ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การออกแบบการเรียนรู้ Backward Design
เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น เสนอโดย ว่าที่ ร.ต. หญิง กิ่งกมล ชูกะวิโรจน์ โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
2
ตรรกศาสตร์เนี้ย มันมีจริงเหรอ ?แล้วมันคืออะไร ?
ตรรกศาสตร์เนี้ย มันมีจริงเหรอ ?แล้วมันคืออะไร ? A : ฉันว่ามีจริง ๆ นะ และก็... ชีวิตของเราก็ใช้มันทุกวันด้วย B : จะมีได้อย่างไงละเอาอะไรมายืนยัน ? C : ใช่เอาอะไรมายืนยันว่าตรรกศาสตร์มีจริง ถ้าเป็นไสยศาสตร์พอว่า ... A : แล้วที่เธอว่าไสยศาสตร์มีจริง เธอเอาอะไรมายื่นยันละ เคยเห็นเหรอ? แค่นี้ละ ก็ถือว่าสิ่งที่เธอพูดมาก็เป็นตรรกศาสตร์แล้ว B : เอาละ ! อย่ามัวเถียงกันอยู่เลยเรามาหาข้อสรุป เกี่ยวกับตรรกศาสตร์กันดีกว่า
3
อะไรคือ ตรรกศาสตร์ ? เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร? นำมาใช้ได้อย่างไร ?
แล้วเหตุการณ์ใดบ้างที่เป็นตรรกศาสตร์ ? มีประโยชน์กับเราหรือไม่ ?
4
ศาสตร์ หรือ วิชาที่ว่าด้วยเหตุและผล
ตรรกศาสตร์ ศาสตร์ หรือ วิชาที่ว่าด้วยเหตุและผล สองบวกสาม มีค่าน้อยกว่า สองคูณสาม โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ สามในระบบสุริยะจักรวาล พยัญชนะในภาษาไทยมีทั้งหมด สี่สิบสี่ตัว ประเทศไทยอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กีฬาฟุตบอลต้องมีผู้เล่นทีมละ สิบเอ็ดคน
5
บอกได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ บอกไม่ได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ
ประโยค บอกได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ บอกไม่ได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ ? มีตัวแปร คำสั่ง ขอร้อง คำถาม อุทาน ปรารถนา ฯลฯ
6
1. ประพจน์ ประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่สามารถบอกค่าความจริง
ว่าเป็นจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ส่วนประโยคที่ไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ ก็ถือว่า ไม่เป็นประพจน์ ประโยคบอลเล่า ประพจน์ หาค่าความจริงได้ ประโยคปฏิเสธ
7
ที่ว่าด้วยเหตุและผลดีกว่า
...นั่งคิดถึง ประพจน์... ที่ว่าด้วยเหตุและผลดีกว่า
8
ลองยกตัวอย่างประโยคที่เป็นประพจน์กันดีกว่า
ประโยคที่เป็นคณิตศาสตร์ ประโยคที่เป็นวิทยาศาสตร์ ประโยคที่เป็นสังคม ประโยคที่เป็นภาษาไทย ประโยคที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน
9
การหาค่าความจริง ของประพจน์
เมื่อรู้ว่าประพจน์คืออะไรก็สามารถหาค่าความจริงของประพจน์ได้เพียงแค่ต้องรู้สัญลักษณ์ของประโยคที่เป็นประพจน์ และค่าความจริงของประพจน์เสียก่อน 1.1 สัญลักษณ์แทนประพจน์ ถ้าเป็นประพจน์เดียว ใช้สัญลักษณ์ p แต่ถ้าสองประพจน์ขึ้นไป ใช้สัญลักษณ์ q r s t … ตามลำดับ ค่าความจริงที่เป็นจริง ใช้สัญลักษณ์ T ย่อมาจากคำว่า truth ค่าความจริงที่เป็นเท็จ ใช้สัญลักษณ์ F ย่อมาจากคำว่า fale
10
การหาค่าความจริงของประพจน์ ถ้าเป็นประพจน์เดียว
ก็สามารถหาค่าความจริงของประพจน์ได้เลย เช่น สองบวกสาม มีค่าน้อยกว่า สองคูณสาม ค่าความจริงเป็น เป็นจริง โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงที่สามในระบบสุริยะจักรวาล ค่าความจริงเป็น เป็นจริง พยัญชนะในภาษาไทยมีทั้งหมด สี่สิบสองตัว ค่าความจริงเป็น เป็นเท็จ แต่ถ้าประพจน์มีมากกว่าหนึ่งต้องมี ตัวเชื่อมประพจน์ที่เป็นค่าความจริงตายตัว แล้วจึงจะสามารถสรุปหาค่าความจริงของประพจน์ได้
11
1.2 ตัวเชื่อมของประพจน์ ในตรรกศาสตร์ มี 5 ประเภท ได้แก่
1.2 ตัวเชื่อมของประพจน์ ในตรรกศาสตร์ มี 5 ประเภท ได้แก่ 1 ตัวเชื่อม “และ” ใช้สัญลักษณ์ 2 ตัวเชื่อม “หรือ” ใช้สัญลักษณ์ 3 ตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...” ใช้สัญลักษณ์ หรือ 4 ตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ” ใช้สัญลักษณ์ หรือ 5 นิเสธ ใช้สัญลักษณ์ ~
12
การหาค่าความจริงของประพจน์ 2 เป็นประพจน์ p และ q
ประพจน์ในตัวเชื่อมที่มีค่าความจริงตายตัว ดังตาราง p q p q p q p q p q T F T T F F T ส่วนตัวนิเสธ ถ้าอยู่หน้าประพจน์ จะได้ค่าความจริงที่ตรงกันข้ามจากค่าความจริงเดิม เช่นดังตาราง p p T F
13
ต้องฝึกการเปลี่ยนไปเปลี่ยนกลับระหว่าง ข้อความกับประโยชน์สัญลักษณ์ เช่น
ข้อความกับประโยชน์สัญลักษณ์ เช่น ประเด็นแรก ประโยค สัญลักษณ์ ค่าความจริงที่ได้ 1. 2เป็นจำนวนคู่ และ 3 เป็นจำนวนคี่ ให้ p แทน 2 เป็นจำนวนคู่ ให้ q แทน 3 เป็นจำนวนคี่ p q T T =T 2. วันนี้สรวิศจะไปว่ายน้ำหรือไปเล่นฟุตบอล p q F F=F 3. ถ้ามานีสอบได้ที่หนึ่งแล้วครูจะให้รางวัล pq TF=F 4. ด้านของสามเหลี่ยมหน้าจั่วจะเท่ากันก็ต่อเมื่อมีมุมเท่ากันสองมุม pq TT=T 5. 3 9 = 26 p,3926 T
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.