งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล

2 การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
1 วัตถุประสงค์การวิจัย 2 สมมุติฐานการวิจัย 3 ข้อมูล หรือ คำตอบที่ต้องการ 4 วิธีการ และ เครื่องมือที่ใช้

3 สิ่งที่ได้จากการวัด หรือสังเกต
คะแนนผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะ Quantitative Qualitative Interval Nominal Ratio Ordinal

4 การนำเสนอข้อมูล ผลเชิงปริมาณ ผลเชิงคุณภาพ บทความบรรยาย ตาราง แผนภูมิ

5 สถิติ Statistics 1. สถิติบรรยาย/พรรณนา Descriptive Statistics
เป็น สถิติพื้นฐาน ที่ใช้จัดกระทำกับข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายลักษณะต่าง ๆ ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. สถิติอ้างอิง Inferential Statistics เป็น สถิติที่ใช้ทดสอบความมีนัยสำคัญ โดยนำข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ สรุปแล้วอ้างอิงกลับไปยังประชากรเป้าหมาย

6 สถิติบรรยาย/พรรณนา Descriptive Statistics
ความถี่ ร้อยละ (f , %) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ( , Mdn , Mo) * ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม การวัดการกระจาย (R , SD , SD2,, S2 ) * พิสัย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวน การหาความสัมพันธ์ ( 2 ,  , rxy ) แบบ Chi Square ข้อมูลนามบัญญัติ Nominal scale แบบ Spearman Ranks ข้อมูลเรียงอันดับ Ordinal scale แบบ Pearson Product Moment ข้อมูลแบบช่วง Interval scale อัตราส่วน Ratio scale

7 สถิติอ้างอิง Inferential Statistics
การทดสอบนัยสำคัญของความแตกต่างของค่าเฉลี่ยประชากร (z, t, F-test) 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน t-Independent 2 กลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระแก่กัน t -Dependent/Correlated มากกว่า 2 กลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis Of Variances : ANOVA)

8 สถิติอ้างอิง Inferential Statistics
การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของประชากร z- test - ทราบค่าความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ประชากรแต่ละกลุ่มมีขนาด  30 t - test - ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร - ประชากร แต่ละกลุ่มมีขนาด  30

9 แบบหนึ่งกลุ่มวัดครั้งเดียว (The One - Shot Case Study)
เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่มได้รับการจัดกระทำ หลังจากนั้นทำ การทดสอบ Treatment Test X O µ = ค่าเฉลี่ยของประชากร หรือค่าคงที่ หรือค่ามาตรฐาน เพื่อศึกษาผลการเรียน จากการใช้วิธีสอน 4MAT โดยเทียบกับเกณฑ์การผ่านร้อยละ ๘๐

10 แบบหนึ่งกลุ่ม วัดก่อน วัดหลัง
(The One – Group Pretest-Posttest Design) เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่ม มีการวัดก่อน และหลังการจัดกระทำ Pretest Treatment Posttest O1 X O2 df = n-1

11 แบบเปรียบเทียบสองกลุ่ม ที่คงที่
(The Static – Group Comparision Design) เป็นแบบการวิจัย 2 กลุ่ม ไม่มีการสุ่ม Treatment Test E X O C O

12 ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน
กำหนดสมมติฐานการวิจัย และ สมมติฐานทางสถิติ กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ  (alpha) หาค่าวิกฤติ โดยการเปิด ตาราง t (ค่าของขอบเขตการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานกลาง H0 ที่ถูกต้อง) หาค่าสถิติทดสอบ t (คำนวณโดยใช้สูตร) เปรียบเทียบค่า t ที่คำนวณได้ กับค่าวิกฤต (ค่า t ตาราง) ตัดสินใจสรุปผล t คำนวณ > t ตาราง = ปฏิเสธ H0 t คำนวณ < t ตาราง = ยอมรับH0

13 การกำหนดสมมติฐาน

14 การกำหนดระดับนัยสำคัญ
: ระดับความมีนัยสำคัญ level of significance ใช้สัญลักษณ์  (alpha) - ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในการทดสอบ - ความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะปฏิเสธสมมติฐานกลางที่ถูกต้อง - ค่าระดับความมีนัยสำคัญ โดยทั่วไปคือ 0.01 และ 0.05 (การทดสอบมีความน่าเชื่อถือได้ ร้อยละ 99 และ 95)

15 ค่าวิกฤต Critical value
- ค่าที่เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจว่าจะ ยอมรับ หรือ ปฏิเสธ สมมติฐานกลาง H0 - ได้จากการเปิดตาราง t โดยใช้ค่าระดับความมีนัยสำคัญ และชั้นแห่งความเป็นอิสระ Degree of Freedom : df หน้า 197

16 วิธีการหาค่าวิกฤตจากการเปิดตาราง t
เป็นการทดสอบสมมติฐาน หนึ่งทาง หรือ สองทาง กำหนดระดับนัยสำคัญ  (alpha) หาชั้นแห่งความเป็นอิสระ : df ค่าที่ระดับนัยสำคัญ กับ df ตัดกัน คือ ค่าวิกฤต

17 การหาค่าสถิติทดสอบ t : เป็นการพิจารณาค่าสถิติที่คำนวณได้
โดยเทียบกับพื้นที่ตามขอบเขต การยอมรับ หรือ ปฏิเสธ - ค่า t ที่คำนวณได้ น้อยกว่า ค่าวิกฤติ = ยอมรับ H0 t คำนวณ < t ตาราง = ยอมรับ H0 : ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน - ค่า t ที่คำนวณได้ มากกว่า ค่าวิกฤติ = ปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1 t คำนวณ > t ตาราง = ปฏิเสธ H0 : ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มแตกต่างกัน

18 การกำหนดสมมติฐาน

19 คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนักเรียนสองกลุ่มแตกต่างกัน
การเปิดตาราง t คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนักเรียนสองกลุ่มแตกต่างกัน H0:คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนร.สองกลุ่มเท่ากัน H1:คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนร.สองกลุ่มแตกต่างกัน Ho : 1 = 2 H1 : 1  2 ที่ระดับนัยสำคัญ df = 18 ค่าวิกฤต = ……….…..

20 การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม
การศึกษาผลการใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวกเพื่อ ลดพฤติกรรมก้าวร้าวในเด็กชายบี... วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวก ในการลดพฤติกรรมก้าวร้าวในเด็กชายบี... ข้อมูลที่ต้องการศึกษา(ตัวแปรตาม) คือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ (เชิงคุณภาพ) เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม เชิงบรรยาย การวิเคราะห์ข้อมูล : ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

21 การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม
ผลการพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตดนตรีสากล โดยใช้ชุดแบบฝึก Funny Song วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตดนตรี สากลโดยใช้ชุดฝึก Funny Song ข้อมูลที่ต้องการศึกษา(ตัวแปรตาม) ต้น = ตาม = เครื่องมือ วิธีการ การวิเคราะห์ข้อมูล :


ดาวน์โหลด ppt สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google