ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPira Sangwit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired pigs on growth performance, carcass and meat quality traits of fattening pigs โดย นายธนาพงศ์ ก้องเจริญกุล รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล
2
บทนำ สารเร่งเนื้อแดง
3
พันธุกรรมของสุกร พันธุกรรมหลัก 2 ตัว ที่ควบคุมคุณภาพเนื้อสุกรคือ
ยีนควบคุมอาการง่ายต่อความเครียด ยีนควบคุมการสะสมไขมันแทรกในเนื้อ ยีนควบคุม PSE นั้นเป็นที่ทราบกันดีคือ Halothane gene หรือ ryanodine receptor gene สุกรที่มียีน Halothane (nn) , (Nn) = PSE สุกรที่มียีน Halothane (NN) = PSE
4
Duroc ADG 837 กรัมต่อวัน FCR 2.37 BF 1.19 ซ.ม.
อายุจากเกิดถึงน้ำหนัก 90 กิโลกรัม ใช้เวลา วัน มีลักษณะสีแดง ลำตัวสั้นแต่หนา หลังโค้ง หูปรก ขาแข็งแรง โตเต็มที่ กิโลกรัม ให้ลูกไม่ดกเฉลี่ย 8-9 ตัว เลี้ยงลูกไม่เก่ง หย่านมเฉลี่ย 6-7 ตัว มีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศทุกชนิด
5
Pietrain ADG 800.57 กรัมต่อวัน FCR 2.48 BF 0.90 ซ.ม.
อายุจากเกิดถึงน้ำหนัก 90 กิโลกรัม ใช้เวลา วัน มีลักษณะลำตัวขาวและมีจุดสีดำกระจายทั่วตามด้านหลังและลำตัว หูทั้งสองข้างตั้งชัน ขาจะสั้นกว่าพันธุ์อื่น เป็นสุกรที่มีรูปร่างสวยงาม กล้ามเนื้อเป็นมัดๆ แผ่นหลังกว้างเป็นปีกสะโพกเห็นเด่นชัด โตเต็มที่ กิโลกรัม มีเปอร์เซ็นต์เนื้อแดงสูงมากกว่าพันธุ์อื่น
6
การประเมินคุณภาพซากสุกร
1.การประเมินซากด้านลักษณะปริมาณ น้ำหนักซาก พื้นที่หน้าตัดเนื้อสัน ความหนาของมันสันหลัง
7
2.การประเมินซากด้านลักษณะคุณภาพ
สี ค่า pH ความแน่นของเนื้อ ไขมันแทรก
8
ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อลักษณะซากและคุณภาพเนื้อสุกรขุน
Edwards และคณะ (2003) ศึกษาลักษณะคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อในสุกรขุน จำนวน 162 ตัว ที่มาจากการผสมข้ามพันธุ์ โดยใช้พ่อพันธุ์ Duroc และพ่อพันธุ์ Pietrain ซึ่งนำเข้ามาจากประเทศเยอรมัน ผสมกับแม่พันธุ์ Yorkshire และแม่สองสาย Yorkshire-Landrace ด้วยวิธีผสมเทียม ซึ่งพ่อพันธุ์ Pietrain ที่ใช้ปลอดจาก ryanodine receptor gene หรือยีนเครียด (Halothane gene)
9
Table 1. Sire breed, dam breed, and gender subclass numbers for traits measured
Duroc Pietrain Barrows Gilts Yorkshire 9 12 20 Yorkshire-Landrace 26 32 27 24 Total 35 44 39 Source : Edwards และคณะ (2003)
10
การวิเคราะห์ลักษณะซาก
อดอาหาร ฆ่าชำแหละ ความยาวซาก ความหนามันสันหลัง พื้นที่หน้าตัดเนื้อสัน เปอร์เซ็นต์เนื้อแดง เปอร์เซ็นต์ซากแต่ง บันทึกน้ำหนักซาก Chilling 24 ชม.
13
Table 2. Least squares means by breed of sire for carcass measurements
Traita Duroc Pietrain SEM P-value Length (cm) 86.9 84.8 0.55 <0.01 First rib fat (mm) 47.7 44.6 0.84 Last rib fat (mm) 28.8 27.8 0.91 NS Last lumbar fat (mm) 30.0 20.9 0.75 <0.05 BF10 (mm) 25.5 23.0 0.66 LMA (cm2) 50.2 53.2 0.89 FFL (%) 50.7 52.6 0.39 <0.001 Dressing percent 73.1 74.0 0.25 aBF10 = 10th-rib backfat, LMA = loin muscle area, FFL = fat-free lean Source : ดัดแปลงจาก Edwards และคณะ (2003)
14
การวิเคราะห์ลักษณะซาก (2)
ตัดแต่งซากสุกรตามแบบสากล Ham Loin Boston butt Picnic shoulder Belly คำนวณเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบกับน้ำหนักซากสุกร ชั่งน้ำหนัก
16
Table 3. Least squares means by breed of sire for
Table 3. Least squares means by breed of sire for carcass weight and primal cut measurements aFive primal is the sum of ham, loin, Boston butt, picnic shoulder and belly percentages.
17
การวิเคราะห์คุณภาพเนื้อสุกร
เก็บตัวอย่างเนื้อสันที่ซี่โครงซี่ที่ 10-ซี่สุดท้าย ชั่งน้ำหนัก 1 2 3 4 5
18
1 การหาค่า pH แช่แข็งที่อุณหภูมิ -80 oc เพื่อวิเคราะห์ pH ที่ 24 ชม. ด้วยวิธี iodoacetate
19
การสะท้อนแสงของ L* a* b*
2 สี ไขมันแทรก ความแน่นของเนื้อ การสะท้อนแสงของ L* a* b* ตัดเนื้อให้มีขนาด 2.54 ซ.ม.
20
Trait Scores 1 2 3 4 5 Muscle Firmness Very Soft and Watery Soft and Watery Slightly Firm and Moist Firm and Moderately Dry Very Firm and Dry Muscle Color Pale Pinkish gray Grayish Pink Reddish Pink Purplish Red Dark Purplish Red Marbling Devoid and Practically Devoid Traces to Slight Small to Modest Moderate to Slightly Abundant Moderately Abundant or Greater
23
ใส่ถุงพลาสติกปิดสนิท เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4oC นาน 24 ชม.
3 การหา Drip loss ใส่ถุงพลาสติกปิดสนิท เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4oC นาน 24 ชม. ชั่งน้ำหนักและหาเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำของเนื้อ
24
ทำให้สุกด้วยเตาไฟฟ้า จนภายในเนื้อมีอุณหภูมิ 71oC
4 การหาCook loss ชั่งน้ำหนัก ทำให้สุกด้วยเตาไฟฟ้า จนภายในเนื้อมีอุณหภูมิ 71oC ตั้งทิ้งไว้ให้เย็นที่อุณหภูมิห้อง ชั่งน้ำหนักและหาเปอร์เซ็นต์น้ำหนักสูญเสียหลังปรุง
25
5 หาแรงตัดผ่านเนื้อ
26
Table 4. Least squares means for breed of sire for meat quality measures
Trait Duroc Pietrain SEM P-value Color (1 to 5) 2.54 2.32 0.11 <0.05 Marbling(1 to 5) 2.42 1.78 0.1 <0.001 Firmness(1 to 5) 2.62 2.33 0.07 Minolta L* 54.77 55.37 0.54 NS Minolta a* 17.33 17.04 0.17 Minolta b* 7.58 0.2 24-h pH 5.53 5.48 0.02 Drip loss, % 2.88 3.8 0.24 Cook loss, % 28.63 29.23 0.71 W-B shear force, kga 6.94 7.11 0.22 aW-B = Warner-Bratzler Source :ดัดแปลงจาก Edwards และคณะ (2003)
27
ผลของพ่อพันธุ์ต่อสมรรถนะ การเจริญเติบโตของสุกรขุน
Eggert และคณะ (1998) ศึกษาการเจริญเติบโตในสุกรขุนต่างสายพันธุ์จำนวน 120 ตัวโดยใช้พ่อพันธุ์ Duroc, Pietrain และ Large White ผสมกับแม่สุกรสองสายพันธุ์ คือ Large White-Landrace แบ่งลูกสุกรออกเป็น 30 คอก คอกละ 4 ตัว ตามสายพ่อพันธุ์และเพศด้วยวิธีการสุ่ม เลี้ยงสุกรด้วยสูตรอาหารข้าวโพด-ถั่วเหลือง จัดให้กินแบบกินเต็มที่ เก็บข้อมูลลักษณะการเจริญเติบโตของสุกรที่มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น กิโลกรัม ตั้งแต่น้ำหนัก กิโลกรัม
28
Table 5. Effects of sire line on finishing growth (74. 46 kg to 119
Table 5. Effects of sire line on finishing growth (74.46 kg to kg). Trait Duroc sired Pietrain sired Large White SE Sig.* Average Daily Gain (kg) 0.876 0.763 0.767 0.1 P<0.01 Average Daily Feed Intake (kg) 2.87 2.53 2.52 Feed Efficiency 3.28 3.36 3.29 Not sig. Adjusted Days to kg (NSIF) 167.6 174.6 176.7 1.6 *Not sig. = not significant, P>0.05 Source : Eggert และคณะ (1998)
29
สรุป สุกรขุนลูกผสมที่เกิดจากสุกรพันธุ์ดูร็อคและเพียเทรน ส่วนใหญ่ผลิตขึ้นมาเพื่อวัตถุ ประสงค์ในการปรับปรุงลักษณะรูปร่าง ลักษณะของซากและปริมาณเนื้อแดง แต่ทั้งนี้สุกรขุนจากทั้งสองพันธุ์มีข้อแตกต่างอยู่บ้างเล็กน้อย คือ สุกรขุนจากสายพ่อพันธุ์ดูร็อคมีอัตราการเจริญ เติบโตดี โตเร็ว แต่มีความหนาของมันสันหลังมากกว่า และปริมาณเนื้อแดงน้อยกว่าสุกรขุนจากสายพ่อพันธุ์เพียเทรน
30
สุกรขุนจากสายพ่อพันธุ์เพียเทรนโตช้ากว่า สุกรขุนจากสายพ่อพันธุ์ดูร็อคเล็กน้อย
ดังนั้น พันธุ์เพียเทรน จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งเพื่อการปรับปรุงคุณภาพซากในอุตสาหกรรมการผลิตสุกรขุน อย่างไรก็ตาม การคัดเลือกพ่อสุกรควรเลือกใช้พันธุ์ใดพันธุ์หนึ่งเท่านั้นเพื่อให้ง่ายต่อการจัดการดูแล
31
ขอบคุณครับ.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.