งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ลักษณะที่สำคัญ ไม่มีนิวเคลียส ไมโตคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ กิจกรรมภายในเซลล์เป็นแบบง่ายๆ ประกอบด้วยแบคทีเรีย ส่าหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน

2 สมมุติฐาน เซลล์เริ่มแรกไม่ใช้ออกซิเจน
ดำรงชีวิตโดยการใช้อาหารภายนอกเซลล์ พบวากที่คล้ายแบคทีเรียในหินควอทซ์ เรียกว่า หินปลิ้น หรือ เซิร์ต (Flint or Cherts) มีอายุประมาณ 3,500 ปี หรือหินชุด Warranoona ในออสเตรเลีย สโตรมาโตไลท์ (Stromatolite) ไซยาโนแบคทีเรีย จะสร้างสารที่เหนียวและตะกอนสะสมในรูปหินปูน

3 วิวัฒนาการของเซลล์ยูคาริโอต
ลักษณะที่สำคัญ ประกอบด้วย โปรติสตา (Protista) ฟังไจ (Fungi) พืช (Plant) และสัตว์ (Animal) มีโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์คล้ายๆ กัน

4 สมมุติฐาน Independent theory - แยกจากโปรคาริโอต ตั้งแต่ต้น
- แยกจากโปรคาริโอต ตั้งแต่ต้น - ไม่เป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน เพราะทั้งโปรคาริโอตและยูคาริโอตมีขบวนการเมตาบอลิซึมที่เหมือนกัน - ไม่พบตัวอย่างของยูคาริโอต ที่มีอายุมาก

5 2. Classical theory ยูคาริโอต เกิดจาก โปรคาริโอต โดยค่อยๆเปลี่ยนแปลงเป็นยูคาริโอต เกิดจากมิวเตชั่นที่เป็นประโยชน์ 3. Symbiotic theory ยูคาริโอต เกิดจากโปรคาริโอตเข้าไปอาศัยในโปรคาริโอตขนาดใหญ่ เกิดขึ้นแบบทันทีทันใด

6 เสนอโดย Lynn Margulis - ไมโตคอนเดีย เกิดจากแบคทีเรียที่หายใจโดยใช้ออกซิเจน เข้าไปอาศัยอยู่ใน โปรคาริโอต คลอโรพลาสต์ เกิดจากไซยาโนแบคทีเรีย เข้าไปอาศัยในโปรคาริโอต

7 ข้อสนับสนุน Symbiotic theory
ไม่มีเซลล์หรือโครงสร้างที่มีลักษณะกึ่งกลางระหว่างโปรคาริโอตและยูคาริโอต ยูคาริโอต มักพบสิ่งมีชีวิต เข้ามาอาศัยในเซลล์ เช่น ไซยาโนแบคทีเรีย เข้าไปอาศัยในอะมีบา ไดอะตอม โปรติสท์ ฟังไจ เป็นต้น 3. ไมโตคอนเดียและคลอโรพลาสต์ สามารถแบ่งตัวและเพิ่มจำนวนแบบ Binary fission เหมือนแบคทีเรีย


ดาวน์โหลด ppt กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google