ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อักษรภาพอียิปต์โบราณ
2
สมาชิกในกลุ่ม ไอยคุปต์ คิมมี
สมาชิกในกลุ่ม ไอยคุปต์ คิมมี ๑. นาย กนกพล มีพันธ์ เลขที่ ๑ ๒.น.ส. เกศมณี หยองเอ่น เลขที่ ๑๘ ๓.น.ส. สุกัญญา มูลตรีภักดี เลขที่ ๓๐ ๔.น.ส. รัชนี พิมล เลขที่ ๔๑ ๕.น.ส. สุธาทิพย์ สุวรรณรัตน์ เลขที่ ๔๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที ๕/๑
3
อารยรรมลุ่มแม่น้ำไนล์
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์หรืออารยธรรมอียิปต์โบราณก่อกำเนิดบริเวณดินแดนสองฝั่ง แม่น้ำไนล์ ตั้งแต่ปากแม่น้ำไนล์จนไปถึงตอนเหนือของประเทศซูดานในปัจจุบัน ทิศเหนือ ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและคาบสมุทร ไซนายอียิป ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลทรายลิเบียและทะเลทราย ซาฮารา ทิศตะวันออกและทิศใต้ ติดกับทะเลทรายนูเบียและ ทะเลแดง จากสภาพภูมิอากาศดังกล่าวจะเห็นว่า บริเวณลุ่มแม่น้ำไนล์เปรียบเสมือนโอเอซิสท่ามกลางทะเล ทรายจึงเป็นปราการธรรมชาติป้องกันการรุกรานจากภายนอกได้
4
อักษรภาพอียิปต์โบราณ
อักษรภาพอียิปต์โบราณหรือที่ เรียกกันว่า "ฮีโรกริฟฟิค" (Hieroglyphs) ถือเป็นอีกสิ่งหนึ่งในความอัศจรรย์ที่ เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ ความชำนาญทาง ศิลปหัตถกรรม งานช่าง และการทำ หนังสือของชาวอียิปต์โบราณถือเป็น สิ่งที่น่าทึ่งมาก ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง ความเชื่อของพวกเขาที่มีอำนาจและ อิทธิพลต่อพิธีกรรมและการดำรงชีวิต อย่างสูง
5
จุดกำเนิด ชาวอียิปต์เชื่อว่าอักษรนี้ประดิษฐ์โดย
เทพเจ้าโทธและเรียกชื่ออักษรว่า mdwt ntr (คำพูดของพระเจ้า)คำว่าไฮโรกลิฟ มาจากภาษา กรีก คำนี้ใช้เป็นครั้งแรก โดยคลีเมนต์แห่งอเล็ก ซานเดรีย การเขียนในอียิปต์ที่เก่าที่สุด เริ่มเมื่อราว 2,867 ปีก่อนพุทธศักราช ส่วนอักษรไฮโรกลิฟที่ ใหม่ที่สุด เป็นประกาศที่กำแพงวิหารในฟิแล (philae) อายุราวพ.ศ. 939 อักษรนี้ใช้กับจารึก อย่างเป็นทางการ
6
อักษรฮีโรกริฟฟิค แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ไอดีโอแกรม (Ideograms) เป็นอักษรที่ ใช้แทนความหมาย อักษรหนึ่งตัวอาจมี หลายความหมายได้ อักษรเหล่านี้ส่วน ใหญ่ไม่มีเสียงอ่านโดยตรง แต่ใช้เขียนกำ กับท้ายคำ บางครั้งเรียกว่า Determinative (อักษรกำกับความหมาย) 2. โฟโนแกรม (Phonograms) เป็นอักษร ที่ใช้แทนเสียง บางตัวมีเสียงเดียว บางตัว มีสองเสียง และบางตัวมีสามเสียง
8
ที่มาข้อมูล http://thaimisc.pukpik.com /freewebboard/php/vreply.php
84%E0%B8%AE%E 0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%81% E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%9F /freewebboard/php/vreply.php ?user=kunnaree2&topic=10 %B9%84%E0%B8%AE%E0%B9% 82%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0 %B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8% 9F
9
ขอขอบพระคุณ อ.อรวรรณ กองพิลา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.