งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
วัฏจักรของน้ำ

2 วัฏจักรของน้ำ  น้ำเป็นตัวอย่างของขบวนการต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิตรวมทั้งเป็นแหล่งให้ ไฮโดรเจนที่สำคัญ น้ำที่ปรากฏในโลกจะอยู่ในสภาพและแหล่งต่าง ๆ กัน ทั้งน้ำจืด น้ำเค็ม น้ำในดิน น้ำในอากาศในรูปของไอน้ำ และ น้ำแข็งที่ปกคลุมขั้วโลก ในจำนวนนี้มีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักรโดย ส่วนใหญ่เป็นการแลกเปลี่ยนระหว่างผิวโลก และบรรยากาศโดยการ ระเหยและการกลั่นตัวตกกลับสู่ผิวโลก วัฏจักรของน้ำ คือ การเกิดและ การหมุนเวียนของน้ำที่มีอยู่ในโลกโดยไม่มีการสูญหาย แต่จะเปลี่ยน รูปอยู่ในสภาพต่างๆ วนเวียนอยู่ในวัฏจักรของน้ำโดยไม่มีจุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุด ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดขบวนการนี้คือ แสงแดด (solar energy)และแรงดึงดูดของโลก (gravity)

3

4 ไอน้ำที่มีอยู่ในบรรยากาศอาจจะอยู่ในรูปของ เมฆ หมอก (air mass) ซึ่งเกิดจากการระเหยของน้ำจากแหล่งน้ำต่างๆ บนผิว โลก เมื่อไอน้ำถึงจุดอิ่มตัว ก็จะกลั่นตัวเป็นหยดน้ำตกลงสู่ผิวโลก เรียก precipitation ถ้าเป็นของเหลว ก็คือ ฝน (rain) ถ้าเป็นผลึกก็คือหิมะ (snow) ถ้าเป็นของแข็ง ก็คือ ลูกเห็บ (hail, sleet) นอกจากนี้ก็อาจจะเป็น น้ำค้าง (dew) หรือ น้ำค้างแข็งตัว (frost)

5 น้ำฝนที่ตกถึงพื้นดิน บางส่วนก็จะซึมลงดินด้วยแรงดึงดูดของเม็ดดิน เรียกว่า การซึมลงสู่พื้นดิน (infiltration) โดยที่บางส่วนอาจจะซึมต่อลงไป (percolation) ถึงระดับน้ำใต้ดินเป็นน้ำบาดาล (ground water) น้ำใต้ดินมี หลายระดับชั้นจะค่อยๆ ไหลตามความลาดเทของชั้นดินไปสู่ที่ต่ำ อาจเป็น แหล่งขังน้ำใต้ดินอยู่หรืออาจไหลออกสู่แม่น้ำลำธาร ที่อยู่ในระดับชั้นจะ ค่อยๆ ไหลตามความลาดเทของชั้นดินไปสู่ที่ต่ำ อาจเป็นแหล่งขังน้ำใต้ดินอยู่ หรืออาจไหลออกสู่แม่น้ำลำธารที่อยู่ในระดับต่ำกว่าหรือออกสู่ทะเลโดยตรง แต่หากบางส่วนที่ซึมลงดินแล้วเกิดมีชั้นดินแน่นทึบวางอยู่น้ำ ในส่วนนี้จะ ไหลตามลาดเทใต้ผิวดิน และขนานไปกับชั้นดินแน่นทึบดังกล่าว เรียกว่า infer flow และสำหรับบางส่วนอาจจะไหลใต้ผิวดิน(subsurface flow) ซึ่ง อาจจะไหลออกสู่ผิวดินอีกก็ได้น้ำซับที่ค่อย ๆ ไหลซึมลงสู่ดินตามขั้นตอน ต่าง ๆ นั้นอาจจะถูกรากพืชดูดเอาไปใช้ในการเจริญเติบโตแล้วตายออกทาง ใบที่เรียกว่า การคายน้ำ (transpiration) ซึ่งจะเป็นจำนวนมากหรือน้อยขึ้นอยู่ กับพืช

6 ส่วนน้ำฝนที่เหลือจากการซึมลงดิน เมื่ออัตราการตกของฝนมีค่าสูง กว่า อัตราการซึมลงดินก็จะเกิดการนองอยู่ตามพื้นดิน จากนั้นก็จะ รวมตัวกันไหลลงสู่ที่ต่ำเรียกว่า overland flow บางส่วนอาจไปรวมตัว อยู่ในที่ลุ่มบริเวณเล็กๆ เรียกว่า surface storage แต่ส่วนใหญ่จะ รวมตัวกันมีปริมาณมากขึ้น มีแรงเซาะดินให้เป็นร่องน้ำลำธารและ แม่น้ำตามลำดับ น้ำที่ไหลอยู่ในแม่น้ำลำธารเรียกว่า น้ำท่วม (surface runoff) น้ำท่วมนี้จะไหลออกสู่ทะเลมหาสมุทรไปในที่สุด   ตลอดเวลาที่น้ำอยู่ในขั้นตอนต่าง ๆ ก็จะเกิดการระเหย เปลี่ยนสภาพ เป็นไอน้ำสู่บรรยากาศ ตลอดเวลาเรียกว่า การระเหย (evaporation)

7 สำหรับการระเหยของน้ำ คือ ขบวนการที่เกิดการระเหย และการ คายน้ำไปพร้อมๆ กันในทางปฏิบัติ การระเหยสามารถวัดได้ เฉพาะบนพื้นที่ผิวน้ำ หรือผิวดินที่ผิวน้ำ หรือผิวดินที่เปียกชุ่มด้วย น้ำหลังจากฝนตกใหม่ ๆ แต่หลังจากผิวดินเริ่มแห้งก็วัดได้ยาก การวัดการคายน้ำของพืชในสภาพธรรมชาติจะไม่สามารถทำได้ ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงดำเนินการวัดหรือประเมินค่าทั้ง 2 รวมกัน เรียกว่า การคายระเหยน้ำ (evapotranspiration)

8 ดังนั้นสามารถแบ่งน้ำตามแหล่งปรากฏออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. น้ำในบรรยากาศ (atmospheric or meteoric water)               - ของเหลว : ฝน น้ำค้าง     - ของแข็ง : ลูกเห็บ หิมะ ไอ : เมฆ หมอก  2. น้ำผิวดิน (surface water) ได้จากน้ำในบรรยากาศ กลั่นตัวเป็นฝนตกลง บนพื้นโลก และถูกกักขังอยู่ตามแม่น้ำลำคลอง หนอง บึง สระ ทะเลสาบ ในลักษณะของน้ำจืด ตามทะเลมหาสมุทร และตามปากแม่น้ำ (estuaries) ในลักษณะของน้ำกร่อย น้ำใต้ดิน (subsurface water) น้ำที่ไหลซึมผ่านชั้นดินลงไปกักเก็บอยู่ใต้ ผิวดิน ซึ่งรวมถึงน้ำบาดาลด้วย

9 จัดทำโดย เด็กหญิง บุษบา อุดใจ เลขที่ 23 ชั้น ม. 3/1
จัดทำโดย เด็กหญิง บุษบา อุดใจ เลขที่ ชั้น ม. 3/1


ดาวน์โหลด ppt วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google