ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การโปรแกรมควบคุมแบบทำงานซ้ำ
2
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำ
เป็นรูปแบบการทำงานแบบวนลูปที่มีการทำงานซ้ำ ชุดคำสั่งชุดเดิมไปเรื่อยๆ ทำซ้ำจนกระทั่งเงื่อนไขที่กำหนดจะเป็นเท็จจึงจะออก จากลูปคำสั่ง ได้แก่ คำสั่ง while คำสั่ง do…while คำสั่ง for
3
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรม
แบบทำซ้ำ while do…while for
4
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง while
ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการทำงานภายใต้ลูปทุกครั้ง ทำซ้ำก็ต่อเมื่อนิพจน์ที่กำหนดเป็นจริง โดยที่ boolean_expression เป็นนิพจน์ที่เป็นเงื่อนไขทางตรรกศาสตร์ ได้ผลลัพธ์เป็นจริงหรือเท็จ statements เป็นชุดคำสั่งที่ต้องการให้มีการทำซ้ำ while (boolean_expression) { statements; }
5
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง while (ต่อ)
คำสั่งกำหนดค่าเริ่มต้น นิพจน์ ตรรกศาสตร์ เท็จ คำสั่งเปลี่ยนแปลงค่า ชุดคำสั่ง จริง ทำชุดคำสั่งซ้ำ ถ้านิพจน์ตรรกศาสตร์ ยังเป็นจริง
6
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง while (ต่อ)
ตัวอย่าง int i=0; while (i<10) { System.out.println((i+1)“. Welcome to Java!!!”); count++; }
7
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง while (ต่อ)ตัวอย่างโปรแกรม
public class SampleWhile { public static void main(String args[]) { int i = 1; while(i <= 10) { System.out.print(i+" "); i++; }
8
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรม
แบบทำซ้ำ while do…while for
9
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง do…while
โดยที่ statements เป็นชุดคำสั่งที่ต้องการให้มีการทำซ้ำ boolean_expression เป็นนิพจน์ที่เป็นเงื่อนไขทางตรรกศาสตร์ ที่มีการตรวจสอบหลังทำงานในชุกคำสั่งเสร็จสิ้นทุกครั้ง do { statements; } while (boolean_expression);
10
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง do…while (ต่อ)Flowchart
ชุดคำสั่ง เท็จ นิพจน์ตรรกศาสตร์ จริง คำสั่งเปลี่ยนแปลงค่า มีการทำชุดคำสั่ง อย่างน้อยหนึ่งครั้งเสมอ ทำชุดคำสั่งซ้ำ ถ้านิพจน์ตรรกศาสตร์ ยังเป็นจริง
11
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง do…while (ต่อ)ตัวอย่างโปรแกรม
public class SampleDoWhile { public static void main(String args[]) { int i = 1; do { System.out.print(i+" "); i++; } while (i <= 10); }
12
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรม
แบบทำซ้ำ while do…while for
13
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง for
ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการ ทำงานภายใต้ลูปทุกครั้ง โดยทำงานเมื่อเงื่อนไขเป็น จริง เมื่อทำงานที่ชุดคำสั่ง ภายในลูปเสร็จสิ้น จะมีการ เพิ่มหรือลดค่าตัวแปร ควบคุมตามคำสั่งที่กำหนด ไว้
14
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง for (ต่อ)
รูปแบบการทำงาน โดยที่ ctrl_var เป็นตัวแปรที่ควบคุมจำนวนครั้งของการทำซ้ำ val เป็นค่าเริ่มต้นที่กำหนดให้ตัวแปรควบคุม bool_expr เป็นนิพจน์ที่เป็นเงื่อนไขทางตรรกศาสตร์ที่มีการ ตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็น T หรือ F ก่อนทำงานคำสั่งภายใน { } for (ctrl_var = val; bool_expr; increment or decrement) { statements; }
15
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง for (ต่อ)
รูปแบบการทำงาน (ต่อ) โดยที่ increment or decerment เป็นคำสั่งเพิ่มหรือลดค่าของตัวแปร ควบคุม statements เป็นชุดคำสั่งที่ต้องการให้มีการทำซ้ำ for (ctrl_var = val; bool_expr; increment or decrement) { statements; }
16
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง for (ต่อ)
ตัวอย่าง int i; for (i=0; i<10; i++) { System.out.println(i+1“. Welcome to Java!!!”); } for (int i=0; i<10; i++)
17
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง for (ต่อ)Flowchart
คำสั่งกำหนดค่าเริ่มต้น นิพจน์ ตรรกศาสตร์ เท็จ คำสั่งเปลี่ยนแปลงค่า ชุดคำสั่ง จริง ทำชุดคำสั่งซ้ำ ถ้านิพจน์ตรรกศาสตร์ ยังเป็นจริง
18
คำสั่งควบคุมทิศทางของโปรแกรมแบบทำซ้ำคำสั่ง for (ต่อ)ตัวอย่างโปรแกรม
public class SampleFor { public static void main(String args[]) { for (int i=1; i<=10; i++) { System.out.print(i+" "); }
19
คำถามท้ายบท จงทำเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
จงทำเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1.ค่าเงื่อนไขในลูป for ใช้สำหรับทำสิ่งใด ก.กำหนดนิพจน์หรือเงื่อนไข ข.กำหนดค่าเริ่มต้น ค.ลดค่าตัวแปร ง.เพิ่มค่าตัวแปร 2.ลูปในภาษาซีประเภทใดที่ต้องทำสเตตเมนต์ในลูปแน่ๆ ก.for ข.while ค.do….while ง.ถูกทุกข้อ
20
คำถามท้ายบท (ต่อ) 3.ลูปประเภทใดที่ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการทำในลูป
คำถามท้ายบท (ต่อ) 3.ลูปประเภทใดที่ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการทำในลูป ก.do…while ข.do…while และ for ค.for ง.forและwhile 4.ในการเขียนโปรแกรมที่มีการออกแบบเมนูเลือกทำนิยมใช้ ลูปใด ก.do…while ข. for ค. while ง.ข้อ ก. และ ข. ถูก
21
สมาชิกในกลุ่ม 1.นายศตวรรษ รองเลื่อน รหัส 565703055
1.นายศตวรรษ รองเลื่อน รหัส 2. นายธีรวัฒน์ ไฝพรม รหัส 3. นายธีรศักดิ์ ไชยภักดี รหัส 4. นางสาววิลาวรรณ พรมสมดะ รหัส 5. นางสาวฮายาตี สะอิ รหัส
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.