fail: AIG, Bank of America, etc.

7 ทฤษฎี สมดุลใหม่ : Asset valuation (A new general equilibrium theory)
บทบาทของรัฐบาลและการอัดฉีดเงินเพื่อสร้างความเชื่อมั่น Areas of psychology and public administration Economy of scale and increasing rate of return for service sector โดยเฉพาะภาคการเงินและอสังหาริมทรัพย์ Stocks และ equilibrium financial and real asset prices Global policy coordination: Plaza Agreement in 1985 ลำพังประเทศเดียวไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ พฤติกรรมของ นักลงทุนและธนาคาร กับการทำงานของระบบการเงิน และการไหลเวียนของเงินทุนระหว่างประเทศ

8 ความเสียหาย ตลาดหุ้น มูลค่าหายไปกว่าครึ่งในโลก
ทุนของสถาบันการเงินหายไป กว่า 1.3 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ การล่มสลายของระบบ investment banking การทำงานของระบบ การประเมินความน่าลงทุน (Rating Agency) เช่น Moody’s และ Standard and Poor บริษัทรับประกันความเสี่ยงของตราสาร เช่น AMBAC และ MBIA ความเสียหายของ AIG จาก ธุรกรรม อนุพันธุ์ (derivatives) และ ธุรกิจรับรองความเสี่ยงของสินเชือ (credit swap swap) Question 1- 2 Credit derivatives Financial guarantee contracts that provide for payments to be made if the debtor fails to make payment when due are excluded from IAS 39. Some credit default derivatives, such as certain credit default swaps and other credit default products, contain similar provisions. Are they also excluded from IAS 39? Yes, if the credit default derivative cannot be distinguished from a financial guarantee contract that would be excluded from IAS 39. To illustrate: Bank A has total outstanding loans of 100 million to its largest customer, Company C. Bank A is concerned about concentration risk and enters into a credit default swap contract with Bank B to diversify its exposure without actually selling the loans. Under the terms of the credit default swap, Bank A pays a fee to Bank B at an annual rate of 50 basis points on amounts outstanding. In the event Company C defaults on any principal or interest payments, Bank B pays Bank A for any loss. There is no characteristic of the credit default swap that distinguishes it from a financial guarantee contract. Because the credit default swap provides for payments to a creditor (Bank A) in the event of failure of a debtor (Company C) to pay when due, it is outside the scope of IAS 39. IAS 37, Provisions, Contingent Liabilities and Contingent Assets, provides guidance for recognising and measuring financial guarantees, warranty obligations, and other similar instruments. On the other hand, a credit swap is within the scope of IAS 39 if payment by Bank B to Bank A is contingent on an event other than payment default by Company C, such as a ratings downgrade or a change in credit spread above an agreed level or Company C's default on debt payable to a third party. " Most credit derivatives will define a "credit event" and such event will usually be more comprehensive than a default of the obligor. Hence, it is unlikely that credit derivative contracts will fall under the exclusion related to financial guarantee contractw. If they are not financial guarantee contracts, they are covered by IAS 39/ FAS 133. Accordingly, the fair value of the derivative contract, both in the books of the protection buyer and the protection seller will be computed and put on books in each reporting period. As for all derivative contracts, the changes in fair value are routed through the revenue statements. In case of an investor in a credit linked note or a synthetic CDO, there is an embedded credit derivative in the investment. Accounting rules require the separation of an embedded derivative if the economic substance of the derivative is not closely related to the host contract. The host contract is one of investment, and the derivative is one of a credit protection: the two are obviously unrelated. Therefore, it will be necessary for all investors in credit linked notes and synthetic CDOs to separate the credit derivative and account for it on fair value basis on each reporting date.

9 มาตรการเรียกความเชื่อมั่นของรัฐบาลสหรัฐและยุโรป
การค้ำประกันเงินฝาก การค้ำประกันสินเชื่อระหว่างธนาคาร การซื้อหุ้นธนาคารและการ รับเป็นกิจการของรัฐ (nationalization) การให้กู้เงินแก่ภาคเอกชน การค้ำประกันเงินกู้จากต่างประเทศ การยกฐานะเป็นธนาคารเต็มรูป การสนับสนุนทางการเงินให้ธนาคารที่แข็งแรงไปซื้อธนาคารที่อ่อนแอ

10 การปรับระบบการกำกับสถาบันการเงินทุกประเภท
บทบาทของผู้กำกับในการกำหนดนโยบายการเงินเพื่อป้องกันเงินเฟ้อ บทบาทของผู้กำกับระบบการเงินในการควบคุมความเสี่ยงในระดับมหภาค นอกเหนือจากความเสี่ยงขององค์กร เช่นที่มี Risk Management Committee และ Basel2 ในการกำหนดความเพียงพอของเงินกองทุน โดยให้ครอบคลุมมากกว่า สถาบันการเงินที่รับเงินฝาก (Deposit taking institutions) บทบาทของผู้กำกับในการคุมความเสี่ยงในระดับ Macro และมาตรการแทรกแซงของผู้กำกับ หรือ Macro Risk Management การทบทวนระบบการตีราคาในบัญชี (Mark to Market) และ multiplier effect ของ mark to market การเปิดเผยข้อมูล Transparency การจัดระบบการลงบัญชี off balance sheet ต่างๆ

11 เป้าหมายทางเศรษฐกิจที่มีเงื่อนไขสู่สมดุลใหม่
การเจริญเติบโต ได้คำนึงถึงค่าเสียหายจากการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมและค่าเยียวยาทางสังคม การคิดค่าตอบแทนทางสังคมและสิ่งแวดล้อมประกอบกับผลตอบแทนทางการเงิน การรักษาเสถียรภาพ กระทำได้ยากขึ้น เพราะ herd instinct และinternet/free flows of information ทำให้ความผันผวนรุนแรงขึ้น ความเสี่ยงมีมากขึ้น ประสิทธิภาพในการทำงานของภาครัฐในการดำเนินนโยบาย Anti cyclical policy การกระจายรายได้และการมีส่วนร่วมของประชาชน การใช้หลักธรรมาภิบาลของภาครัฐและเอกชน

12 Thailand: Back to basics
Supply side economics: Total Factor Productivity Land Capital Labor: Education ระบบการเรียนการสอนของไทยก่อนและหลังการเข้ามหาวิทยาลัย การทำงานแบบทีมเวอร์ก process improvement invention vs Innovation Good Governance

13 29 October 2008


ดาวน์โหลด ppt สัมนาเศรษฐกิจสมดุลใหม่ ทำไมต้องเศรษฐกิจสมดุลใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google