ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร ยินดีต้อนรับผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์สุขุม กาญจนพิมาย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และคณะ เชิญเที่ยวงานประเพณีนบพระ-เล่นเพลง 17-19 กุมภาพันธ์ 2558 ณ ห้องประชุมวชิรปราการ สสจ.กำแพงเพชร ระหว่าง 4 – 13 มีนาคม 2558
2
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
จังหวัดกำแพงเพชร 28/07/62 สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
3
โครงสร้างประชากร ปี 2557 ปี 2548 ประชากร สัดส่วน ชาย หญิง ชาย หญิง
ชาย 362,233 คน | หญิง 366,032 คน ชาย 362,217 คน | หญิง 367,305 คน วัยเด็ก % วัยแรงงาน 67.01% สูงอายุ % ภาระพึ่งพิง 49.22% สัดส่วน วัยเด็ก 21.01% วัยแรงงาน 68.84% สูงอายุ 10.15% ภาระพึ่งพิง 46.27%
4
สถานะสุขภาพของประชาชน
อายุคาดเฉลี่ย (Life Expectancy) ระดับ เมื่อแรกเกิด (E0) ที่อายุ 60 ปี (E60) รวม ชาย หญิง ประเทศ 2556 71.10 78.10 19.90 23.10 กำแพงเพชร ปี 2546 76.82 74.34 78.66 23.01 22.17 22.99 ปี 2556 73.27 70.35 76.42 19.68 18.45 20.92 ผลต่าง - 3.58 - 3.99 - 2.24 - 3.33 - 3.72 - 2.07 เป้าหมาย E0 = 80 ปี , HALE = 72 ปี
5
ทรัพยากรด้านสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุข นอกสังกัด/เอกชน
* กำลังก่อสร้างตึก 8 ชั้น 156 เตียง สถานบริการสาธารณสุข นอกสังกัด/เอกชน โรงพยาบาลทั่วไป (410 เตียง) 1 แห่ง รพ. 90 เตียง 2 แห่ง รพ.สต.สังกัด อปท แห่ง ศูนย์บริการฯ เทศบาล 5 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คลินิกแพทย์ แห่ง คลินิกทันตแพทย์ แห่ง สถานพยาบาล แห่ง ร้านขายยาปัจจุบัน แห่ง ร้านขายยาแผนโบราณ 52 แห่ง โ รพ. 60 เตียง 2 แห่ง โ รพ. 30 เตียง 5 แห่ง รพ. 10 เตียง 1 แห่ง Ext.OPD แห่ง รวม 900 เตียง รพ.สต.ในสังกัด 121 แห่ง รพ.สต.เดี่ยว แห่ง รพ.สต.เครือข่าย 46 เครือข่าย ศสม แห่ง
6
ความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ
ข้าราชการ 4.85 % ประกันสังคม 14.54 % ว่างสิทธิ์ 0.38 % ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2557
7
บุคลากรสาธารณสุขต่อประชากร
ประเทศ : 963 เขต : 736 กำแพงเพชร 1 : 723 พยาบาลวิชาชีพ ประเทศ : 4,276 เขต : 4,971 กำแพงเพชร 1 : 7,444 แพทย์ ประเทศ : 9,949 เขต : 8,757 กำแพงเพชร 1 : 10,132 เภสัชกร ประเทศ : 14,635 เขต : 12,657 กำแพงเพชร 1 : 14,590 ทันตแพทย์ คน หมายเหตุ ข้อมูลบุคลากรของประเทศและเขต 3 จากโปรแกรมการจัดสรรบุคลากรทางการแพทย์ด้วยภูมิศาสตร์สารสนเทศ (GIS)
8
ทรัพยากรบุคคลสายงานหลัก(แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล)
รพ.โกสัมพีนคร รพ.พรานกระต่าย รพ.กำแพงเพชร รพ.คลองลาน รพ.ปางศิลาทอง รพ.ขาณุวรลักษบุรี รพ.บึงสามัคคี รพ.ทรายทองวัฒนา รพ.ไทรงาม รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล รพ.ลานกระบือ F2 (60เตียง) S (566เตียง) Ext OPD F3 (10เตียง) F2 (30เตียง) M1 (90เตียง) M2 (90เตียง) รพ.คลองขลุง บุคลากร มีจริง FTE แพทย์ 7 18.43 ทันตแพทย์ 8 11.50 เภสัชกร 9.38 พยาบาล 84 92.79 บุคลากร มีจริง FTE แพทย์ 65 118.09 ทันตแพทย์ 19 41.32 เภสัชกร 35 51.02 พยาบาล 509 649.99 บุคลากร มีจริง FTE แพทย์ 9 28.05 ทันตแพทย์ 13.81 เภสัชกร 11 13.96 พยาบาล 100 105.79 บุคลากร มีจริง FTE แพทย์ 7 22.25 ทันตแพทย์ 10.02 เภสัชกร 8 10.17 พยาบาล 69 84.22 บุคลากร มีจริง FTE แพทย์ 10 25.71 ทันตแพทย์ 7 11.80 เภสัชกร 11 16.93 พยาบาล 95 107.82
9
อัตรากำลังเจ้าหน้าที่สายวิชาชีพ
สายงานวิชาชีพหลักในโรงพยาบาล (ร้อยละของ FTE) พื้นที่ สถานบริการ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ กำแพงเพชร รพท. 56.32 38.71 67.64 75.52 รพช. 37.14 64.97 73.12 91.00 เขต 3 57.37 73.99 69.94 78.92 45.43 62.09 78.47 110.08 สายงานวิชาชีพหลักในระดับปฐมภูมิ (สัดส่วนต่อ ปชก.) พื้นที่ / สถานบริการ พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการฯ/จพ.สาธารณสุข 1 คนต่อ ปชก. เฉลี่ยต่อหน่วย กำแพงเพชร ศสม. 2,465 2.5 3,081 2.00 รพ.สต. 3,380 1.26 1,736 2.45 เขต 3 2,120 5.3 13,299 0.79 4,263 1.04 1,746 2.50
10
เครือข่ายบริการจังหวัดกำแพงเพชร
S F2 Ext OPD 60 เตียง 60+30 เตียง เตียง 30 เตียง F3 10 เตียง M2 F1 รพ.พรานกระต่าย HA NODE 1 NODE 2 NODE 3 NODE 4 NODE 5 รพ.โกสัมพีนคร รพ.ลานกระบือ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล รพ.กำแพงเพชร รพ.ไทรงาม รพ.ทรายทองวัฒนา รพ.คลองลาน รพ.คลองขลุง รพ.บึงสามัคคี รพ.ปางศิลาทอง รพ.ขาณุวรลักษบุรี
11
ระดับสถานบริการจังหวัดกำแพงเพชร
รพท. S กำแพงเพชร 1 รพช.แม่ข่าย M2 ขาณุวรลักษบุรี (Node) 1 รพช.ใหญ่ F1 คลองขลุง 7 รพช. กลาง พรานกระต่าย, คลองลาน ลานกระบือ,ไทรงาม,บึงสามัคคี ทรายทองวัฒนา, ปางศิลาทอง F2 2 รพช. เล็ก F3 ทุ่งโพธิ์ทะเล,โกสัมพีนคร 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 17 รพ.สต.เดี่ยว ,44 เครือข่าย 11 PCU ในโรงพยาบาล เครือข่ายปฐมภูมิ นสค. 1 : 1,202 ปชก. (1: 4 อสม.) / อสม. 11,557 คน (1 : 20 หลังคาเรือน)
12
เป้าหมายและภารกิจ เป้าหมาย E0 = 80 ปี , HALE = 72 ปี
13
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง
โรคไม่ติดต่อ อัตราตายต่อแสนประชากร พฤติกรรมเสี่ยง กินหวาน มัน เค็ม , ผักน้อย สารปนเปื้อนในอาหาร ออกกำลังกายน้อย, อ้วน เครียด, สุรา บุหรี่ สิ่งแวดล้อม/มลภาวะเป็นพิษ ลดการตายก่อนวัยอันควร % ในปี 2568
14
อัตราป่วยของผู้ป่วยนอกตามรหัส ICD10
อัตราป่วยต่อพันประชากร
15
อัตราป่วยของผู้ป่วยในตามรหัส ICD10
อัตราป่วยต่อแสนประชากร
16
10 อันดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (มค.-ธ.ค.57)
อัตราต่อแสนประชากร ชาย หญิง สุกใส กลุ่มอายุ เพศ สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน ชาย หญิง มือเท้าปาก เพศ สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน กลุ่มอายุ ชาย หญิง ไข้หวัดใหญ่ กลุ่มอายุ เพศ สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน ชาย หญิง ตาแดง กลุ่มอายุ เพศ สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน ชาย หญิง อุจจาระร่วง กลุ่มอายุ เพศ สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน ชาย หญิง ปอดบวม กลุ่มอายุ เพศ สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน
17
OP Visit ภาพรวมจังหวัด Operating Activity : Workload
ผู้รับบริการ(ครั้ง) NCD = 20-25%
18
IP Visit ภาพรวมจังหวัด Operating Activity : Workload
50% Admit รพ.กำแพงเพชร 1/3 Refer จากโรงพยาบาลชุมชน Acute Appendicitis Labour Pain UGIH NCD = 20-25%
19
ระบบข้อมูลสำหรับบริหารจัดการ
มีระบบ MIS ข้อมูล แผนงาน โครงการ ที่ดำเนินการในปี 2558ของหน่วยงาน และหน่วยบริการทุกแห่ง เพื่อใช้สำหรับบริการจัดการ วางแผน ติดตาม ควบคุม กำกับ ผ่านทางเว็บไซต์
20
ระบบข้อมูลสำหรับบริหารจัดการ
มีระบบ MIS ที่ประมวลผลข้อมูลจาก 43 แฟ้มและใช้บันทึกข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ซึ่งครอบคลุมตัวชี้วัดทั้งหมดของกระทรวงและเขต และมีระบบการติดตาม ตรวจสอบ ความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา (Monitoring Data) การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้มมายัง สสจ. ในปีงบประมาณ 2558 ส่งได้ครบถ้วนทุกระดับ
21
ตอนที่ IV(168 ตัวชี้วัด) ตอนที่ I PMQA/HA/PCA พบส. /ตอนที่ II
การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ตอนที่ IV(168 ตัวชี้วัด) ตอนที่ I ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ด้านการนำ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล การนำ ผลการ ดำเนินงาน การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ PMQA/HA/PCA พบส. ระบบงานสำคัญของ PHS DHS /ตอนที่ II ตอนที่ III ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการดูแล OP IP PP การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 21
22
พันธกิจ ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร
“ประชาชนกำแพงเพชร มีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน ภายในปี 2568” ยุทธศาสตร์ 4. พัฒนาระบบบริหาร จัดการด้านสุขภาพที่มี คุณภาพ และประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล [GG] 3. พัฒนาศักยภาพ ดูแลสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อสุขาพ[PP] 1. สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ทุกกลุ่มวัย [PP] 2. พัฒนาระบบบริการ สุขภาพให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และ ระบบส่งต่อที่ไร้ รอยต่อ [IP-OP] 3. ส่งเสริมและ สนับสนุน ให้ภาคีเครือข่ายมี ส่วนร่วมในการ พัฒนาด้านสุขภาพ 4. การปฏิบัติตาม กฎหมายและการ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ 1. พัฒนาระบบ สุขภาพให้คุณภาพ ประสิทธิภาพทั่วถึง และเป็นธรรม 2. เสริมสร้างและ สนับสนุนให้ ประชาชน มี สุขภาพและ จิตสำนึกที่ดีด้าน สุขภาพ พันธกิจ E0 = 80 ปี HALE = 72 ปี
23
การจัดแผนปฏิบัติการระดับจังหวัด อำเภอ
ประชุมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์แผนปฏิบัติการ / โครงการ ระดับจังหวัด อำเภอ ปีงบประมาณ 2558 ระหว่างวันที่ กันยายน จังหวัดกาญจนบุรี ถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติ ระดับอำเภอ ระดับตำบล วันที่ 3 ธันวาคม 2557 ณ ชากังราวริเวอร์วิว จังหวัดกำแพงเพชร
24
ตัวชี้วัดการพัฒนาสุขภาพจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2558
ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล ทั้งหมด ฐานข้อมูล อื่นๆ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรค ทุกกลุ่มวัย 58 45 13 2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐานฯ 57 28 29 3. พัฒนาศักยภาพดูแลสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 27 1 26 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านสุขภาพฯ 25 รวม 168 75 93
25
แผนสุขภาพ PP งบประมาณ 220,784,504 บาท
26
แผนสุขภาพ PP งบประมาณ 220,784,504 บาท สัดส่วนแหล่งงบประมาณ
สัดส่วนยุทธศาสตร์ 9,249,480 บาท 25,513,639 บาท 68,161,370 บาท 54,565,512 บาท 131,455,872 บาท 66,970,133 บาท
27
แผนสุขภาพ PP ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 1 งบประมาณ 68,161,370 บาท
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคทุกกลุ่มวัย พัฒนาศักยภาพดูแลสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 9,827,695 บาท 24,619,395 บาท งบประมาณ 68,161,370 บาท งบประมาณ 41,830,391 บาท
28
แผนสุขภาพ PP ยุทธศาสตร์ที่ 2 5,546,687 บาท 5,935,987 บาท
969,280 บาท 5,546,687 บาท 5,935,987 บาท 719,2420 บาท 5,546,687 บาท 5,935,987 บาท 10,349,336 บาท 10,349,336 บาท 6,209,070 บาท 26,847,040 บาท 4,295,180 บาท 2,250,000 บาท 3,848,311 บาท 4,295,180 บาท 3,848,311 บาท งบประมาณ 66,970,133 บาท
29
แผนสุขภาพ PP ยุทธศาสตร์ที่ 4 งบประมาณการดำเนินงาน 43,822,610 บาท
503,236,955 บาท งบประมาณการดำเนินงาน 43,822, บาท
30
ติดตามแผน/โครงการ และผลงาน ทุกระดับ
32
ติดตามการเบิก-จ่าย และก่อหนี้
ติดตามการเบิก-จ่าย และก่อหนี้
33
การเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ณ 27 มกราคม 2557 เป้าหมายไตรมาสที่ 2 : ร้อยละ 70 รายการ งบประมาณ ก่อหนี้ เบิกจ่าย ร้อยละ ไม่รวม PO ร้อยละ รวม PO งบบุคลากร 3.0 - 3.00 100 งบดำเนินงาน 27.88 0.45 17.23 61.81 63.43 งบลงทุน 57 104.90 2.43 3.51 5.32 งบกลาง 21.6 21.61 รวม 157.39 2.88 44.90 28.59 30.42 หน่วย : ล้านบาท
34
สัดส่วนงบประมาณ เปรียบเทียบ
งบประมาณ 254,485,830 บาท ยุทธ ศาสตร์ เครือข่าย CUP ฝ่าย สสจ. งปม. ก่อหนี้ ร้อยละ 1 65,673,770 1,414,797 2.15 2,487,600 1,135,195 45.82 2 65,240,639 309,292 0.47 1,729,494 1,173,680 68.66 3 38,435,651 329,530 0.86 3,394,740 888,370 26.17 4 29,282,115 25,274,527 86.31 14,540,495 3,265,226 22.46 รวม 198,632,175 27,328,146 13.76 22,152,329 6,462,471 29.17 4 ยุทธ -> 25 แผนงาน -> 3056 โครงการ ข้อมูล ณ 12 ก.พ.2558
35
ยุทธศาสตร์ที่ 1 “ พัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ”
36
อัตรามารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ
ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 2556 2557 จำนวน 1 3 อัตราต่อแสนการเกิด 16.6 15.9 44.4 16.2 สัดส่วนสาเหตุการตาย , N=7 ในปี 2557 มารดาตาย 1รายมจากสาเหตุ Amniotic fluid embolism
37
หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบเกณฑ์
เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ANC ไม่ครบเกณฑ์ : หญิงตั้งครรภ์ทำงานต่างจังหวัด : การบันทึกข้อมูล กรณีรับบริการต่างสถานบริการ โปรแกรมไม่ขึ้นครั้งคุณภาพ สถานการณ์ หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(กราฟแท่งสีน้ำเงิน) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ โดยดำเนินการได้ร้อยละ 82 ในปี 2557 และดำเนินการได้เกินร้อยละ 60 ทุกอำเภอ ส่วนการฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์ (กราฟแท่งสีแดง) ผลงานเป็นร้อยละ ยังดำเนินการไม่ได้ตามเป้าหมายร้อยละ 60 ข้อมูลแยกรายอำเภอ ในปี 2557 พบ 3 อำเภอที่ดำเนินงานได้เกินร้อยละ 60 ได้แก่ ลานกระบือ พรานกระต่าย ขาณุวรลักษบุรี
38
ข้อมูลเปรียบเทียบผลการตรวจ Hct1 , Hct2 และ Hct ที่ห้องคลอด
ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ หญิงคลอดมีภาวะโลหิตจางที่ตรวจครั้งที่ 1 พบค่า Hct < 33 ไม่เกินร้อยละ 10 ข้อมูลเปรียบเทียบผลการตรวจ Hct1 , Hct2 และ Hct ที่ห้องคลอด ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ลดงลง จากร้อยละ เป็นร้อยละ 21.1 ประสิทธิภาพในการดูแลหญิงตั้งครรภ์โลหิตจาง ในปี พบว่า การตรวจ HCt ในหญิงที่มาคลอด ผลไม่เกินร้อยละ 10 ที่ รพ. คลองขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม บึงสามัคคี Anemia : มีภาวะซีดตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ : พาหะธาลัสซีเมีย
39
ปัญหาสุขภาพของเด็กแรกเกิด
< 9 /พันเกิดมีชีพ < 30/แสนเกิดมีชีพ < 7%
40
ข้อมูลจำแนกตามโรงพยาบาลที่คลอด
ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 ข้อมูลจำแนกตามโรงพยาบาลที่คลอด LBW = 16.9 % ข้อมูลสำรวจ ข้อมูลจำแนกรายอำเภอ ปี 2557 LBW : คลอดก่อนกำหนด : ภาวะโภชนาการ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ผลงานปี เกินเป้าหมายที่กไหนดให้ไม่เกินร้อยละ 7 ปี 2557 แยกข้อมูลรายอำเภอพบทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ภาพจังหวัดเป็นร้อยละ 9.9 รายอำเภอพบมากที่สุดทีอำเภอปางศิลาทองเป็นร้อยละ รองลงมาคืออำเภอขาณุร้อยละ โดยคลอดก่อนกำหนด ร้อยละ 40.4
41
เด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว (50%)
ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 2556 2557 ร้อยละ 62.9 68.7 69.7 42.46 60.2 Breast feeding = 35.0 % ข้อมูลสำรวจ ร้อยละเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว จำแนกรายอำเภอ เด็กแรกเกิดถึง 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียวเป็นร้อยละ 62.71
42
กลุ่มสตรี สถานการณ์ปัจจุบัน เป้าหมาย มาตรการ มารดาตาย 16:100,000
ฝากครรภ์ครบเกณฑ์ ร้อยละ 51 หญิงตั้งครรภ์โลหิตจางร้อยละ 21 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 10 สถานการณ์ปัจจุบัน อัตรามารดาตายไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ เป้าหมาย พัฒนา MCH Board ระดับจังหวัด และอำเภอเพื่อมีการแก้ไขปัญหาของ DHS พัฒนาคุณภาพบริการคลินิกฝากครรภ์ พัฒนาความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก มาตรการ
43
กลุ่มสตรี มาตรการ กิจกรรม
1. พัฒนา MCH Board ระดับจังหวัด และอำเภอเพื่อมีการแก้ไขปัญหาของ DHS 1.1 จัดทำแผนงานระดับจังหวัด 1.2 นิเทศติดตาม การจัดทำแผนงานโครงการในระดับอำเภอ 2. พัฒนาคุณภาพบริการคลินิกฝากครรภ์ 2.1 จัดระบบแก้ปัญหาโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ 2.2 ประชุมกรรมการพัฒนาระบบบริการสูติกรรมและทารกแรกเกิด 2.3 จัดกิจกรรมสูติศาสตร์สัญจร ,จัดMaternal mortality conference 2.4 ทำแผนจัดประชุมเรื่อง แก้ไขปัญหาโลหิตจาง ธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ การใช้กราฟดูแลการคลอด และ CPG 3. พัฒนาความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก 3.1 ประเมิน รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว(คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ ห้องคลอดคุณภาพ ปี 58 ทุ่งโพธิ์ทะเล คลองลาน ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ลานกระบือ และโกสัมพีนคร 3.2 ประเมินตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ปัจจุบัน มีตำบลที่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 5 ตำบล (ร้อยละ 45) ปีงบ 2558 มีตำบลเป้าหมายใหม่จำนวน 7 ตำบล ได้แก่ ต.ท่ามะเขือ อ.คลองขลุง ต.ยางสูง อ.ขาณุวรลักษบุรี ต.หินดาต อ.ปางศิลาทอง ต.คลองแม่ลาย,ท่าไม้แดง,คณฑี,ธำมรงค์ อ.เมือง มาตรการ พัฒนา MCH Board ระดับจังหวัด และอำเภอเพื่อมีการแก้ไขปัญหาของ DHS ๑.๑ จัดทำแผนงานการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ของจังหวัด โดยผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัดและตัวแทนงานอนามัยแม่และเด็กระดับอำเภอ ร่วมดำเนินการ กำหนดกิจกรรมพื้นฐานที่ต้องมีการดำเนินงานในการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดสำหรับพื้นที่ในการจัดทำแผนงาน และกำหนดกิจกรรมที่เป็นแนวทางดำเนินการ ในการแก้ไขปัญหาตามตัวชี้วัดที่เป็นปัญหา ๑.๒ นิเทศติดตาม การจัดทำแผนงานโครงการในระดับอำเภอ เพื่อร่วมวิเคราะห์สถานการณ์ สภาพปัญหางานอนามัยแม่และเด็กของอำเภอ และการจัดทำแผนงานโครงการของระดับพื้นที่เพื่อให้ตอบสนองต่อสภาพปัญหาในแต่ละพื้นที่ พัฒนาคุณภาพบริการคลินิกฝากครรภ์ ๒.๑ จัดระบบแก้ปัญหาโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ ๒.๒ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาสูติกรรมและทารกแรกเกิด วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การดูแลหญิงครรภ์ของจังหวัดและวางแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ คลอด ทารกแรกเกิด ในภาพรวมของจังหวัด ๒.๓ จัดกิจกรรมสูติศาสตร์สัญจร ดำเนินการเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๘ ณ โรงพยาบาลไทรงาม และ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๘ ณ โรงพยาบาลคลองลาน โดยทีมผู้ให้บริการหญิงตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด โรงพยาบาลกำแพงเพชร ร่วมประชุมกับผู้รับผิดชอบของโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลของอำเภอเป้าหมาย เพื่อจัดทำ case conference และแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ระหว่างระดับจังหวัดและอำเภอ เพื่อทบทวนแนวทางการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ ผู้รับบริการทางสูติกรรม ๒.๔ จัดประชุมวิเคราะห์สถานการณ์การตายมารดาของจังหวัด Maternal mortality conference วันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๘ เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาในการให้บริการ จัดทำรายงานสอบสวนสาเหตุการตายมารดาของจังหวัด และกำหนดแนวทางพัฒนาระบบบริการในประเด็น การส่งต่อ และการดูแลผู้ป่วย APH ๒.๕ แผนจัดประชุมเรื่อง การแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ การใช้กราฟดูแลการคลอด และ CPG กำหนดจัดประชุมเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘ พัฒนาความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประเมิน รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว(คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ ห้องคลอดคุณภาพ ปี 58 เป้าหมาย รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล คลองลาน ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ลานกระบือ และโกสัมพีนคร ๓.๒ ประเมินตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวเป้าหมายร้อยละ 40 ปัจจุบัน มีตำบลที่ผ่านเกณฑ์ จำนวน ๕ ตำบล (ร้อยละ ๔๕) ปีง๒๕๕๘ มีตำบลเป้าหมายใหม่จำนวน ๗ ตำบล ได้แก่ ต.ท่ามะเขือ อ.คลองขลุง ต.ยางสูง อ.ขาณุวรลักษบุรี ต.หินดาต อ.ปางศิลาทอง ต.คลองแม่ลาย,ท่าไม้แดง,คณฑี,ธำมรงค์ อ.เมือง
44
เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
เด็ก 0-5 ปี 2555 2556 2557 2558 ได้รับการประเมิน (ราย) 42,681 20,846 33,642 19,595 มีพัฒนาการสมวัย (ราย) 42,518 14,528 33,603 18,333 ร้อยละ 99.6 69.7 99.9 93.6 ตามตัวชี้วัดเด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 จังหวัดกำแพงเพชร ร้อยละ 93.6 สูงกว่าเป้าหมาย อำเภอที่ต่ำกว่าเป้าหมาย ได้แก่ อำเภอขาณุวรลักษบุรี และ อำเภอลานกระบือ จากรายงาน MIS เขตบริการสุขภาพที่ 3 ( ตค กพ. 58 ) โครงการสนับสนุน 13 โครงการ งบประมาณ 5,337, บาท
45
ผลการสำรวจ/การประเมินพัฒนาการเด็ก ปี 2557
กิจกรรม โครงการอบรมนักส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โครงการการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก ได้รับการประเมิน Denver II 144 391 - มีพัฒนาการสมวัย 133 92.4 % 334 85.4 % - ไม่ผ่านเกณฑ์ 11 7.6 % 57 14.6 % ประเมินและส่งเสริมพัฒนาการด้วย Denver II 1 เดือน ประเมินซ้ำ Denver II ผ่านเกณฑ์ประเมิน 100 % ไม่ผ่านเกณฑ์ 0 % (สำรวจโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข) โครงการอบรมนักส่งเสริมพัฒนาการปฐมวัยหลักสูตรเร่งรัด ประจำโรงพยาบาล ของกรมอนามัย โดย รพ.ทุกแห่งเก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือ Denver II ทดสอบเด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน โดยเก็บข้อมูลเด็กแต่ละอายุอย่างละ 3 ราย รพ.แห่งละ 12 ราย ทั้งจังหวัด 144 ราย เดือน กันยายน 2557 พบ พัฒนาการสมวัย 133 ราย คิดเป็นร้อยละ สงสัยล่าช้า 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.6 โครงการการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทยโดยศูนย์อนามัยที่ 8 เลือกจังหวัดกำแพงเพชรและจังหวัดนครสวรรค์ ในการวิจัย จังหวัดกำแพงเพชรเก็บข้อมูล 9 อำเภอ กลุ่มเด็ก 0-5 ปี จำนวน 391 ราย พบพัฒนาการสมวัย 334 ราย สงสัยล่าช้า 57 ราย ทั้ง 2 โครงการเด็กที่สงสัยล่าช้าได้สงเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก และได้ประเมินซ้ำ ผ่านการประเมินทุกราย เมื่อเปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2553 ศูนย์อนามัยที่ 8 ได้ประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ของจังหวัดกำแพงเพชร พบว่าพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 70.4 สงสัยล่าช้า ร้อยละ 29.6 แสดงถึงพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ของจังหวัดกำแพงเพชรมีการพัฒนาที่ดีขึ้น
46
ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนของเด็กอายุ 0 – 5 ปี
เป้าหมายตามตัวชี้วัด เด็กอายุ 1 ปี ต้องได้รับวัคซีน BCG , DTP-HB , และวัคซีนหัด หัดเยอรมัน และคางทูม (MMR) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 8ครบ1 ปี ครบ 2 ปี 3 – 5 ปี
47
สถานการณ์เด็กอายุ 3 ปีเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนม ไม่เกินร้อยละ 55
อำเภอที่ไม่ผ่าน ได้แก่ อำเภอเมือง (เขตรพ.กำแพงเพชร) ร้อยละ และอำเภอคลองลาน ร้อยละ 59.44 สาเหตุของปัญหา ได้แก่ มีพฤติกรรมการบริโภค และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก การเข้าถึงบริการบางส่วนเป็นพื้นที่มีประชากรหนาแน่นเช่นเขตเมือง และบางส่วน เป็นกลุ่มชนเผ่า เช่น อำเภอคลองลาน มาตรการดำเนินงาน ได้แก่ หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจ การฝึกแปรงฟันและให้รักษาตามความจำเป็น เด็กปฐมวัย เน้นฝึกทักษะผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็ก ปรับพฤติกรรมการบริโภค ใช้ฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ การจัดบริการเชิงรุก จากสถานการณ์ดังแผนภูมิจะเห็นได้ว่า อัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมของอายุเด็ก 3 ปี ในแต่ละปีมีแนวโน้มลดลง
48
โครงการ/แผนงาน และงบประมาณส่งเสริมทันตสุขภาพ ปี 2558
1. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์และคลินิกเด็กดี 2. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและอนุบาล ด้านทันตกรรมมี 2 โครงการ งบประมาณรวมทั้งสิ้น 2,242,679 บาท การเบิกจ่ายงบประมาณ ปี %
49
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก งบประมาณ
มาตรการการดำเนินงาน 1. ดำเนินการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและครูพี่เลี้ยงเด็ก 3. ส่งเสริมและสนับสนุนสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและผู้ปกครอง 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ 5. มีระบบการควบคุม กำกับ ติดตามประเมินผล สถานการณ์ โรคอุจจาระร่วง/อาหารเป็นพิษ โรคมือ เท้า ปาก โรคตาแดง โรคไข้เลือดออก โรคอ้วน ครูผู้ดูแลเด็กขาดความรู้/ทักษะ สภาพแวดล้อมไม่ได้มาตรฐาน งบประมาณ โครงการแก้ไขปัญหา 1.โครงการศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ คลอบคลุมทุกอำเภอ -อบรมครูพี่เลี้ยงเด็ก -ประชุม จนท. อปท/ผู้ปกครอง/ชุมชน -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.โครงการพัฒนาเครือข่ายและภาคีสุขภาพ วิถีธรรม วิถีไทย จังหวัดกำแพงเพชร 3.โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
50
ศูนย์เด็กเล็กผ่านการประเมินมาตรฐานมีคุณภาพไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
ปี 2556 ปี 2557 เขต ปี 57 ประเทศ ปี 57 69.01 68.93 55.20 62.11
51
เด็ก 0- 5 ปี สถานการณ์ปัจจุบัน เป้าหมาย มาตรการ
พัฒนาการสมวัยร้อยละ 99.9 (สำรวจร้อยละ 92.4) น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 4.1 มากกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 9 เตี้ย ร้อยละ 2.3 อ้วน ร้อยละ 6.6 เด็กอายุ 3 ปี ฟันผุ ร้อยละ 62.4 ความครอบคลุมวัคซีนเด็ก 1 ปี < ร้อยละ 95 ได้แก่ DTP-HB3,OPV3,MMR ความครอบคลุมวัคซีนเด็ก 2 ปี < ร้อยละ 95 ได้แก่ DTP-OPV4 ,JE2 ความครอบคลุมวัคซีนเด็ก 3-5ปี < ร้อยละ 95 ได้แก่ DTP-OPV5,JE3 สถานการณ์ปัจจุบัน เด็ก 0- 5 พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 เป้าหมาย พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาความเข้มแข้งภาคีเครือข่าย DHS มีแผน แก้ปัญหาที่ชัดเจนและมีแผน แนวทางในการพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ ทั้ง WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ สำรวจข้อมูลพัฒนาการเด็ก สร้างภาคีเครือข่ายระหว่างองค์กรภาครัฐ/เอกชน/ชุมชน พัฒนา ปรับปรุง ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคในกลุ่มเป้าหมายหลัก ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนทางสื่อต่างๆ มาตรการ
52
พัฒนาระบบบริการ/บริการแม่และเด็ก
แผนงาน/โครงการ/งบประมาณกลุ่มสตรีและเด็ก ปี 17,712,584 บาท พัฒนาระบบบริการ/บริการแม่และเด็ก พัฒนาการเด็ก 0-5 ปี แก้ไขภาวะโภชนาการ 666,653 PP 1,780,439 กองทุน 3,644,486 เงินบำรุง 9,068,419 อื่นๆ 3,334,856
53
ตลาด/ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
มาตรการการดำเนินงาน 1. สร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายพัฒนายกระดับ สถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน 2. การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ประกอบการ 4. สร้างความเข้มแข็งในการกำกับดูแลอาหารปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร 5. พัฒนามาตรฐานการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. (EHA) 6. การประกันคุณภาพและสร้างความยั่งยืน สถานการณ์ โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน โรคอ้วน สถานประกอบการไม่รักษามาตรฐาน พบสารปนเปื้อนในอาหาร งบประมาณ โครงการแก้ไขปัญหา 1.โครงการอาหารปลอดภัย -อบรมผู้ประกอบการด้านอาหาร -รณรงค์อาหารปลอดภัย -ประกวดชมรมตลาด/ร้านอาหาร -ควบคุมกำกับ ประเมินผล มอบป้ายสัญลักษณ์ 2.โครงการ อสม.น้อย
54
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์
Clean Food Good Taste ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 85.51 85.53 80.29
55
ตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อ ปี 2558
ตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อ ปี 2558 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 100
56
กลุ่มวัยเรียน 5-14 ปี ปี 2557 ภาวะอ้วน ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 เขต
ประเทศ เด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วน (ร้อยละ ) 7.36 7.76 9.09 11.6 9.5 ปี 2557
57
กลุ่มวัยเรียน 5-14 ปี มาตรการการดำเนินงาน คำสั่งแต่งตั้ง PM ระดับจังหวัด อำเภอ 2. วิเคราะห์ข้อมูลภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ในเด็กอายุ 5 – 14 ปี จากระบบ MIS 3. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย ส่งเสริมสนับสนุนสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ภายใต้สุขภาพดีวิถีธรรมวิถีไทย โดยใช้กระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเด็กนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของเด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน รณรงค์สร้างกระแส “ลดอ้วนลดพุง”โดยใช้ 3 ส(สีล สมาธิ ปัญญา)l สวดมนต์ สนทนาธรรม 3อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 8. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ 9. ติดตาม ประเมินผล แหล่งงบประมาณ โครงการแก้ไขปัญหาเด็กวัยเรียนที่ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน จำนวน 13 โครงการ ครอบคลุมทุกอำเภอ จำนวนเงิน 861,650 บาท
58
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสน ปชก. สาเหตุปัญหา ความประมาท เลินเล่อของผู้ปกครองและเด็ก ตะคริว ดื่มแอลกอฮอล์ มาตรการการดำเนินงาน วิเคราะห์ / คืน ข้อมูลให้ชุมชน สร้างภาคีเครือข่าย จัดการแหล่งน้ำเสี่ยง พัฒนาทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ การใช้อุปกรณ์ สร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดี แหล่งน้ำธรรมชาติ Base line อัตราการเสียชีวิต 2555 24.8 2556 33.1 2557 28.16 (34 ราย) ปี 58 = 50 ราย
59
เด็กวัยเรียน (6-14ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
Base line 2556 2557 จังหวัด 72.1 80.38
60
กำแพงเพชร มี IQ เฉลี่ย 95.2 (ต่ำสุดของเขต/ที่ 68 ของประเทศ)
สัดส่วนร้อยละแนวโน้มปัญหาการเรียนรู้ ภาวะโรคทางสุขภาพจิต เด็กวัยเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
61
เด็กวัยเรียน (6-14ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
มาตรการ พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของสถานบริการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขด้านบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โครงการ งบประมาณ แหล่งงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน 43,840 บาท - สป./UC กิจกรรมสนับสนุน 1. ประเมิน/คัดกรอง/กระตุ้น/ส่งเสริมกิจกรรมการเรียน เด็กประถมศึกษาปีที่ 1 - 2 2. การให้ความรู้ในการการทำแผนการเรียนรู้รายบุคคล (Individualized Educational Program)
62
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
เป้าหมาย ปีงบ ระดับเพชร จำนวน 3 รร. ผลงาน 1 รร. ผลการดำเนินงาน ระดับเพชร ร้อยละ 3.08 ระดับเพชรทอง ร้อยละ 71.58 ระดับเงิน ร้อยละ 14.97 ระดับทองแดง ร้อยละ 7.27
63
ปี 2557 อำเภอที่ไม่ผ่าน ได้แก่ อำเภอเมือง (รพ.กำแพงเพชร) ร้อยละ 62.21
สถานการณ์เด็กอายุ 12 ปีเกิดโรคฟันผุในฟันถาวร ไม่เกินร้อยละ 50 ปี 2557 อำเภอที่ไม่ผ่าน ได้แก่ อำเภอเมือง (รพ.กำแพงเพชร) ร้อยละ 62.21 ปัจจัยความสำเร็จ ได้แก่ มีระบบการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฟันผุ มีทีมจัดบริการเชิงรุก ออกตรวจและบันทึก วางแผนการส่งเสริม ป้องกัน เคลือบหลุมร่องฟัน ฝึกทักษะแปรงฟัน ความร่วมมือจาก โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ มาตรการดำเนินงาน ได้แก่ นักเรียนป. 6 (อายุ 12 ปี)ได้รับการตรวจฟันและบันทึก ให้บริการรักษาตามความจำเป็น เด็กป. 1ได้รับการตรวจฟันและบันทึกสุขภาพ ช่องปาก เคลือบหลุมร่องฟันป้องกันฟันผุ การจัดบริการเชิงรุก การสร้างภาคี เครือข่ายโรงเรียน ชมรม ชุมชน จากสถานการณ์ดังแผนภูมิจะเห็นได้ว่า อัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันถาวรของอายุเด็ก 12 ปี ในแต่ละปีมีแนวโน้มลดลงทุกปี และในปี 2557 จังหวัดกำแพงเพชรเด็กอายุ 12 ปี ฟันถาวรผุร้อยละ ผ่านเกณฑ์ระดับเขต(ร้อยละ 55)เมื่อพิจารณารายอำเภอพบว่าปี 2557 อำเภอที่ไม่ผ่าน ได้แก่ อำเภอเมือง (รพ.กำแพงเพชร) ร้อยละ 62.21
64
เด็ก ป.1 ได้รับการตรวจฟันและบันทึกสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 85
สาเหตุปัญหา ได้แก่ 1. การลงข้อมูลในโปรแกรมยิ้มสดใส ไม่ถูกต้องครบถ้วน 2. CUP ใหญ่ดำเนินการไม่ครอบคลุมโรงเรียนห่างไกล มาตรการดำเนินงาน ได้แก่ 1.พัฒนาคนและระบบการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล 2.จัดทีมออกบริการเชิงรุกให้ครอบคลุมทุกโรงเรียน 3.ประสาน ภาคี เครือข่ายสนับสนุนในการดำเนินงาน จากสถานการณ์ดังแผนภูมิจะเห็นได้ว่าเด็กป.1 ได้รับการตรวจฟันและบันทึกสุขภาพช่องปาก (ร้อยละ 85) ผ่านเกณฑ์ทุกปีร้อยละ 85 ขึ้นไป ยกเว้น ปี 2555และ ปี 2557 ตรวจได้ร้อยละ 81
65
สถานการณ์เด็กป.1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันร้อยละ50
เด็กป.1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ผ่านเกณฑ์ทุกปี(ร้อยละ 50) ยกเว้นปี ให้บริการได้ร้อยละ 47 ปัจจัยความสำเร็จ ได้แก่ 1. มีระบบบริการที่ดี และความร่วมมือของทีมงานทันตบุคลากร ออกบริการเชิงรุก 2. ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ครู และนักเรียนในการนำนักเรียนไปรับบริการที่รพ. และรพ.สต. จากสถานการณ์ดังแผนภูมิจะเห็นได้ว่าเด็กป.1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ผ่านเกณฑ์ทุกปี(ร้อยละ 50) ยกเว้นปี ให้บริการได้ร้อยละ 47
66
โครงการ/แผนงาน และงบประมาณส่งเสริมทันตสุขภาพ ปี 2558
ทั้ง 12 CUP รวมจำนวน โครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียน โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนมัธยม โครงการสร้างภาคีเครือข่าย กิจกรรม 1.ออกหน่วยส่งเสริมสุขภาพช่องปาก: ตรวจ เคลือบหลุมร่องฟัน รักษาตามความจำเป็น รักษา Case ยาก 2.จัดตั้งกองแปรงสีฟัน ยาสีฟัน / ซื้อวัสดุสาธิตการแปรงฟัน 3.รณรงค์สร้างเครือข่ายในโรงเรียน 4.อบรมครู และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
67
แผนงานโครงการ วัยเรียน
โครงการ/แผนงาน และงบประมาณส่งเสริมทันตสุขภาพ ปี 2558 แผนงานโครงการ วัยเรียน จำนวน 180 โครงการ แผนงาน โครงการ วัยเรียน 1. ดำเนินการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและครูพี่เลี้ยงเด็ก 3. ส่งเสริมและสนับสนุนสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและผู้ปกครอง 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ 5. พัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน เติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข มีคุณธรรม 6. มีระบบการควบคุม กำกับ ติดตามประเมินผล งบประมาณทั้งสิ้น 4,855,593 บาท
68
อัตราการตั้งครรภ์มารดาอายุ <20 ปี
วัยรุ่น อัตราการตั้งครรภ์มารดาอายุ <20 ปี สาเหตุของปัญหา 1. ไม่ได้เตรียมตัวมีเพศสัมพันธ์ 2. มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน 3. ความไว้ใจคู่นอน Baseline 2554 2555 2556 2557 2558 ร้อยละ 65.2 62.9 55.7 28.9 8.62 การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จากข้อมูลแนวโน้มของจังหวัดอัตราการคลอดในมารดาอายุ ๑๕-๑๙ ปี ต่อพันประชากร ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๗มีแนวโน้มลดลง ปี๒๕๕๗ เท่ากับ ๒๘.๙๑ ต่อพันประชากร เมื่อแยกรายอำเภอ ปี ๒๕๕๗ อัตรามารดาอายุ ๑๕- ๑๙ ปี ต่อพันประชากรสูงที่สุดอยู่ที่อำเภอคลองลาน ๓๗.๐๔ เนื่องจากเป็นพื้นที่สูง มีหลายชนเผ่า รองลงมาคืออำเภอพรานกระต่าย ๓๖.๘๖ ต่อพันประชากร และอำเภอโกสัมพีนคร ๓๔.๔๒ จากการเก็บข้อมูลของอำเภอพรานกระต่าย มารดาคลอดบุตรอายุน้อยกว่า 20 ปี ปีงบประมาณ 2556 ในพื้นที่ทั้งหมด เป็นการเก็บที่ข้อมูลการคลอดจากมารดาที่คลอดจากโรงพยาบาลในจังหวัดและต่างจังหวัด และรพ.เอกชน มีจำนวนคนคลอดทั้งหมด 615 ราย มีมารดาคลอดบุตรอายุน้อยกว่า 20 ปี จำนวน 156 ราย คิดเป็นร้อยละ ของหญิงคลอดทั้งหมด และกลุ่มอายุน้อยกว่า 20 ปี (156 คน) พบว่าเป็นกลุ่มที่ความพร้อมคือออกจากโรงเรียนอยู่ในชุมชน อายุอยู่ระหว่าง ปี จำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ อาชีพ ทำไร่ ทำนา ทำสวน เมื่อเรียนจบออกนอกระบบโรงเรียนก็จะมีจุดมุ่งหมายและให้ความสำคัญเรื่องการแต่งงานสร้างครอบครัวใหม่ มีความต้องการมีบุตรไว้สืบสกุล ส่วนอีกกลุ่มไม่มีความพร้อมและยังอยู่ในระบบโรงเรียน จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 28.85
69
อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15-19 ปี
70
สถานบริการ/โรงแรม รีสอร์ท ความชุกของผู้สูบบุหรี่ ไม่เกินร้อยละ10
สถานการณ์สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ สำรวจสถานที่เสี่ยง 2554 2555 2556 2557 สถานบริการ/โรงแรม รีสอร์ท 89/122 109/119 123/120 100/179 ความชุกในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เกินร้อยละ 13 ความชุกของผู้สูบบุหรี่ ไม่เกินร้อยละ10 2553 2554 2555 2556 2557 เขต ปี 54 ประเทศ ปี 54 26.5 19.6 28.0 32.7 36.9 8.4 14.0 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมจังหวัดกำแพงเพชร จากการสำรวจแหล่งบริการ สถานบันเทิง เช่น คาราโอเกะ ร้านอาหาร ร้านนวด และ โรงแรม รีสอร์ท ตั้งแต่ปี พบว่าโรงแรม รีสอร์ท มีจำนวนเพิ่มขึ้น ความชุกของการดื่มสุรา ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อดูข้อมูลแยกรายอำเภอ ปี 2556–2557 พบว่าความชุกของการดื่มแอลกอฮอล์ สูงกว่าเป้าหมายในทุกอำเภอ และอำเภอที่มีความชุกสูงสุดคืออำเภอไทรงาม ร้อยละ 52 และ ส่วนปี อำเภอที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น คืออำเภอ เมือง โกสัมพี และ คลองลาน เหตุผลส่วนใหญ่คืออยากลอง และเพื่อนชวน
71
อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในนักเรียนชายชั้น ม.5 เป้าหมาย 67 %
Baseline 2555 2556 2557 ร้อยละ 62.20 52.27 66.67
72
อัตราป่วยกามโรค สาเหตุของปัญหา 1. ความไว้ใจคู่นอน
Baseline 2554 2555 2556 2557 อัตราป่วย (ทุกกลุ่มวัย) ต่อแสนประชากร 25.85 22.31 23.77 25.84 (กลุ่มวัยรุ่น) 53.91 64.50 45.14 48.33 สาเหตุของปัญหา 1. ความไว้ใจคู่นอน 2. ไม่ได้เตรียมตัวมีเพศสัมพันธ์ อัตราป่วยกามโรค ปี 2557 เปรียบเทียบกับอัตราป่วยของกลุ่มอายุ ปี จำแนกรายอำเภอ กามโรคเป็นกลุ่มโรคหนึ่งที่สามารถคาดการณ์แนวโน้มการติดเชื้อโรคเอดส์ได้ เพราะติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์ และเป็นข้อบ่งชี้ว่าไม่ใช้ถุงยางอนามัย คือยังมีค่านิยมคุมกำเนิดป้องกันการตั้งครรภ์อย่างเดียวโดยไม่นึกถึงการติดโรคทางเพศสัมพันธ์ ปี ภาพรวมจังหวัดอัตราป่วยลดลง แต่เมื่อแยกรายอำเภอ จะสูงที่คลองขลุง ทรายทอง ไทรงาม (คลิ๊ก) แต่เมื่อแยกดูอัตราป่วยในกลุ่มอายุ ปี พบว่าสูงอยู่ที่อำเภอคลองขลุง และ ไทรงาม ซึ่งเมื่อดูกิจกรรมการดำเนินงานใน 2 อำเภอในกลุ่มนี้ยังน้อย ขาดการดำเนินงานเชิงรุก และการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (คลิ๊ก) สาเหตุ คือ ความไว้ใจคู่นอน ไม่ได้เตรียมตัวมีเพศสัมพันธ์ (สภาพแวดล้อมพาไป) จึงทำให้ขาดการป้องกันตนเอง
73
จำนวนสถานศึกษาทั้งหมด
การสอนเพศศึกษารอบด้านในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 20% ประเภทสถานศึกษา จำนวนสถานศึกษาทั้งหมด ผ่านการอบรม ร้อยละ ผลการนิเทศมีการสอน 16 คาบ /ปี สพม.41 33 19 56.2 6 18.18 สพป.เขต1 49 100 7 14.29 สพป.เขต2 9 18.3 2 4.08 ระดับอาชีวศึกษา สอนใน ปวช.1 รวม 137 83 60.5 21 15.33
74
มาตรการกลุ่มวัยรุ่น 1. การจัดบริการที่เป็นมิตรและสอดคล้องกับความต้องการ และบริบทของวัยรุ่น YFHS + Psychosocial Care / จัดระบบส่งต่อ ติดตาม/การคุมกำเนิดในแม่วัยรุ่น Teen Manager ระดับอำเภอ /จังหวัด / KM / สุขภาพดีวิถีธรรมวิถีไทย (บวร) / คืนข้อมูล 2. การบูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบ DHS โดยมี กิจกรรมบูรณาการในการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ โครงการจัดระเบียบสังคม การออกตรวจร้านค้าที่จำหน่ายสุรา/บุหรี่ /ร่วมมือกับ อปท./รณรงค์วันสำคัญปลอดเหล้า 3. การบังคับใช้กฎหมาย/การใช้มาตรการทางสังคม ในการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นดื่มสุรา /บุหรี่ สอนทักษะชีวิต-เพศศึกษา/คัดกรองช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยง/OHOS จัดระบบส่งต่อ ติดตาม/ กระจายจุดบริการถุงยาง/ โรงเรียนพ่อแม่ 4. มาตรการเชิงรุกสู่สถานศึกษา พื้นที่เยาวชนสร้างสรรค์/ สร้างเยาวชนต้นแบบ 3 อ 3 ส ครอบคลุมทุกอำเภอ/ ชมรม TO BE NUMBER ONE 5. มาตรการเชิงรุกสู่ชุมชน
75
รูปแบบการดำเนินงานกลุ่มวัยรุ่น
1. บริหารจัดการโครงการ TO BE NUMBER ONE 2. จัดทำแผนยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาเอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นแบบบูรณาการ 3. ติดตามประเมินสอนเพศศึกษารอบด้าน 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานระหว่างอำเภอ 5. จัดตั้ง คกก. ป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (ภาคีเครือข่าย) เพื่อให้เกิดอำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จัดการสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย ระดับจังหวัด 1. ขับเคลื่อนโครงการ TO BE NUMBER ONE 2. พัฒนาสถานบริการวัยรุ่นให้มีมาตรฐาน (YFHS) 3. สร้างมาตรการในการควบคุมการจำหน่ายบุหรี่/สุรา โดยใช่ บึงสามัคคี โมเดล 4. พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือและระบบส่งต่อในโรงเรียน(OHOS) 5. ขับเคลื่อนงานผ่านระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ระดับอำเภอ 1. จัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONEในสถานศึกษา ชุมชน สถานประกอบการ 2. พัฒนาต้นกล้า TO BE 3ส 3อ ตามแนววิถีธรรม วิถีไทย 3. พัฒนาศักยภาพพ่อ แม่ /ครอบครัว (สื่อสารเรื่องเพศกับลูก/โรงเรียนพ่อแม่) 4. จัดทำแผนบริการสุขภาพระดับตำบล/สร้างแกนนำชุมชน(ให้คำปรึกษา/เฝ้าระวัง) ระดับตำบล
76
ลานกระบือโมเดล Life Skill Safe Sex Skill Mother skill
เด็กวัยรุ่น ปี ในชุมชน / สถานศึกษา ให้ความรู้เพื่อป้องกันตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ด้านการป้องกัน (รุก) ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เด็กวัยรุ่น ปี คลอดบุตรแล้ว การวางแผนครอบครัว ติดตามเยี่ยม มารดา / ทารกเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ พัฒนาการเด็ก และ การเลี้ยงดูบุตร เด็กวัยรุ่น ปี แต่งงานมีครอบครัวแล้ว (ยังไม่ท้อง) ให้ความรู้ เพื่อชะลอการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร การวางแผนครอบครัว Life Skill Safe Sex Skill Mother skill ด้านการช่วยเหลือ และบำบัดฟื้นฟู (รับ) ลูก..พัฒนาการสมวัย แม่..มีสุขภาพจิตที่ดี ไม่กลับมาท้องซ้ำ เด็กวัยรุ่น ปี อยู่ระหว่างการตั้งครรภ์ (ตั้งใจ+ไม่ตั้งใจ) ดูแลเรื่องการฝากครรภ์ เพื่อดูแลสุขภาพ แม่ + ลูก ประเมินสุขภาพจิต เพื่อเฝ้าระวังการทำร้ายตนเอง หรือ บุตรที่อยู่ในครรภ์ (ทำแท้ง)
77
สรุปแผนงานโครงการงบประมาณกลุ่มวัยรุ่น
ที่ กิจกรรม/โครงการ งบประมา ณ 1. โครงการ TO BE NUMBER ONE วิถี ธรรม วิถีไทย เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทาง จิตใจในกลุ่มเยาวชน 4896,474 2. โครงการ รักบริสุทธิ์ หยุดปัญหา พัฒนา สังคม 23,8000 3. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 1,208,282 4. โครงการจัดบริการคลินิกเป็นมิตรกับวัยรุ่น (YFHS) ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธ์สำหรับวัยรุ่น 49,300 5. โครงการส่งเสริมการเข้าถึงถุงยางอนามัย ติดตั้งตู้ถุงยางอนามัย (CONDOM POINT) สร้างวิทยากรเพศศึกษารอบด้าน 57,647 รวมทั้งสิ้น 6,467,703
78
จังหวัดกำแพงเพชร ขอน้อมนำโครงการ TO BE NUMBER ONE
มาดำเนินการแก้ไขปัญหาต่างๆในกลุ่มเยาวชน ปี 2557 จังหวัดกำแพงเพชร ได้รับพระราชทานรางวัลจังหวัดต้นแบบระดับทอง เป้าหมายจังหวัดกำแพงเพชร มุ่งสู่ จ.กำแพงเพชร มีนโยบายให้นำยุทธศาสตร์การดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE มาเป็นแนวทางในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาในกลุ่มเยาวชน ทุกๆเรื่อง เช่น ยาเสพติด ท้องก่อนวัยอันควร สุรา/บุหรี่ ติดเกม/เนต ส่งเสริมให้เยาวชนมีทักษะชีวิต มีการพัฒนา EQ จังหวัด TO BE NUMBER ONE มาตรฐานระดับเพชร ในปี 2560
79
วัยทำงาน สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) ลดลงร้อยละ 10 ภายใน 5 ปี
Baseline 2554 2555 2556 2557 อัตราป่วย : แสน ปชก. 492.83 501.68 470.91 451.99 อัตราตาย : แสน ปชก. 32.92 29.96 34.0 9.03 อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดปี จำแนกรายอำเภอ ไม่เกิน 23 ต่อแสนประชากร อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ จังหวัดกำแพงเพชร ตั้งแต่ ปี2553 – 255๖ พบว่า ในปี ๒๔๔3 มีอัตราตาย ต่อแสนประชากร เพิ่มขึ้นในปี ๒๕๕๖ อัตราตาย ต่อแสนประชากร สำหรับปี ๒๕๕๗ ช่วงเวลา ๙ เดือน (ตุลาคม ๒๕๕๖ –กรกฎาคม ๒๕๕๗) อัตราตาย ๙.๐๓ ต่อแสนประชากร ซึ่งมีแนวโน้มลดลง (เป้าหมายไม่เกินค่าเป้าหมาย 23 ต่อแสนประชากร) สำหรับอัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ในภาพรวมจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ตั้งแต่ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ มีอัตราตายเพิ่มขึ้นทุกปี โดยในปี ๒๕๕๕ มีอัตราตาย ต่อแสนประชากร ลดลงในปี ๒๕๕๗ ช่วง ๙ เดือน (ตุลาคม ๒๕๕๖ – กรกฎาคม ๒๕๕๗ ) เป็นอัตราตาย ต่อแสนประชากร
80
อัตราป่วยและอัตราตายโรค DM-HT ต่อแสนประชากร
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
81
สถานการณ์ ประชาชนอายุ 35-59 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
Baseline 2555 2556 2557 DM 65.36 90.18 89.96 HT 63.62 90.25 เป้าหมายปี ร้อยละ 90 มาตรการดำเนินงาน ได้แก่ 1.การพัฒนาศักยภาพชุมชนในการเฝ้าระวังป้องกัน/ควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง หมู่บ้านหรือชุมชน ต้นแบบ 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3.พัฒนาศักยภาพแกนนำและเครือข่ายพัฒนา หมู่บ้านปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง
82
ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย (ไม่รวมผู้ป่วย) อายุตั้งแต่ 35-59 ปี
ความครอบคลุมการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย (ไม่รวมผู้ป่วย) อายุตั้งแต่ ปี Baseline 2555 2556 2557 เบาหวาน 65.36 90.18 89.96 Baseline 2555 2556 2557 ความดันโลหิตสูง 63.62 90.25 89.96 ประชาชนอายุ ปีได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง(ร้อยละ ๙๐) การคัดกรองและจัดแบ่งกลุ่มตามระดับความเสี่ยงในประชากรอายุ ปี ช่วงเวลาระหว่างเดือนตุลาคม 2556 – กันยายน โดยการคัดกรองประชากร ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวานผลงานการคัดกรองได้ร้อยละ ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ ๙๐) แยกเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ กลุ่มแฝง/เสี่ยง ร้อยละ กลุ่มสงสัยเป็นโรค ร้อยละ พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 3,123 ราย ร้อยละ สำหรับโรคความดันโลหิตสูง ผลงานการคัดกรอง ร้อยละ ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ ๙๐) แยกเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 54.3กลุ่มแฝง/เสี่ยง ร้อยละ 41.28กลุ่มสงสัยเป็นโรค ร้อยละ 3.98 พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 8,551 ราย ร้อยละ 4.75 ปี 2557 พบ DM รายใหม่ 3,123 คน 1.58% ปี 2557 พบ HT รายใหม่ 8,551 คน 4.75% กลุ่มปกติ (< 100 mg/dl.) กลุ่มเสี่ยง ( mg/dl.) กลุ่มสงสัยเป็นโรค >= 126 mg/dl.) กลุ่มปกติ (SBP < 120 mmHg. และ DBP < 80 mmHg.) กลุ่มเสี่ยง (SBP = mmHg. หรือ DBP = mmHg.) กลุ่มสงสัยเป็นโรค (SBP >= 140 mmHg. หรือ DBP >= 90 mmHg.)
83
ความชุกของพฤติกรรมเสี่ยงของประชาชนอายุ ปีลดลง (ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ บริโภคผักผลไม้ลดลง ออกกำลังกายไม่เพียงพอ ขี่มอเตอร์ไซด์ไม่สวมหมวกนิรภัย เมาแล้วขับ) พฤติกรรม Baseline ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ดื่มเหล้า (ไม่เกิน 9%) 11.04 10.10 9.84 สูบบุหรี่ (ไม่เกิน 8%) 8.98 7.99 8.19 บริโภคผัก / ผลไม้ (40%) 56.7/34.5 ออกกำลังกาย (22%) 21.51 22.60 12.17 สวมหมวกนิรภัย ร้อยละ 55.0 (ข้อมูลปี54 มูลนิธิไทยโรดร่วมกับสสส) เมาแล้วขับ ร้อยละ 24.0 (ข้อมูลปี 49 มูลนิธิเมาไม่ขับ)
84
ความชุกของพฤติกรรมเสี่ยงของประชาชนอายุ ปีลดลง (ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ บริโภคผักผลไม้ลดลง ออกกำลังกายไม่เพียงพอ ขี่มอเตอร์ไซด์ไม่สวมหมวกนิรภัย เมาแล้วขับ) มาตรการการดำเนินงาน ดำเนินการส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และลดพฤติกรรมเสี่ยง ที่มีผลต่อโรคและปัญหาสาธารณสุข ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ของประชาชน สร้างกระแส สื่อสาร ให้ความรู้ รณรงค์ บูรณาการการดำเนินงาน ร่วมกับโครงการสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย ในระดับพื้นที่ ประสานองค์กรภาคีเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้รับรู้ข้อมูล และร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน ประเมินพฤติกรรมโดยการสำรวจ
85
ปัญหาสุขภาพจิตของประชาชน : ปัญหาการทำร้ายตนเอง
แผนภูมิเปรียบเทียบการฆ่าตัวตายสำเร็จแยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ (4 เดือน) แผนภูมิแสดงกลุ่มอายุที่พยายามฆ่าตัวตาย ปีงบประมาณ ปัญหาทะเลาะกับคนใกล้ชิด 27.33 ปัญหาความน้อยใจ ถูกดุด่า 19.33 ปัญหาผิดหวังเรื่องความรัก 12.67 ปัญหาภาวะซึมเศร้า 8.33 ปัญหาเศรษฐกิจ ยากจน ปัญหาโรคเรื้อรัง 3.00 ปัญหาดื่มสุรามาก 5.67 ปัญหาการทำงาน 2.3 โรคจิต 2 ปัญหายาเสพติด(ตนเอง) 1.6 ที่มา : รายงาน 506 DS , มบ. 1
86
อัตราการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
แนวโน้มอัตราบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน แนวโน้มอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน อัตราการตายผู้ป่วยบาดเจ็บ ปี = 5.11 ต่อแสนประชากร ปี = 4.20 ต่อแสนประชากร อัตราการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน แยกรายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๖ เสียชีวิต
87
ภาคีเครือข่ายด้านการแพทย์ฉุกเฉิน
ลำ ดับ ภาคีเครือข่าย ขึ้นทะเบียน ปฏิบัติงานจริง 1 โรงพยาบาล(ALS) 13 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(BLS) 30 3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(FR) 80 42 4 มูลนิธิฯ(FR) 5 สมาคมกู้ภัยฯ(FR) รวมทั้งจังหวัด 126 61 เสียชีวิตที่เกิดเหตุ %
88
กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด
Baseline 2557 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผลการดำเนินงาน ปี 2557 จำนวน ร้อยละ พฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง (ร้อยละ) ระดับน้ำตาล/ ความดันโลหิต ลดลง 12,571 4.05 87.48 79.96 เป้าหมาย ปี 2558 กลุ่มเสี่ยง DM HT CVD ที่เข้าโปรแกรมคุณภาพ pi จำนวน ร้อยละ 1. ระดับน้ำตาล ความดันโลหิต ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 17,213 12.5 2. พฤติกรรมสุขภาพถูกต้องเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
89
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
แผนงานพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 13 โครงการ งบประมาณ 14,463,684 บาท มาตรการการดำเนินงานกลุ่มเสี่ยงสูง DM HT CVD กลุ่มเสี่ยงรู้ตนเอง ตั้งเป้าหมายปรับพฤติกรรมลดความเสี่ยง จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคุณภาพ (6 สัปดาห์) 3 ส 3 อ จัดตั้งเครือข่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เฝ้าระวังพฤติกรรม 3 ส 3 อ นิเทศติดตาม ประเมินผล แหล่งงบประมาณ
90
ความชุกของภาวะอ้วน (BMI≥25 กก/ม2) และหรือภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอวเกิน ชาย>90 ซม. หญิง>80 ซม.
ไม่เกินร้อยละ 23 ภาวะอ้วน ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ประเทศ ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีภาวะอ้วนลงพุง 20.55 21.69 23.92 32.1 (ปี 2552)
91
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนลงพุง
แผนงาน/ โครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนลงพุง 5 โครงการ จำนวนเงิน 406,480 บาท มาตรการการดำเนินงาน 1. พัฒนาองค์ความรู้/ แนวทางการจัดการน้ำหนักอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับวิถีชีวิต 2. พัฒนาศักยภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพิ่มภูมิรู้ภูมิธรรม 3 ส(สีล สมาธิ ปัญญา สวดมนต์ สนทนาธรรม) 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์สื่อสารเรื่องโรคอ้วนลงพุง 4. เฝ้าระวังรอบเอว และเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 3 ส 3 อ 5. สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย โดยสนับสนุนภาคีเครือข่าย ขยายฐาน การมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการน้ำหนัก 6. พัฒนาศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง คลินิกไร้พุงคุณภาพ และ รพ.ส่งเสริม สุขภาพด้านอาหารและโภชนาการให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
92
งบประมาณสนับสนุนกิจกรรมวัยทำงาน
สำหรับงบประมาณที่ใช้ในโครงการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อ จำนวน 22 ล้านกว่าบาท งบประมาณจากสาธารณสุข 20 ล้านกว่าบาท และจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 1 ล้านกว่าบาท รวม 32,580,560 บาท
93
โรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช (Pesticide)
อัตราป่วยด้วยโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืชต่อแสนประชากร ปี
94
ผู้ป่วยด้วยโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ (Pesticide) จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2557
ผลการตรวจเลือดเกษตรกรที่พบว่าเสี่ยงและไม่ปลอดภัยจากสารกำจัดศัตรูพืช ปี เปรียบเทียบเขตและประเทศ
95
โรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช (Pesticide)
ปัญหา 1. ไม่มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง 2. ความต้องการผลผลิตเพิ่มมากขึ้น 3. พิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชส่งผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว 4. พฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชไม่ถูกต้อง โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกรจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช จำนวน 18 โครงการ ครอบคลุมทุกอำเภอ จำนวนเงิน 179,640 บาท - อบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง - เจาะเลือดตรวจหาเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส - เข้าโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ - ติดตามประเมินสุขภาพ มาตรการการดำเนินงาน 1. บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. กำหนดเป็นโยบายของจังหวัดให้แต่ละอำเภอดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหาในแต่ละพื้นที่ 3. รณรงค์ให้ความรู้แก่เกษตรกร ลดและเลิกการใช้สารเคมี 4. เกษตรกรที่มีผลการตรวจเลือดเสี่ยงและไม่ปลอดภัยเข้าโปรแกรมปรับเลี่ยนพฤติกรรม 5. ส่งเสริมองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นในการสนับสนุนให้เกษตรกรใช้เกษตรอินทรีย์ แหล่งงบประมาณ
96
สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ปีงบประมาณ สถานประกอบการที่สมัครเข้าร่วมโครงการ ผ่านเกณฑ์การประเมิน 2556 33 แห่ง 2557 10 แห่ง ปัญหา เกณฑ์การประเมินฯค่อนข้างมาก (77 ข้อ) และสถานประกอบการทุกขนาดใช้แบบประเมินเดียวกัน ทำให้การพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์มีข้อจำกัด
97
สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
มาตรการ ผลการดำเนินงาน 1. ส่งเสริมสุขภาพประชากรกลุ่มวัยทำงานมีสุขภาพดี ลดการเจ็บป่วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2. ประชากรวัยทำงานปลอดภัยจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 3. การบังคับใช้กฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ 4. การติดตามประเมินผล 1.จัดทำโครงการเสนอขออนุมัติ งบ สป. จำนวน 38,000 บาท 2. ประสานสถานประกอบการเข้าร่วมประชุม รับทราบแนวทางการดำเนินงานสถาน ประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 3. จัดประชุมสถานประกอบการ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2558 4. รับสมัครสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ 5. จัดทำแผนนิเทศติดตามประเมินสถาน ประกอบการที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
98
อัตราป่วย-ตายด้วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ในผู้สูงอายุ
อัตราตายไม่เกิน 190 ต่อประชากรแสนคน
99
กรอบการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ
คัดกรอง/ประเมิน * ปัญหาสำคัญ/โรคที่พบบ่อย * กลุ่ม Geriatric Syndromes * สมรรถนะเพื่อการดูแล ผู้สูงอายุ (ครอบครัว/ชุมชน) 2. ข้อมูลคัดกรอง / ประเมิน * ศูนย์ข้อมูลผู้สูงอายุ 3. การดูแล / บริการสุขภาพ * ระดับปฐมภูมิ * ระดับทุติยภูมิ สังคม /สิ่งแวดล้อม * ระดับตติยภูมิ
100
กรอบการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ
SWOT Analysis การขับเคลื่อนทางสังคมเกี่ยวกับการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ Strengths Weaknesses S1 ต้นทุนทางสังคม ค่านิยม ที่ดี S2 มีงบประมาณหลายแหล่ง S3 มี พรบ. และแผนยุทธศาสตร์ชาติ S4 มี อปท. เป็นกลไกบูรณาการพื้นที่ S5 มีบริการนวดแผนไทย ฟื้นฟูในชุมชน W1 แผนยุทธศาสตร์ขาดแผนงบสนับสนุน W2 ดำเนินการแบบแยกส่วน W3 ขาดกำลังคนและการจัดการระบบ W4 ขาดระบบข้อมูลในพื้นที่ W5 ขอบเขตหน้าที่/ระเบียบของ อปท. 4.1 แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๒ ๔.๒ สมัชชาผู้สูงอายุระดับชาติ ครั้งที่ ๒ ๒๕๕๒ ๔.๓ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ๒๕๕๒ ๔.๔ การดำเนินงานดูแลระยะยาวผู้สูงอายุในหน่วยงานต่างๆ เช่น พม./ สธ./ สปสช./ อปท./ กองทุนตำบล/ เครือข่ายภาคเอกชน หน่วยงาน แหล่งงบประมาณที่มีการใช้สำหรับการจัดบริการผู้สูงอายุ อปท. เบี้ยยังชีพ, เบี้ยผู้พิการ ,ค่าตอบแทนอาสามสมัคร,กองทุนตำบล,กองทุนฟื้นฟู พม. กองทุนผู้สูงอายุ, งบสนับสนุนผู้ช่วยผู้พิการ, กองทุนเงินออม สปสช. ค่าบริการ PP, กองทุนตำบล, กองทุนฟื้นฟู, กองทุนแพทย์แผนไทย Opportunities Threats O1 สังคมเริ่มตระหนักในการพัฒนา O2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง O3 อปท. สนใจและจัดงบสนับสนุน O4 มีกองทุนตำบลเกือบทุกพื้นที่ O5 สธ. พัฒนาระบบ Service plan O6 มีนวัตกรรมการดูแลผู้สูงอายุ T1โครงสร้างประชากรและสังคม T2 ฐานะทางเศรษฐกิจการคลังประเทศ T3 ระบบบริการสุขภาพยังไม่รองรับ T4 การจัดริการทางสังคมยังไม่เป็นระบบ จุดแข็งหลักในระบบคือ มีต้นทุนทางสังคมในการสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุ ทั้ง ค่านิยม การมีอาสาสมัครกลุ่มต่างๆในชุมชน ขณะเดียวกันมี อปท. เป็นกลไกหลักในการบูรณาการในพื้นที่ จุดอ่อนหลัก คือ การแยกส่วนของของการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ผ่านมาขาด financial model ในการสนับสนุน ขาดบุคลากรและระบบรองรับ โอกาสสำคัญที่ทำให้การพัฒนามีความเป็นไปได้สูง คือ การมี อปท.ในทุกพื้นที่ มีภารกิจหลักในการดูแลคุณภาพชีวิตประชาชนทุกกลุ่ม และมีกองทุนตำบลในการขับเคลื่อนในทุกพื้นที่ ภาวะคุมคามสำคัญ คือ การเปลี่ยนแปลงด้านตัวโครงสร้างประชากรและสังคมเอง นอกนั้นก็เป็นสถานะทางเศรษฐกิจการคลังภาครัฐ
101
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวตามนโยบายรัฐมนตรีฯ
มาตรการ ตัวชี้วัด 1. การคัดกรอง พัฒนาฐานข้อมูล จำแนกผู้สูงอายุ กลุ่ม 1, 2, 3 2. พัฒนาศักยภาพการคัดกรองให้แก่ อสม. 3. พัฒนาระบบบริการและมาตรฐาน การป้องกัน การดูแล ผู้สูงอายุ 4. จัดบริการเยี่ยมบ้านเชิงรุกที่บ้าน/ชุมชน 5. พัฒนากำลังคนในระบบดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ 6. ติดตามประเมินผล อ.ลานกระบือ ตำบลลานกระบือ อ.เมือง ตำบลเทพนคร เป้าหมาย นำร่อง 2 อำเภอๆละ 1 ตำบล การคัดกรอง ADL ปี 2557 การดำเนินงาน จำนวนผู้สูงอายุ 97,410 คน คิดเป็นร้อยละ ของประชากร -รับนโยบาย คัดเลือกอำเภอนำร่อง อบรม CARE MANAGER อบรม Care giver ตามคุณสมบัติ เข้ารับการอบรม หลักสูตร 70 ชั่วโมง จังหวัดนิเทศติดตาม การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย นำร่อง 2 อำเภอๆละ 1 ตำบลอ.ลานกระบือ ตำบลลานกระบือ อ.เมือง ตำบลเทพนคร มาตรการ 1. การคัดกรอง พัฒนาฐานข้อมูล จำแนกผู้สูงอายุ กลุ่ม 1, 2, 3 2. พัฒนาศักยภาพการคัดกรองให้แก่ อสม. 3. พัฒนาระบบบริการและมาตรฐาน การป้องกัน การดูแล ผู้สูงอายุ 4. จัดบริการเยี่ยมบ้านเชิงรุกที่บ้าน/ชุมชน 5. พัฒนากำลังคนในระบบดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ 6.ติดตามประเมิน ผลการดำเนินงาน รับบนโยบาย คัดเลือกอำเภอนำร่อง ส่งจนท.อบรม Care Mamager อบรม Care giver ตามคุณสมบัติ เข้ารับการอบรม หลักสูตร 70 ชั่วโมง นิเทศติดตาม กลุ่มติดสังคม ประเมิน ADL 77,313 คน ร้อยละ 79.37
102
ร้อยละ 30 ของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
เป้าหมาย ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์มีคุณภาพชีวิตที่ดี กลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาทักษะ กาย ใจ มาตรการ ผลการดำเนินงาน 1. สนับสนุนการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ (สมุดบันทึกสุขภาพเล่มสีฟ้า) 2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการของระดับจังหวัด/อำเภอ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานทุกระดับเข้าร่วมประชุมพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เขตบริการที่ 3 (การประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์) 4 จังหวัดนิเทศติดตามชี้แจงตัวชี้วัด/แผนงาน/โครงการ ระดับจังหวัด 1.ประสานงานกับพื้นที่ในการประเมิน 2. รวบรวมแบบประเมินฯ ระดับอำเภอ/ตำบล 1. พัฒนาระบบกลไกการดำเนินงาน 2. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ 3. พัฒนาผู้สูงอายุ ให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง 4. สนับสนุนกิจกรรมของเครือข่าย 28/07/62
103
ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด ผลงานปี 2557 มาตรการ Base line 2555 2556 2557 50 79.41 83.10 1. การคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ 1.1 การประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประวัตรประจำวัน (ADL) 1.2 การคัดกรองโรคที่เป็นปัญหา เบาหวาน 2. ความดันโลหิตสูง ฟัน 4. สายตา 1.3 การคัดกรองกลุ่ม Geriatric Syndromes 1. ภาวะหกล้ม สมรรถภาพสมอง 3. การกลั้นปัสสาวะ 4. โภชนาการ 5. ภาวะซึมเศร้า ข้อเข่าเสื่อม เป้าหมาย หมายถึงพื้นที่มีร้อยละของผู้สูงอายุรับการประเมินกาย/ใจ ต่ำกว่าร้อยละ 40 หมายถึงพื้นที่มีร้อยละของผู้สูงอายุรับการประเมินกาย/ใจ ร้อยละ 40-59 หมายถึงพื้นที่มีร้อยละของผู้สูงอายุรับการประเมินกาย/ใจ ตั้งแต่ร้อยละ 60 ผู้สูงอายุได้รับการดูแลรักษาแก้ไขปัญหาสุขภาพทั้งกายและจิตอย่างเหมาะสม ลดความรุนแรง ภาวะแทรกซ้อนและความพิการ ผลการดำเนินงานปี 2558 1.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งAging Manager ในระดับจังหวัด/อำเภอ กลุ่มวัยสูงอายุ(กลุ่มงานยุทธศาสตร์) 2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการทุกระดับ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานทุกระดับเข้ารับการอบรมพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เขตบริการที่ 3 4. ระดับจังหวัดนิเทศติดตามชี้แจงตัวชี้วัด/มาตรการ/Basline /6BOX/แผนงาน/โครงการ 28/07/62
104
ร้อยละ 30 ของโรงพยาบาลชุมชน รพท. รพศ. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ ครบวงจร
1.รพ.ขาณุวรลักษบุรี 2.รพ.ลานกระบือ 3.รพ.ทรายทองวัฒนา 4.รพ.บึงสามัคคี มาตรการ ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด: ประสานงานสถานบริการเพื่อวางแผนรับ-ส่งต่อผู้สูงอายุ รพ.สต.: บทบาท มีการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุค้นหากลุ่มเสี่ยง ส่งต่อรพช.เพื่อประเมินยืนยัน รพช.รพท: บทบาท 1.จัดทำแผนการดำเนินงาน 2.พัฒนาบุคลากร 3.พัฒนาสถานที่/สภาพแวดล้อม 4. ให้บริการคัดกรองปัญหาสุขภาพ/Geraitric Syndromes 5. Care plan ผู้สูงอายุ 6. การส่งต่อและจัดบริการ ดูแล รักษา ฟื้นฟูตามปัญหา 7. เพิ่มประสิทธิภาพการรับ-ส่งต่อผู้สูงอายุจากชุมชนสู่สถานพยาบาล Base line 2555 2556 2557 4 แห่ง เป้าหมาย ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการ ดูแลรักษาและฟื้นฟูทั้งด้านร่างกายและจิตที่มีคุณภาพมาตรฐาน อย่างทั่วถึง และเป็นธรรม ผลการดำเนินงาน 1. จัดทำแผนปฏิบัติการทุกระดับ 2. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่การคัดกรอง/ประเมิน 3. ดับจังหวัดนิเทศติดตาม 28/07/62
105
ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการคัดกรอง DM/HT
ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 60 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ผลงาน ปี 2557 ตัวชี้วัด Base line 2555 2556 2557 90.4 90.25 89.49 เป้าหมาย ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการคัดกรอง DM/HT หมายถึงพื้นที่มีร้อยละของผู้สูงอายุรับการคัดกรองDM/HT ต่ำกว่าร้อยละ 70 หมายถึงพื้นที่มีร้อยละของผู้สูงอายุรับการคัดกรองDM/HT ร้อยละ 71-89 หมายถึงพื้นที่มีร้อยละของผู้สูงอายุรับการคัดกรองDM/HT ตั้งแต่ร้อยละ 90 ผลการดำเนินงาน -คัดกรองเบาหวาน/โรคความดันในผู้สูงอายุผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป จัดทำแผนปฏิบัติการผู้สูงอายุทุกระดับ จังหวัดนิเทศติดตามแผนงาน/โครงการ 28/07/62
106
ทรายทองวัฒนา ร้อยละ 40.68 และโกสัมพีนคร ร้อยละ 30.71
ผู้สูงอายุมีฟันคู่สบฟันหลังทั้งฟันแท้และฟันเทียมครบ 4 คู่ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 52 สาเหตุ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพช่องปาก สัดส่วนทันตบุคลากรต่อจำนวนประชากรผู้สูงอายุ มีจำนวนเพิ่มขึ้น การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ได้แก่การใส่ ฟันเทียม(รพ.ทรายทองวัฒนาและรพ.โกสัมพีนคร ) มาตรการ การจัดบริการเชิงรุก การใส่ฟันเทียม และ รากฟันเทียม ทดแทนฟันที่สูญเสียไปในรพ.สต. ส่งเสริมป้องกันทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ การพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร การวางแผนกรอบอัตรากำลังคน ผลการสำรวจปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ผู้สูงอายุมีฟันคู่สบฟันหลังทั้งฟันแท้และฟันเทียมครบ 4 คู่ขึ้นไป มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการจัดบริการใส่ฟันเทียมและส่งเสริมสุขภาพช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์ให้แก่ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น แต่บางอำเภอที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ เนื่องจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นและจำนวนทันตแพทย์ที่ไม่เพียงพอให้บริการใส่ฟันเทียม อำเภอที่ไม่ผ่าน ได้แก่ ขาณุวรลักษบุรี ร้อยละ คลองขลุง ร้อยละ47.50 ทรายทองวัฒนา ร้อยละ และโกสัมพีนคร ร้อยละ 30.71
107
สถานการณ์ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียม ปี 2557 ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย
Baseline 2555 2556 2557 100 138 เป้าหมายปี คน ผลงาน 1,018 คน คิดเป็นร้อยละ 138 อำเภอที่ไม่ผ่าน ได้แก่ บึงสามัคคี ร้อยละ ทรายทองวัฒนา ร้อยละ 66.66 และทุ่งโพธิ์ทะเล ร้อยละ 77.77 นโยบายของขวัญ โครงการฟันเทียมพระราชทาน จัดบริการไปใน กลุ่มอายุ ปีและผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ปี 2557 ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,018 คน คิดเป็นร้อยละ 138 สาเหตุของปัญหา ได้แก่ 1. การเข้าถึงบริการ การเดินทางของผู้สูงอายุ 2. การบันทึกข้อมูล 3. ทันตบุคลากรใหม่ขาดความชำนาญ มาตรการดำเนินงาน ได้แก่ 1.จัดบริการหมุนเวียนให้บริการในรพ.สต.ที่ไม่มีทันตบุคลากร 2.บริการเชิงรุกในหมู่บ้าน ชมรมผู้สูงอายุ คัดกรอง เพิ่มขึ้น 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากร
108
ผู้สูงอายุที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากและได้รับการฝังรากฟันเทียม ปี2555-2557
เป้าหมายปี จำนวน 80 ราย ผลงาน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 42.50 สาเหตุของปัญหา ได้แก่ เครื่องมือฝังรากฟันเทียมมีไม่เพียงพอ ผู้ที่ประสงค์ฝังรากฟันเทียม มีจำนวนน้อย และมีสภาวะไม่เหมาะสมตามเกณฑ์ ทันตแพทย์เฉพาะทางมีไม่เพียงพอ มาตรการดำเนินงาน ได้แก่ 1. เชิงรุกคัดกรองผู้ที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากเพื่อรับการฝัง รากฟันเทียมเพิ่มขึ้น 2. พัฒนาศักยภาพทันตบุคลกร ผู้สูงอายุที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากได้รับบริการฝังรากฟันเทียม เป้าหมายปี ๒๕๕๕-๒๕๕๗ จำนวน ๘๐ คน ฝังรากเทียม ๓๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๕๐ ทำให้ผู้สูงอายุมีฟันคู่สบฟันหลังครบ 4 คู่ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหารได้ดีมากขึ้น นโยบายของขวัญเป้าหมายปี จำนวน 40 ราย ผลงาน เดือน ต.ค.-ธ.ค.57 จำนวน 9 ราย คิดเป็นร้อยละ
109
ผลการดำเนินงานผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียม ปี 2558
เป้าหมายปี ร้อยละ 80 (เป้าหมาย 625 คน ผลงาน 400 คน) โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากของผู้สูงอายุตามชุดสิทธิประโยชน์ ปี จำนวน 10 อำเภอ เป็นเงินทั้งสิ้น 259,222 บาท
110
แผนงานโครงการผู้สูงอายุ ปี 2558 รวม 143 โครงการ เป็นเงิน 5,518,456 บาท
แผนงาน/โครงการ โครงการจังหวัดกำแพงเพชร สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย -คัดเลือกบุคคลต้นแบบสุขภาพดี อายุยืน (ผู้สูงอายุบุคคลต้นแบบ) -ตรวจสุขภาพตามเกณฑ์ประเมินคัดเลือกที่จำเป็นต่อสุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพดี การดำเนินงานผู้สูงอายุ -ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ -เสริมสร้างระบบการดูแลผู้สูงอายุ -ดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน -การคัดกรอง -พัฒนาภาคีเครือข่ายพัฒนาทักษะกาย/ใจ -อบรมผู้ดูแลระยะยาว -ทันตสุขภาพสำรวจสุขภาพช่องปาก -เสริมสร้างศักยภาพผู้สูงอายุ รวม 143 โครงการ เป็นเงิน 5,518,456 บาท
111
พบผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2557 เปรียบเทียบค่า Median 5 ปี รายเดือน อันดับ 16 ของประเทศ พบผู้ป่วย 774 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย 0.12 %
112
อัตราป่วยไข้เลือดออกเปรียบเทียบ Median รายอำเภอ ปี 2557
113
GEN 2 14 หมู่บ้าน 9 ตำบล ม.3 ต.พรานกระต่าย ม.5 ต.หนองหลวง
ม.1 ต.ตลองขลุง ม.3 ต.พรานกระต่าย ม.2 , ม.4 ต.นาบ่อคำ ม.5 ต.หนองหลวง ม.1 ต.โกสัมพี ม.7 , ม.11 , ม.13 ต.ไตรตรึง ม.5 ต.สระแก้ว ม.2 , ม.10 ต.หนองปลิง ม.5 ต.นครชุม ม.6 ต.คลองสมบูรณ์
114
มาตรการเร่งรัดช่วงระบาด
กระบวนการแก้ปัญหา แนวทางดำเนินการ มาตรการเร่งรัดช่วงระบาด กำหนดมาตรการป้องกันโรคล่วงหน้า กำหนดสัปดาห์รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ (ตามหลัก 5ป.๑ข.) เตรียมความพร้อม ซ่อมบำรุง และตรวจประเมิน เครื่องพ่น และสารเคมี เฝ้าระวังโดยสำรวจ / ประเมินค่าดัชนีและควบคุมโรคโดย ประสานแผนกับ อปท. พัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับเครือข่ายจังหวัด/อำเภอ พัฒนาทีม SRRT ระดับอำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน ในการสอบสวน ควบคุมโรค นิเทศติดตาม และประเมินผล ประชุม War room (Web-conference) ระดับจังหวัด /อำเภอ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง หรือตามสถานการณ์ ทีมSRRT จังหวัด/อำเภอ ติดตามระดับ อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน เฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีอาการไข้มากกว่า 2 วัน ทุกรายและติดตามโดยเครือข่าย อสม. เตรียมความพร้อมทีมรักษาพยาบาล ใช้monitor shock ในผู้ป่วยไข้เลือดออกทุกราย รณรงค์ “Big Cleaning Day”ทั้งจังหวัดในช่วงเดือนอันตราย (มี.ค.-ก.ค.) ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ ได้แก่ สิ่งพิมพ์, หอกระจายข่าว,สถานีวิทยุ, เคเบิลทีวี
115
อำเภอมีทีม SRRT คุณภาพ ร้อยละ 80
การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินจังหวัดกำแพงเพชร มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ระดับจังหวัด/อำเภอ(PHER) มีคําสั่งอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับจังหวัด/อำเภอ (DCCD) มีทีม SRRT ครอบคลุมในระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล (ผ่านเกณฑ์คุณภาพ จำนวน 11 อำเภอ ร้อยละ 100) มีความพร้อมของทีมตลอด 24 ชั่วโมงในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ มีการซ้อมรับโรคติดเชื้อ Ebola / ซ้อมการใส่ชุด PPE
116
“คลินิกวัณโรคคุณภาพ” ปี 2557
งานควบคุมวัณโรค อัตราป่วยวัณโรคทุกประเภทและวัณโรคเสมหะบวกรายใหม่ต่อประชากรแสนคน ขึ้นทะเบียนปี อัตราผลสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวกรายใหม่ที่ขึ้นทะเบียนรักษา ปี2556 ผลการประเมินมาตรฐาน “คลินิกวัณโรคคุณภาพ” ปี 2557 เป้าหมาย 4 แห่ง (รพ.กำแพงเพชร/ขาณุฯ/คลองขลุง/พรานกระต่าย) ยังไม่ผ่านเกณฑ์
117
โครงการป้องกันควบคุมโรค ระดับอำเภอ
งานควบคุมวัณโรค ตัวชี้วัด โรงพยาบาลคุณภาพด้านการดูแลรักษาวัณโรค : H-QTBC ปัญหา อุปสรรค 1. ผลสำเร็จของการรักษายังต่ำส่วนใหญ่ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อน/ขาดยา และการรักษาล้มเหลว 2. ขาดการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) และการติดตามเยี่ยมบ้าน 3. การจัดคลินิกวัณโรคแยกห่างจากคลินิกอื่นๆ ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4. การส่งตรวจและมีผล C/DST ยังต่ำกว่าเกณฑ์ 5. พบผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB)เพิ่มขึ้น มาตรการ การแก้ไขปัญหา 1. ค้นหาผู้มีอาการสงสัยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 2. เน้นหนักในการมีพี่เลี้ยงกำกับการกินยาต่อหน้า(DOT) 3. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยอย่างจริงจัง 4. เน้นการส่งตรวจและประสาน สคร.ในการรายงานผล C/DST 5. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนอย่างต่อเนื่อง แผนงาน/โครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรค ระดับอำเภอ จำนวน 14 โครงการ งบประมาณ 1,089,960 บาท
118
ยุทธศาสตร์ที่ 3 “ พัฒนาศักยภาพดูแลสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อสุขภาพ ”
119
สถานการณ์การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถานการณ์การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1. ขาดคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด 2. คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม(มี5/60แห่ง) คลินิกทั้งหมด 227 แห่ง ร้านขายยา 186 แห่ง 3. คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล 4. ปัญหาคุณภาพและมาตรฐานเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน 5. ปัญหาการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมาย 6.เรื่องร้องเรียนในจังหวัดกำแพงเพชร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 สถานการณ์การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในปัจจุบันสามารถสรุปประเด็นที่สำคัญ 6 ประเด็น ดังนี้ 1.กลไกและรูปแบบการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพในส่วนภูมิภาคยังขาดความเป็นเอกภาพเชิงนโยบาย และแนวทางการพัฒนาในระดับเขต ซึ่งจะส่งผลให้การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพในระดับจังหวัด 2.ปัญหาคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ซึ่งอาจกระทำการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด ได้แก่ (1) ไม่จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพตรงสาขาบริการหรือยินยอมให้ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (2) การใช้เครื่องมือและเวชภัณฑ์ตลอดจนทั้งวิธีการรักษาไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานของวิชาชีพนั้น (3) สถานที่ไม่ได้มาตรฐานตามที่กำหนด เช่น อาจมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ใช้สอยใหม่โดยไม่ได้แจ้งให้ผู้อนุญาตทราบ 3.ปัญหาคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล : (1) สถานบริการสุขภาพที่ไม่ได้รับอนุญาต (คลินิกเถื่อน) (2) ลักลอบกระทำความผิด หรือให้บุคคลที่ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพทำการรักษา(หมอเถื่อน) ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคเกิดอันตรายต่อชีวิต และทรัพย์สิน 4.ปัญหาคุณภาพและมาตรฐานเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน จากการตรวจสอบมาตรฐานของเกลือบริโภคที่มีจำหน่ายในท้องตลาดพบว่ามีหลายตัวอย่างที่มีปริมาณไอโอดีนต่ำหรือสูงกว่าค่ามาตรฐาน (20-40 ppm) ซึ่งพบว่าการคุมมาตรฐาน ณ แหล่งผลิตอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอเนื่องจากผู้จำหน่ายอาจจะรับจากแหล่งผลิตภายนอกจังหวัดก็ได้ 5.ปัญหาการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายมีผลดำเนินการระงับโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา และเครื่องมือแพทย์)ที่พบการฝ่าฝืนกฎหมายมากขึ้น ทั้งในส่วนกลาง คือโฆษณาสื่อโทรทัศน์ดาวเทียมและในในพื้นที่ คือวิทยุชุมชน และเคเบิ้ลทีวีท้องถิ่น 6.ปีงบประมาณ พ.ศ มีการรับเรื่องร้องเรียนในจังหวัดกำแพงเพชร ทั้งสิ้น 6 เรื่อง ดำเนินการเสร็จแล้ว 5 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ มีเรื่องร้องเรียนด้านอาหาร 2 เรื่อง เกี่ยวกับฉลากไม่มีเลขสารบบอาหาร และ จำหน่ายอาหารที่หมดอายุแล้ว เรื่องเกี่ยวกับคลินิก 3 เรื่องได้แก่ให้บุคคลที่ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพทำการรักษา 2 เรื่องและเปิดสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาต (คลินิกเถื่อน) 1 เรื่อง เครื่องสำอาง 1 เรื่องเกี่ยวกับใช้เครื่องสำอางแล้วแพ้(อยู่ระหว่างดำเนินการ)
120
โครงการและงบประมาณในการดำเนินงานในปี 2558
จังหวัดกำแพงเพชร มีโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ รวม 15 โครงการ เป็นเงิน 1,401,508 บาท โดย แบ่งเป็น โครงการที่ดำเนินงานโดยสสจ.กำแพงเพชร 5 โครงการ เป็นโครงการระดับอำเภอ 10 โครงการ ผลการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับจังหวัดและอำเภอ การดำเนินงานเกลือผสมไอโอดีน การตรวจสอบการโฆษณาผลิตภัณฑ์ สุขภาพ อาหารเสริม และสถานพยาบาลผิดกฎหมาย เฝ้าระวังคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ความปลอดภัยด้านยาในชุมชน ผลการดำเนินงาน 1. คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับจังหวัดและอำเภอ - จังหวัดกำแพงเพชรได้มีคำสั่งจังหวัดกำแพงเพชร ที่ 102 /2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพจังหวัดกำแพงเพชร ลงวันที่ 14 มกราคม 2558 - ส่วนคำสั่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับอำเภอ ได้ทำหนังสือแจ้งอำเภอไปแล้ว ตามหนังสือที่กพ / 1095 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 - สำหรับการประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดนั้น อยู่ระหว่างเตรียมการ - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้ทบทวนผลการดำเนินงาน ตรวจสอบ เฝ้าระวังสถานประกอบการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขปีงบประมาณ 2557 และจากเรื่องร้องเรียนด้านสุขภาพเพื่อค้นหาปัญหา สรุปว่าพบปัญหาที่สำคัญ 2 เรื่องคือ 1. ปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ ซึ่งเป็นปัญหาร่วมกันระดับภาค 2. ปัญหาพบฟอร์มาลินในอาหาร ซึ่งพบมากในอาหารทะเลได้แก่ปลาหมึกกรอบ และผ้าขี้ริ้ว ซึ่งจะได้ทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาต่อไป 2. การดำเนินงานเกลือผสมไอโอดีน 2.1 ตรวจสอบเกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิตด้วยเครื่อง I - Reader จังหวัดกำแพงเพชรมีสถานที่ผลิต 1 แห่ง ที่อำเภอคลองลานเป็นการรับซื้อเกลือจากบริษัทใหญ่เป็นกระสอบแล้วมาแบ่งบรรจุ อยู่ระหว่างดำเนินการ ข้อมูลเดิมผลการตรวจผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 34.2 2.2 ตรวจสอบเกลือบริโภค ณ แหล่งจำหน่าย (ดำเนินการโดยหน่วยงานระดับอำเภอ) ได้บรรจุอยู่ในตัวชี้วัดตามคำรับรองปฏิบัติราชการของผู้อำนวยการโรงพยาบาลและสาธารณสุขอำเภอว่าจะต้องมีการสุ่มตรวจเกลือโดยใช้ Test kit ตามแผนของอำเภอ และรายงานผลมายังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร อยู่ระหว่างดำเนินการ 3. การตรวจสอบการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมาย อยู่ระหว่างดำเนินการ 4. เฝ้าระวังคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล คลินิกเสริมความงามมี 5 แห่ง ได้รับการตรวจแล้วพบว่าผ่านมาตรฐานทุกแห่ง (ผลงานปี57 ตรวจผ่านมาตรฐานทุกแห่งเช่นกัน) 5. โครงการยาปลอดภัยในชุมชน ได้ทดลองทำ 1 แห่ง ที่อำเภอทรายทองวัฒนา ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการ
121
สถานการณ์การดำเนินงาน
ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมสุขภาพ สถานการณ์การดำเนินงาน 1. ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม(ฝุ่นละออง/น้ำเสีย/กลิ่นเหม็น/เขม่าจากการเผาอ้อย) ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง จังหวัดกำแพงเพชร มีโรงงานอุสาหกรรม จำนวน โรงงาน สถานประกอบการ จำนวน 1,569 แห่ง 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดท้องถิ่น ร้อยละ และการบังคับใช้กฎหมายไม่มีประสิทธิภาพ 3. ปัญหาร้องเรียนเหตุรำคาญ ส่วนใหญ่เกิดจากการประกอบกิจการประเภทการเกษตรและการเลี้ยงสัตว์
122
ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมสุขภาพ
Baseline data หน่วยวัด ปีงบประมาณ 2557 57 58 มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด จังหวัด 32 44 มาตรการการดำเนินงาน สรรหาและแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ ให้ครบถ้วนตามองค์ประกอบที่กำหนด จัดการประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เสนอคณะอนุกรรมการจังหวัด สนับสนุนการดำเนินงานประเด็นปัญหาที่หน่วยงานด้านสาธารณสุขเกี่ยวข้องโดยตรง สนับสนุนและส่งเสริม อปท. บังคับใช้กฎหมายสาธารณสุขและพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามมาตรฐาน กำกับ ติดตาม จัดทำรายงานการประชุมฯและสรุปการแก้ไขปัญหาตามมติคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ผลการดำเนินงาน 1. จัดทำโครงการเสนอพิจารณาลงนามอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัดฯ 2. ดำเนินการคัดเลือกคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(ผู้แทนนายกเทศมนตรี และผู้แทนนายกองค์การบริหารส่วนตำบล) ให้ประธานลงนามเห็นชอบ 3. สรรหาบุคคลที่มีความรู้ความสามารถด้านการสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งทำคำสั่งแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะอนุกรรมการสาธารณสุขตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ จัดประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร ครั้งที่ 1 (28 มกราคม 2558)
123
การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Accreditation)
ปีงบประมาณ เทศบาลสมัครเข้าร่วมโครงการ ผ่านการประเมิน EHA ไม่ผ่านการประเมิน EHA รอรับการประเมิน 2557 6 แห่ง 3 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง เทศบาล ผ่านการประเมินระบบบริการ EHA เทศบาลเมืองกำแพงเพชร EHA : 4000 การจัดการมูลฝอยทั่วไป เทศบาลเมืองปางมะค่า EHA : 5000 การจัดการภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ เทศบาลตำบลสลกบาตร EHA : ปัญหา 1) ระบบการเก็บข้อมูลของเทศบาลยังไม่เป็นระบบ ) ระบบการทำงาน สั่งการไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ) ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม
124
การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Accreditation)
มาตรการการดำเนินงาน 1. เทศบาล ทุกระดับ ผ่านการประเมินรับรองคุณระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ (EHA) อย่างน้อย 1 ด้าน (การจัดสุขาภิบาลอาหาร,การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค , การจัดการสิ่งปฏิกูลและการจัดการมูลฝอย) 2. การออกเทศบัญญัติเพื่อใช้ดำเนินการด้านกฎหมายในการ แก้ไขปัญหาตามบริบทของพื้นที่ ผลการดำเนินงาน (3 เดือน) 1. จัดทำโครงการเสนอพิจารณา ลงนามอนุมัติโดยใช้งบ สป. เขตสุขภาพที่ 3 40,000 บาท 2. ประชุมทีมประเมินระดับจังหวัด หลักสูตร Instructor 3. จัดประชุมเกณฑ์การประเมิน มาตรฐาน EHA แก่บุคลากร ของอปท. ทุกแห่ง และ จนท.สธ. 4. ประสานแจ้งเทศบาลทุกแห่งให้ สมัครเข้าร่วมโครงการ 5. จัดทำแผนการนิเทศติดตาม และประเมินมาตรฐานคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในระดับเทศบาล
125
สถานการณ์การจัดมูลฝอยติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข ปี 2558
จำนวนทั้งหมด (แห่ง) การจัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกต้อง (แห่ง) การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ จำนวน ร้อยละ ส่งบริษัทเอกชนกำจัด ใช้เตาเผาของ รพ. รพท. 1 100 - รพช. 11 10 90.91 3 27.27 8 72.72 รพ.สต. 124 39 31.45 รพ.เอกชน 2 สถานพยาบาล 128 อยู่ระหว่างดำเนินการสำรวจข้อมูล คลินิกแพทย์ 64 คลินิกทันตแพทย์ 17 คลินิกสัตวแพทย์ 6 ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์เอกชน 5
126
สถานการณ์การจัดมูลฝอยติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข ปี 2558
มาตรการการดำเนินงาน 1. ดำเนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ.2545 2. จัดระบบการควบคุมกำกับ การเก็บ ขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ โดยมี ระบบเอกสารกำกับการขนส่ง (Infectious Waste Manifest System) แหล่งงบประมาณ 1. โครงการอบรมบุคลากรในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโรงพยาบาลกำแพงเพชร จำนวนเงิน 20,000 บาท 2. โครงการก่อสร้างเตาเผาขยะมูลฝอยติดเชื้อขนาด 100 กิโลกรัม/ชั่วโมง จำนวน 2,000,000 บาท (รพ.ลานกระบือ)
127
ยุทธศาสตร์ที่ 2 “ พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน ”
128
Service Plan 5 ปี ประชากรรวม 728,631 คน 5 สาขาหลัก ประชากร 113,594 คน
รพ.โกสัมพีนคร รพ.พรานกระต่าย รพ.กำแพงเพชร รพ.คลองลาน รพ.ปางศิลาทอง รพ.ขาณุวรลักษบุรี รพ.บึงสามัคคี รพ.ทรายทองวัฒนา รพ.ไทรงาม รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล รพ.ลานกระบือ F2 (60เตียง) S (566เตียง) Ext OPD F3 (10เตียง) F2 (30เตียง) M1 (90เตียง) M2 (90เตียง) รพ.คลองขลุง 5 สาขาหลัก (อายุรกรรม สูติกรรม ไต) ประชากร 132,876 คน (ไต ตา สูติกรรม ) ประชากร 96,043 คน 5 สาขาหลัก ประชากร 113,594 คน 5 สาขาหลัก ประชากร 93,902 คน Sp 10สาขา มะเร็ง อุบัติเหตุ ตา(เรติน่า) หัวใจ ประชากร 292,474 กร คน
129
แพทย์เฉพาะทาง จักษุแพทย์ 3+1 (retina1,glaucoma1) ศัลยแพทย์ 7(onco2)
รพ.โกสัมพีนคร รพ.พรานกระต่าย รพ.กำแพงเพชร รพ.คลองลาน รพ.ปางศิลาทอง รพ.ขาณุวรลักษบุรี รพ.บึงสามัคคี รพ.ทรายทองวัฒนา รพ.ไทรงาม รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล รพ.ลานกระบือ F2 (60เตียง) S (566เตียง) Ext OPD F3 (10เตียง) F2 (30เตียง) M1 (90เตียง) M2 (90เตียง) รพ.คลองขลุง จักษุแพทย์ 3+1 (retina1,glaucoma1) ศัลยแพทย์ 7(onco2) อายุรแพทย์ 6+4(cardio1) ศัลยแพทย์ประสาท +2, ศัลยกรรมพลาสติก 1 อายุรกรรม 1 สูติกรรม 1 วิสัญญี 1 ศัลยกรรม กุมารแพทย์ ศัลยแพทย์กระดูก
130
ผ่านบันไดขั้น 2 = 4 แห่ง เตรียมการขอรับรองในปี 2558
โรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพ 7 แห่ง รพ.กำแพงเพชร รพ.ขาณุวรลักษบุรี รพ.คลองขลุง รพ.พรานกระต่าย รพ.คลองลาน รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล รพ.ทรายทองวัฒนา ผ่านบันไดขั้น 2 = 4 แห่ง เตรียมการขอรับรองในปี 2558
131
ผู้ป่วยนอกได้รับบริการทางการแพทย์แผนไทย-ทางเลือก
มีการใช้ยาสมุนไพร 20 รายการ 4 โรงพยาบาล - รพ.คลองขลุง - รพ.ปางศิลาทอง - รพ.บึงสามัคคี - รพ.ทรายทองวัฒนา Base Line เป้าหมาย 2555 2556 2557 2558 2.1 4.3 7.5 16 ร้อยละบริการแพทย์แผนไทยไม่น้อยกว่า ร้อยละ16 จังหวัดกำแพงเพชรดำเนินการได้ร้อยละ 7.45 โดยเครือข่ายกำแพงเพชรมีผลงานบริการมากที่สุด และเครือข่ายขาณุฯ น้อยที่สุด ทั้งนี้การบริการมีแนวโน้มเพิ่ม แต่ยังไม่เป็นไปตามตัวชี้วัดที่กระทรวงกำหนด ปัญหาส่วนหนึ่งเนื่องจากการขาดบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย ส่งผลให้การขยายบริการด้านการแพทย์แผนไทยในระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยังไม่ครอบคลุมและอัตราการเพิ่มการบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นไปอย่างล่าช้า
132
โรงพยาบาลระดับ S มีอัตราครองเตียงไม่เกินร้อยละ 85
ลดความแออัด โรงพยาบาลระดับ S มีอัตราครองเตียงไม่เกินร้อยละ 85 รพ.ชุมชนประสิทธิภาพลด แออัดที่รพ.กำแพงเพชร
133
การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ 50
จังหวัดกำแพงเพชร (ตค-ธค 57) นอกเขตที่รับส่งต่อปีงบประมาณ 2557 การส่งต่อ ไตรมาสแรก จำนวนส่งต่อ +/- จากปีก่อน ร้อยละ ปี 2557 3,200 ปี 2558 3,913 +22.28 ที่มา:MIS ณ วันที่ 5 กพ 58
134
ส่งต่อนอกเครือข่ายบริการที่ 3 ปี 2557
ส่งต่อนอกเครือข่ายบริการที่ 3 ปี 2557 Top tens Pdx ผู้ป่วยใน Top tens Pdx ผู้ป่วยนอก
135
ข้อมูลบริการในจังหวัดกำแพงเพชร
โรงพยาบาล ระดับ จำนวนเตียง Active bed จำนวนแพทย์ Adj.RW แพทย์ทั่วไป เฉพาะทาง 2556 2557 รพ.กำแพงเพชร S 410 429 2 58 51,837.65 48,535.24 รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล F3 10 7 475.25 495.72 รพ.ไทรงาม F2 30 26 4 1 2,127.79 2,116.06 รพ.คลองลาน 60 50 3 6,308.65 5,090.19 รพ.ขาณุวรลักษบุรี M2 90 59 4,897.86 รพ.คลองขลุง F1 5 4,758.77 5,469.36 รพ.พรานกระต่าย 52 5,371.72 รพ.ลานกระบือ 22 1,366.82 4,657.20 รพ.ทรายทองวัฒนา 2,685.92 1,046.46 รพ.ปางศิลาทอง 18 1,213.37 4,079.58 รพ.บึงสามัคคี 21 1,944.93 1,444.22 รวม 900 768 28 72 82,988.73 77,667.47 ActiveBed underused AdjRW ลดลง
136
ค่า CMI รายโรงพยาบาล ปี 2556-2558(ตค-ธค57)
1.2 0.8 0.6 เปรียบเทียบค่าCMI กับเกณฑ์ผลงานเดือน ตค56-พค57 รพ ระดับ Sมีค่าCMI ผ่านเกณฑ์ รพ ระดับMคือรพขาณุ ยังไม่ผ่านเกณฑ์ แต่ในระดับ F1-F3 ในภาพรวมผ่านเกณฑ์ หากเปรียบเทียบรายโรงพยาบาลยังไม่ผ่านเกณฑ์ 5 แห่ง ทุกแห่งมีแผนในการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพของหน่วยบริการ การพัฒนา ตามservice plan การพัฒนาคุณภาพเวชระเบียนCoding Audit
137
ประสิทธิภาพการใช้เตียง/ครองเตียง ณ กันยายน 2557
ประสิทธิภาพการใช้เตียง/ครองเตียง ณ กันยายน 2557 อัตราการใช้เตียง 80% 3.4 วัน อัตราการครองเตียง
138
ผู้ป่วยในรักษารายโรงพยาบาล จำแนกค่า AdjRW 2557 (โดยช่วงข้อมูล<0
ผู้ป่วยในรักษารายโรงพยาบาล จำแนกค่า AdjRW (โดยช่วงข้อมูล<0.5 ไม่รวมรหัส O800 Z370 และZ380 )
139
ผู้ป่วยในส่งต่อรักษารายโรงพยาบาล จำแนกตามค่าAdj RW ปี2557
140
การส่งต่อผู้ป่วยนอกเครือข่ายบริการที่ 3 การดำเนินงานพัฒนาระบบส่งต่อ
1. คณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยจังหวัด 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในเครือข่าย มีแพทย์เชี่ยวชาญในบางสาขามีการออกเชิงรุก ไปในโรงพยาบาลชุมชน 3. พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่งเชื่อมโยงกับระบบservice plan คลอด, ไส้ติ่งอักเสบ,STEMI,Fast tract trauma,UGI heamorraghe และ Anemia 5. พัฒนาการใช้โปรแกรม Thai Refer
141
ร้อยละ ของ รพ.สต./ศสม. ที่จัดให้บริการสุขภาพช่องปากคุณภาพ ปี 2557
Baseline 2554 2555 2556 26.61 27.76 36.36 เป้าหมาย 2557 ร้อยละ 45 ของ ศสม.และรพ.สต.(132แห่ง) (เป้าหมายปี2558 ร้อยละ 50) สาเหตุของปัญหา ได้แก่ 1.จำนวนทันตาภิบาลยังมีไม่ครอบคลุมในรพ.สต.เป้าหมาย 2.ครุภัณฑ์และเครื่องมือทางทันตกรรมไม่เพียงพอ 3.การลงบันทึกข้อมูลที่ไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน 4.การให้บริการยังไม่ครบทั้ง 5 กลุ่มวัย มาตรการดำเนินงาน ได้แก่ 1. ได้รับทันตบุคลากรจากโครงการเร่งผลิตฯและผู้ช่วยเพิ่มขึ้น 2. จัดทำแผนความต้องการและลำดับความสำคัญการจัดสรร ครุภัณฑ์ทันตกรรม 3. การหมุนเวียนให้บริการในรพ.สต.ที่ไม่มีทันตบุคลากร ประจำเพิ่มขึ้น 4. พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร จังหวัดกำแพงเพชรจัดทำแผนให้บริการสุขภาพช่องปากคุณภาพ ใน รพ.สต./ศสม. จำนวน 71แห่ง แต่ที่ผ่านเกณฑ์รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ครบตามเกณฑ์ คือ มีทันตบุคลากรประจำและหมุนเวียนอย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์ ให้บริการประชาชนครบ 5 กลุ่มวัย ได้แก่ 1) หญิงตั้งครรภ์ในคลินิก ANC 2) เด็กปฐมวัยในคลินิกเด็กดี 3) เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4) เด็กวัยเรียน และ 5) กลุ่มผู้สูงอายุ และ ให้บริการทันตกรรม ส่งเสริมและรักษา ไม่น้อยกว่า200 ครั้งต่อพันประชากรต่อปี จำนวนทั้งสิ้น 52 แห่ง คิดเป็นร้อยละ เนื่องจากทันตาภิบาลที่จบการศึกษาใหม่ยังอยู่ในช่วงระหว่างการฝึกปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและหมุนเวียนไปปฏิบัติงานที่ รพ.สต. และมีรพ.สต.บางแห่งที่ยังขาดครุภัณฑ์และเครื่องมือทางทันตกรรมไม่พร้อมให้บริการ อีกทั้งการหมุนเวียนไปให้บริการในรพ.สต.ที่ไม่มีทันตบุคลากรยังให้บริการ ทันตกรรมไม่ครอบคลุมทั้ง 5กลุ่มวัย จึงต้องจัดทำแผนงาน/โครงการจัดบริการทันตกรรมให้ครอบคลุมทั้ง 5 กลุ่มวัย และพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นต่อไป
142
สัดส่วนผู้ป่วยนอก DM/HT ที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต.
เป้าหมาย > ร้อยละ 50 = % = %
143
การเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
เป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับ 50 ของความชุก การเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผู้สูงอายุ แยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ 2557 การเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 15 ปีขึ้นไป แยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ
144
การเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของความชุก ตารางเปรียบเทียบการเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคจิตแยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ
145
ด้านระบบบริการ ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 72.72
เป้าหมาย ร้อยละ 80 ทีม MCATT คุณภาพผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 72.72 เป้าหมาย ร้อยละ 80
146
ด้านระบบบริการ มาตรการดำเนินการ 1. ด้านการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล
มาตรการหลัก : พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของสถานบริการด้านบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 2. ด้านการพัฒนาคุณภาพบริการในกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ มาตรการหลัก: การพัฒนาระบบส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูด้านสุขภาพจิตและจิตเวช การพัฒนาความรู้และศักยภาพบุคลากรที่ให้บริการด้านจิตเวช การพัฒนาภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน 3. ด้านการบำบัดรักษา และฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวช มาตรการหลัก:การเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคทางสุขภาพจิตและจิตเวช การฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวช โครงการ งบ สป. งบUC กองทุนอื่น รวม (บาท) จังหวัด 2 153,840 - CUPเครือข่าย 69 310,950 868,556 186,100 1,365,675 รวม 71 464,790 1,519,515
147
ด้านระบบบริการ ปัญหา REFERมาก เข้า กทม. รร. แพทย์ เตียงว่างรพช. OPD
รอนาน ผู้ป่วยมาก รพช.เข้ารพท (C/S APPENDECTOMY) REFERมาก เตียงเต็ม รพท. IPD ความแออัด สภาพปัญหา รพ. S M2 มีค่า RW< 0.5 เกินเกณฑ์มาตรฐาน S % M2 43%) อัตราครองเตียง รพท. (106.30)> รพช. สัดส่วนผู้ป่วยนอกที่ ศสม.ไม่ได้ตามเกณฑ์ 28/07/62 สบรส.
148
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
1. การพัฒนา ศสม. เขตเมืองและ รพ.สต. ขนาดใหญ่ 2. พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพทุกระดับ Stroke Fast tract , STEMI fast tract,Trauma fast tract, modi-CKD Clinic, คลินิกจิตเวช 3. เพิ่มศักยภาพ รพช ใน 5 สาขาหลักที่node โดยเฉพาะการผ่าตัดโรคไส้ติ่งอักเสบและผ่าตัดคลอด 4 การพัฒนาการ Refer back 5. การพัฒนาเครือข่ายโดยใช้ ระบบ พบส. 6. การพัฒนาเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญและ ระบบ consult 7. Community / Home Ward อบรม Caregiver Long tearm care 8. ควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดและหัวใจ/เอดส์ และมะเร็ง (โดยเชื่อมบุคคล + ครอบครัว + ชุมชน + สังคม) ภายใต้โครงการสังคมสุขภาพดีวิถีธรรม วิถีไทย ขับเคลื่อนโดยDHS หัวใจและ หลอดเลือด มะเร็ง NCD ตา ไต อุบัติเหตุ จิตเวช ทารกแรกเกิด ทันตกรรม 5 สาขา ปฐมภูมิ+ทุติย ภูมิ +ตติยภูมิ+องค์ รวม กลุ่ม ดี เสี่ยง ป่วย กลุ่มวัย
149
ระบบปฐมภูมิ สถานการณ์การพัฒนา DHS Service Plan Quality ปฐมภูมิ DHS
คปสอ. ทุกอำเภอผ่าน ขั้น 3 -> สู่ ขั้น 4 PMQA PCA HA พบส. จัดให้มีการดูแลสุขภาพร่วมกันและมีระบบ FCT 1.Long term care, 2.เบาหวาน/ความดัน 3.พิการ 4.สูงอายุ 5. Palliative care 6.แพทย์แผนไทย 7. เยี่ยมบ้านองค์รวม 8.COPD 9.หลอดเลือดหัวใจและสมอง Service Plan Quality 1. ลดความแออัด 2. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 3. พัฒนาระบบรับ-ส่งต่อ ผู้ป่วย /ข้อมูล 4. จัดบริการร่วม และบูรณาการแผนงาน/โครงการ 5 Node ทุติยภูมิ รพ.แม่ข่าย พัฒนา DHS โดยการบูรณาการแผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องทั้ง 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ลงสู่อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ครอบคลุมทุกอำเภอ ประเมินผ่านเกณฑ์ UCARE ขั้นที่ 3 และใช้เกณฑ์คุณภาพทั้ง HA PCA PMQA และพบส. ช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปฐมภูมิ 25:46 132 PCA ขั้น 2 = 9 แห่ง, ขั้น 1 = 2 แห่ง
150
การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง
ระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง ดู service plan อย่างน้อย 4 สาขา (หัวใจ ทารกแรกเกิด มะเร็งและอุบัติเหตุ) มีการดำเนินการที่เชื่อมโยงถึงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น แสดงให้เห็นถึงระบบการส่งต่อ การลดการส่งต่อ มีระบบการพัฒนาระบบบริการ 4 สาขา เป็นรูปธรรม นำเสนอโดย รพ.กำแพงเพชร
151
ยุทธศาสตร์ที่ 4 “ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การบริการ ”
152
ประเมินภาวะวิกฤตทางการเงิน 7 ระดับของโรงพยาบาล ณ เดือนกันยายน 2557
หน่วยบริการ Serv อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Ratio (เท่า) อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว Quick Ratio (เท่า) อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินหมุนเวียน Cash Ratio (เท่า) ทุนสำรองสุทธิ(NWC) กำไรสุทธิรวมค่าเสื่อมราคา (NI) NWC/ ANI Liquid Index StatusIndex SurviveIndex Risk Scoring Bed > 1.5 ≥ 1.0 ≥ 0.8 (ล้านบาท) กำแพงเพชร 410 2.13 1.85 1.36 141,260,891.42 (7,956,022.39) 1 ขาณุวรลักษบุรี 60 5.71 5.33 4.87 88,403,827.61 (10,722,109.96) คลองขลุง 4.78 4.39 4.20 74,359,147.17 5,070,865.53 175.97 พรานกระต่าย 2.35 2.02 1.87 26,093,155.00 (4,166,469.20) คลองลาน 4.46 4.14 3.93 51,020,667.57 (2,269,922.90) ไทรงาม 30 1.25 0.74 0.63 4,255,364.99 (14,504,911.01) - 3.52 3 5 ลานกระบือ 1.81 1.51 1.39 14,120,701.01 (4,782,293.33) ปางศิลาทอง 1.74 1.40 1.29 9,156,189.06 (3,367,151.11) บึงสามัคคี 2.18 1.72 1.62 8,893,621.05 (7,143,402.85) ทรายทอง 3.78 3.35 3.19 28,088,301.12 4,990,069.92 67.55 ทุ่งโพธิ์ทะเล 10 5.53 5.34 5.18 32,042,590.26 7,500,126.96 51.27 โกสัมพีนคร - 152 152
153
ประเมินภาวะวิกฤตทางการเงิน 7 ระดับของโรงพยาบาลปีงบประมาณ2554-2558
ชื่อ รพ. Risk Scoring 2554 2555 2556 2557 2558 รพท.กำแพงเพชร 1 รพช.ขาณุวรลักษบุรี รพช..คลองขลุง รพช.พรานกระต่าย รพช.คลองลาน รพช.ไทรงาม 6 7 รพช.ลานกระบือ รพช.ปางศิลาทอง 2 รพช.บึงสามัคคี รพช.ทรายทอง รพช.ทุ่งโพธิ์ทะเล 153 153
154
ประเมินภาวะวิกฤตทางการเงิน 7 ระดับของโรงพยาบาล ณ เดือนธันวาคม 2557
หน่วยบริการ Serv อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Ratio (เท่า) อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว Quick Ratio (เท่า) อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินหมุนเวียน Cash Ratio (เท่า) ทุนสำรองสุทธิ(NWC) กำไรสุทธิรวมค่าเสื่อมราคา (NI) NWC/ ANI Liquid Index StatusIndex SurviveIndex Risk Scoring Bed > 1.5 ≥ 1.0 ≥ 0.8 (ล้านบาท) กำแพงเพชร 410 2.85 2.34 1.44 151,112,382.78 19,204,883.75 23.61 ขาณุวรลักษบุรี 90 3.29 3.07 2.84 83,240,501.73 (2,019,672.02) 1 คลองขลุง 3.46 3.12 2.98 73,574,846.96 2,973,783.72 74.22 พรานกระต่าย 60 2.96 2.59 2.25 32,685,291.90 9,412,330.37 10.42 คลองลาน 5.02 4.57 4.29 59,863,816.52 7,335,879.40 24.48 ไทรงาม 30 0.83 0.50 0.41 (2,626,659.39) (3,982,512.87) 1.98 3 2 7 ลานกระบือ 2.45 2.10 1.88 20,001,366.44 7,099,249.96 8.45 ปางศิลาทอง 2.08 1.69 1.35 9,934,483.70 2,761,849.34 10.79 บึงสามัคคี 1.87 1.40 1.26 7,208,837.46 (238,817.38) ทรายทอง 3.42 3.02 2.81 26,434,816.27 2,148,362.92 36.91 ทุ่งโพธิ์ทะเล 10 4.81 4.59 4.45 32,271,071.43 176,065.85 549.87 154 154
155
แผนรายรับ : มีรายได้ลดลง
รายได้ - การบันทึกบัญชี เป็นไปตามนโยบายบัญชี ของ กระทรวงสาธารณสุข - การรับรู้ลูกหนี้ และรายได้ตามสิทธิต่างๆ เป็น ปัจจุบันตามนโยบายบัญชี - เงินกองทุน ต่างๆ เช่น เงินกองทุน PP, เงินตามงบ คุณภาพผลงาน (QOF) ยังไม่มีการบริหารจัดการ ใน งบส่วนนี้ ทำให้เป็นยอดหนี้สินค้างอยู่
156
แผนรายจ่าย : มีรายจ่ายเพิ่มขึ้น
การจ่าย ค่าตอบแทนฉบับ 8 ของเดือนตุลาคม 56 พฤษภาคม 57 = บาท ฉบับ 9 = 446, บาท ค่าตอบแทน เพิ่มจากปี 2556 = 1,975,289 บาท ยา เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556 พบว่า สต็อคยาเพิ่ม 606, บาท สต็อคเวชภัณฑ์มิใช่ยา 652, บาท สต็อควัสดุวิทยาศาสตร์ 823,285 บาท ต้นทุนยา(ยาใช้ไป) 3,083, บาท, ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์(labใช้ไป)เพิ่ม 1,861, บาท, และวัสดุใช้ไป 928, บาท รวม 9,930, บาท
157
สภาพปัญหาที่พบ ต้นทุนค่ายาปีงบประมาณ 2557 ค่อนข้างสูง เนื่องจาก
ต้นทุนค่ายาปีงบประมาณ ค่อนข้างสูง เนื่องจาก - มีการกระจายยาโรคเรื้อรังลงไป รพ.สต. ทำให้มีการจัดซื้อยาเพิ่มขึ้นมาก ปี 2556 รพ.สต.เบิกยา 899, บาท ปี 2557 รพ.สต.เบิกยา 1,996, บาท (เพิ่มร้อยละ ) - มีการสั่งซื้อยาบางรายการจำนวนมากเกินความจำเป็น เช่น ยา Metformin 850 mg มีในคลังยา (ณ 30 กย. 57) จำนวน 1,083 กล่อง หรือคิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 324,900 บาท แต่อัตราการใช้โดยเฉลี่ยในปี ๒๕๕๗ อยู่ที่ 73.4 กล่อง/เดือน นั่นคือ ยาในคลังสามารถใช้ได้อีก เดือน ห้อง LAB เมื่อได้รับวัสดุจากการสั่งซื้อแล้ว ไม่สามารถนำใบส่งของมาทำเป็นเอกสารจัดซื้อได้ทันทีการส่งเบิกจ่ายค่าวัสดุวิทย์ค่อนข้างช้าไม่เป็นปัจจุบัน ผลงานทางคลินิก ในการตรวจ ผู้ป่วย DM และ คัดกรองโรคไต เพิ่มจากปี 2556 จำนวนมาก เช่น คัดกรองโรคไต จาก 166 ครั้ง เพิ่มเป็น 3,071 ครั้ง
158
Seven Building Blocks 1. Service Delivery 2. Workforce 3. IT
ระดับหน่วยบริการ จังหวัด โรงพยาบาล 1. Service Delivery จัดทำPlanfinระดับจังหวัด จัดทำPlanfinระดับโรงพยาบาลและใช้ HGR ร่วมด้วย Monitoring Planfinระดับจังหวัดทุกเดือน Monitoring Planfinทุกเดือน จัดทำ Financial Report ระดับจังหวัดทุกเดือน จัดทำ Financial Report ระดับรพ.ทุกเดือนส่งข้อมูลงบทดลอง และข้อมูลบริการภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป โดยเน้นความถูกต้อง และทันเวลา วิเคราะห์ Risk7 ทุกเดือน Forcastทุกเดือน ลงพื้นที่ Risk 5-7 การประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินคลัง FAI ระดับจังหวัดทุกไตรมาส รายงานการเงินและตัวชี้วัดให้ผู้บริหารระดับโรงพยาบาลและ ระดับจังหวัด ทราบทุกเดือน โครงการตรวจสอบคุณภาพบัญชีกลุ่มรพ.ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพบัญชี ประเมิน FAI ทั้ง 4 กิจกรรม ทุกไตรมาส 2. Workforce พัฒนา CFO ระดับจังหวัด/รพ. เรื่อง การพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง(FAI) พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบันทึกบัญชี 3. IT พัฒนาระบบ it ในการจัดเก็บข้อมูลบริการ รายงานทางเงินและบัญชี พัฒนาระบบ it ในการรายงานทางเงินและบัญชี
159
Seven Building Blocks ระดับหน่วยบริการ จังหวัด โรงพยาบาล
4.Drug & Equipment การตรวจคุณภาพบัญชีและการควบคุมภายใน ของรพ. Benchmarking Data ทุกไตรมาส 5.Financing งบจากสป. โครงการ รพ.สนับสนุนเงินบำรุง 6.Governance การติดตามกำกับ และประเมินผลระดับระดับจังหวัด(กวป.)ทุกเดือน การติดตามกำกับ และประเมินผลระดับระดับอำเภอ(กกบ.)ทุกเดือน 7.Participation ประชุมคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัดทุกเดือน ประชุมคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับอำเภอทุกเดือน
160
การบริหารงบประมาณโรงพยาบาล
ประเภท แผนควบคุม รายได้/ ค่าใช้จ่ายจริง ร้อยละ รายได้ (ล้านบาท) 1,925 476.79 24.76 ค่าใช้จ่าย(ล้านบาท) 1,931 432,97 22.42 ประเมินผลการตรวจสอบคุณภาพบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ คะแนนภาพรวมแม่ข่าย คะแนนภาพรวมลูกข่าย 100 %
161
แผนรายรับ – ค่าใช้จ่าย (Planfin) ปี 2558
รายรับ – รายจ่ายจริง ณ 31 ธันวาคม 2557
162
ต้นทุนผันแปรรพ.ไทรงาม ไตรมาสที่ 1 ปี /2558
163
ต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ
(ไม่เกินร้อยละ 20) ณ 30 กันยายน 2557 ชื่อรพ. ต้นทุนผู้ป่วยนอก ต้นทุนผู้ป่วยใน UnitCostOPD Avg Unit Cost OPD UnitCostIPD Avg Unit Cost IPD กำแพงเพชร,รพท. 843.88 825.30 11,831.15 13,438.22 ขาณุวรลักษบุรี,รพช. 600.64 617.87 12,889.80 12,095.62 คลองขลุง,รพช. 502.46 10,782.89 พรานกระต่าย,รพช. 649.49 13,938.15 คลองลาน,รพช. 669.09 14,358.68 ไทรงาม,รพช. 683.46 643.59 14,667.14 13,932.79 ลานกระบือ,รพช. 494.44 10,610.75 ปางศิลาทอง,รพช. 640.49 647.06 13,744.87 14,295.34 บึงสามัคคี,รพช. 632.52 13,573.92 ทรายทองวัฒนา,รพช. 438.67 9,413.93 ทุ่งโพธิ์ทะเล,รพช. 668.53 14,346.74 โกสัมพีนคร,รพช. ไม่มีตัวเลขบริการ ไม่มี IPD 163
164
เปรียบเทียบต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน แบบ Quick method
กับค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ณ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อรพ. ต้นทุนผู้ป่วยนอก ต้นทุนผู้ป่วยใน UnitCostOPD Avg Unit Cost OPD UnitCostIPD Avg Unit Cost IPD กำแพงเพชร,รพท. 1,064.33 1,038.36 6,357.41 14,156.29 ขาณุวรลักษบุรี,รพช. 768.09 757.24 27,723.10 13,554.17 คลองขลุง,รพช. 760.13 823.80 8,425.67 11,474.09 พรานกระต่าย,รพช. 705.17 768.57 15,529.34 14,624.96 คลองลาน,รพช. 559.54 771.78 103,345.89 14,221.38 ไทรงาม,รพช. 569.13 855.72 15,315.62 17,305.65 ลานกระบือ,รพช. 513.63 7,431.11 ปางศิลาทอง,รพช. 756.33 834.32 7,698.56 15,345.32 บึงสามัคคี,รพช. ทรายทองวัฒนา,รพช. 317.85 14,843.74 ทุ่งโพธิ์ทะเล,รพช. 640.73 1,002.13 11,975.76 19,198.34 โกสัมพีนคร,รพช. ไม่มีตัวเลขบริการ 937.30 ไม่มี IPD 164
165
ต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน แบบ Quick Method
มาตรการ และการดำเนินงาน ให้หน่วยบริการมีผู้รับผิดชอบการตรวจสอบข้อมูลบริการ Service Data สำหรับทำ Unit cost แบบ Quick Method รายงานต้นทุน Unit Cost แบบ Quick method ให้ผู้บริหารได้รับทราบทุกเดือน มีต้นทุน OPD , IPD ไม่สูงกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส นำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการพัฒนาระบบบริการและส่งข้อมูลบริการ Service data ครบถ้วน ทันเวลา ทุกเดือน โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง 28,200 บาท จัดทำต้นทุนและมีการวิเคราะห์ต้นทุนบริการของหน่วยบริการทุกแห่ง 38,800 บาท
166
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์
รายการติดตาม กำแพงเพชร โกสัมพีนคร ขาณุวรลักษบุรี คลองขลุง คลองลาน ไทรงาม ทรายทองวัฒนา ทุ่งโพธิ์ทะเล บึงสามัคคี ปางศิลาทอง พรานกระต่าย ลานกระบือ คำสั่งแต่งตั้ง คกก. บริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ / กรอบและบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา กรอบบัญชีรายการยาร่วมของจังหวัด บัญชียาร่วมของ รพ.สต. จัดทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่ระดับที่สูงกว่านี้อยู่ระหว่างดำเนินการ แผนจัดซื้อที่ได้รับการอนุมัติแผน อนุมัติปรับแผนกรณีไม่เป็นไปตามแผน - มีการจัดซื้อร่วม จำนวนรายการยาที่จัดซื้อร่วมจังหวัด 22 รายการ จำนวนรายการยาที่จัดซื้อร่วมเขต 54 รายการ จำนวนรายการเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่จัดซื้อร่วม 16 รายการ มีแผนการสำรองรายการยาร่วม อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวนรายการยาที่มีแผนสำรองร่วม จังหวัดกำแพงเพชรมีการดำเนินการตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ.2557 แต่ทั้งนี้ มีบางข้อที่ยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จ ได้แก่ การจัดทำกรอบบัญชียาที่ลดหลั่นกันในแต่ละระดับ ทั้งนี้ ในเบื้องต้นสามารถทำได้เพียงกรอบรายการยา รพ.สต. เท่านั้น แต่ในระดับที่สูงกว่านี้ยังอยู่ในขั้นตอนการดำเนินการ แผนและรายการยาสำรองร่วมกัน ยังอยู่ในขั้นตอนการดำเนินการของคณะกรรมการฯ
167
การควบคุมต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
ปี งบประมาณ มูลค่าการซื้อยาของโรงพยาบาลทั่วไป มูลค่าการซื้อยาของโรงพยาบาลชุมชน มูลค่าซื้อทั้งหมด มูลค่าซื้อร่วม ร้อยละ 2557 147,618,611 34,858,112 23.61 154,392,478 13,717,164 8.88 2558 38,514,369 9,920,696 25.76 38,255,372 9,854,503 ปี งบประมาณ มูลค่าการซื้อวัสดุการแพทย์ของ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน มูลค่าซื้อทั้งหมด มูลค่าซื้อร่วม ร้อยละ 2557 80,284,323 482,844 0.60 23,521,982 1,560,402 6.63 2558 24,828,827 3,867,529 15.58 6,684,298 1,694,503 25.35 จังหวัดกำแพงเพชร มีการจัดซื้อร่วมจำนวน 2 กลุ่ม คือ ยา และ วัสดุการแพทย์ ในการจัดซื้อยาร่วม ปี 57 มีร้อยละการจัดซื้อค่อนข้างน้อย เนื่องจากมีการดำเนินการจัดซื้อร่วมช้า (เริ่มจัดซื้อประมาณเดือนกรกฎาคม) แต่ในปี 58 พบว่า ร้อยละการจัดซื้อเฉลี่ยของทั้ง รพท. และ รพช. อยู่ที่ร้อยละ 25.76
168
เปรียบเทียบมูลค่าการจัดซื้อไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2557 - 2558
การควบคุมต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา เปรียบเทียบมูลค่าการจัดซื้อไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ ที่ รายการ ร้อยละการจัดซื้อ เพิ่ม/ลด รพท. รพช. รวมจังหวัด 1 ยา -7.07 3.04 -2.29 2 เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ 13.92 4.43 11.77 วัสดุวิทยาศาสตร์ 29.45 -11.98 8.52 วัสดุทันตกรรม 1.92 -14.52 -8.14 วัสดุเอกซเรย์ -12.04 -6.31 -9.70 รวมเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 19.98 -8.17 8.87 รวมทุกรายการ 6.60 -1.74 2.96 ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2558 การจัดซื้อเวชภัณฑ์ในภาพรวมของจังหวัด เมื่อเที่ยบกับไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2557 มีมูลค่าเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 2.96
169
แผนงานควบคุมปริมาณการใช้เวชภัณฑ์
รพท. รพช. 80:20 90:10 แผนงานควบคุมปริมาณการใช้เวชภัณฑ์ โรงพยาบาล สัดส่วนรายการ สัดส่วนมูลค่า ED : NED กำแพงเพชร 83.2 16.8 83.6 16.4 โกสัมพีนคร 91.8 8.2 88.9 11.1 ขาณุวรลักษบุรี 90.3 9.7 80.2 19.8 คลองขลุง 82.3 17.7 คลองลาน 92.7 7.3 85.0 15.0 ไทรงาม 91.0 9.0 91.3 8.7 ทรายทองวัฒนา 91.9 8.1 82.2 17.8 ทุ่งโพธิ์ทะเล บึงสามัคคี 90.1 9.9 84.7 15.3 ปางศิลาทอง 96.2 3.8 98.1 1.9 พรานกระต่าย 94.3 5.7 80.8 19.2 ลานกระบือ 90.8 9.2 73.2 26.8 รวม รพช. สัดส่วนจำนวนรายการยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (ED) และ ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ (NED) เกือบทุกแห่งเป็นไปตามเกณฑ์ ยกเว้น รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเลที่ต่ำกว่าเกณฑ์เล็กน้อย แต่สัดส่วนมูลค่าการจัดซื้อยาพบว่า มีหลายแห่งที่มีการจัดซื้อยานอกบัญชีฯ (NED) มีสัดส่วนค่อนข้างสูง เนื่องจากมียาบางรายการที่มีราคาสูง แต่คาดว่าแนวโน้มสัดส่วนมูลค่าการใช้ยาจะดีขึ้น เนื่องจากมีการจัดซื้อยาร่วมทั้งระดับเขตและจังหวัด ทำให้ราคายาลดลงหลายรายการ โดยเฉพาะยานอกบัญชียาหลัก มีราคาต่อหน่วยลดลงมาก
170
การสั่งใช้และการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาอย่างสมเหตุผล
โรงพยาบาล มีระบบการกำกับประเมินการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (Utilization evaluation) การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ มีการสั่งใช้ยาที่เหมาะสมตามข้อบ่งชี้ มีระบบป้องกันการแพ้ยาซ้ำ จำนวนผู้ป่วยที่เกิดการแพ้ยาซ้ำ ACE II antagonist COX-2 inhibitor PPI STATIN ยาบัญชี ง.,จ. หรือ อื่นๆ (ต.ค. – ธ.ค. 57) กำแพงเพชร / โกสัมพีนคร X - ขาณุวรลักษบุรี 1 คลองขลุง คลองลาน ไทรงาม ทรายทองวัฒนา ทุ่งโพธิ์ทะเล บึงสามัคคี ปางศิลาทอง พรานกระต่าย ลานกระบือ ระบบการกำกับประเมินการใช้ยาฯ (DUE) ทุก รพ. ได้ทำแล้ว ยกเว้น 2 แห่ง ได้แก่ โกสัมพีนคร และ ไทรงาม (ปัญหาด้านบุคลากร) ทุกแห่งมีระบบการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ รพ. ส่วนใหญ่ มีการควบคุมการสั่งใช้ยาที่เหมาะสมตามข้อบ่งชี้ ยาส่วนใหญ่ที่ใช้ใน รพ. จะเป็นยา ED และมีราคาไม่แพง เช่น กลุ่ม ACE II antagonist ได้แก่ Losartan กลุ่ม PPI ได้แก่ Omeprazole กลุ่ม STATIN ได้แก่ Simvastatin ระบบการกำกับประเมินการใช้ยาฯ (DUE) ทุก รพ. ได้ทำแล้ว ยกเว้น 2 แห่ง ได้แก่ โกสัมพีนคร และ ไทรงาม (ปัญหาด้านบุคลากร) ทุกแห่งมีระบบการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ รพ. ส่วนใหญ่ มีการควบคุมการสั่งใช้ยาที่เหมาะสมตามข้อบ่งชี้ แต่ทั้งนี้ ยาส่วนใหญ่ที่ใช้ใน รพ. จะเป็นยา ED และมีราคาไม่แพง เช่น กลุ่ม ACE II antagonist ได้แก่ Losartan กลุ่ม PPI ได้แก่ Omeprazole กลุ่ม STATIN ได้แก่ Simvastatin
171
จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อจัดหา การส่งเสริมการขายยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัดกำแพงเพชรมีการจัดทำและ ปิดประกาศแนวปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรม เพื่อให้บุคคลผู้เกี่ยวข้องทราบและยืดถือปฏิบัติ โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัดกำแพงเพชรมีการจัดทำและปิดประกาศแนวปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรม เพื่อให้บุคคลผู้เกี่ยวข้องทราบและยืดถือปฏิบัติ
172
แผนพัฒนากำลังคนอย่างมืออาชีพ
เรื่องข้อมูลคนทุกสาขา โดยใช้ FTE (FTE / Population based Service based) ต่อประชากรต่อภาระงานในทุกสายงานที่ หาส่วนขาดในภาพปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิตาม Service Plan จังหวัด โดยมีคณะกรรมการ พบส.สาขาต่างๆ และคณะกรรมการ CHRO ของจังหวัดช่วยพิจารณากลั่นกรอง พัฒนาบุคลากร (จบใหม่ , ตามส่วนขาด , ศึกษาต่อ) มีแผนพัฒนากำลังคนอย่างมืออาชีพ สอดคล้องกับความต้องการในระบบบริการสุขภาพ Service Plan และสภาพปัญหาของพื้นที่ เน้นการพัฒนาด้านต้นทุนคุณธรรม ให้เป็นไปตามนโยบายสาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย สร้างขวัญกำลังใจ มอบรางวัล สัดส่วนเจ้าหน้าที่ รพท. : รพช. : สอ. 34 : 41 : 25
173
การพัฒนาบุคลากรด้านคุณภาพ ตาม Service Plan ตามสมรรถนะหลัก และสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
รพท.กำแพงเพชร จำนวน 7 สาขา งบประมาณ 360,000 บาท ในกลุ่มแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ และ นักรังสีการแพทย์ สสจ.กำแพงเพชร จำนวน 10 สาขา งบประมาณ 636,600 บาท ในกลุ่มแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักจิตวิทยา นักกายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย และ จพ.ทันตสาธารณสุข * ส่วนที่นอกเหนือจากแผนพัฒนาของเขตบริการสุขภาพที่ 3 ยังมีการพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปตามแผนพัฒนาบุคลากรของ service plan สาขาต่างๆ
174
การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
ด้านการส่งเสริมป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากร ให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด แต่งตั้งคณะกรรมการเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด ชี้แจงหน่วยงานในสังกัดให้มีการเสริมสร้าง และพัฒนาบุคลากร ด้านคุณธรรม จริยธรรม เพื่อป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรด้านกฎหมายและระเบียบ หน่วยบริการมีการทำโครงการอบรมทั้งในด้านวิชาการและคุณธรรม จริยธรรม
175
การพัฒนาบุคลากรด้านต้นทุนคุณธรรม ตามนโยบาย “สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย”
บุคลากรสาธารณสุขได้รับการพัฒนาด้านต้นทุนคุณธรรม ผู้บริหารงานสาธารณสุขทุกระดับ , บุคลากรวิชาชีพด้านสุขภาพ , บุคลากรด้านสนับสนุนบริการสุขภาพ การพัฒนาบุคลากรด้านต้นทุนคุณธรรม มีแผนพัฒนาบุคลากรด้านต้นทุนคุณธรรม โดยหน่วยงานระดับจังหวัดและเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ ครอบคลุมทั้งจังหวัด สสจ.กำแพงเพชรจัดทำโครงการอบรมสำหรับผู้บริหารระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล โครงการพัฒนาต้นทุนทางปัญญา และต้นทุนคุณธรรม เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการสาธารณสุข งบประมาณ 154,250 บาท โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบาย งบประมาณ 737,600 บาท เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ จัดทำแผนงานและโครงการพัฒนาบุคลากร ด้านต้นทุนคุณธรรม ครอบคลุมบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ งบประมาณ 6,904,180 บาท โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านคุณธรรมจริยธรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านบริการ
176
การอบรมพัฒนาต้นทุนทางปัญญา และต้นทุนคุณธรรมสำหรับผู้บริหารระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล
177
วิเคราะห์ภาพรวมปัญหาที่พบและสามารถแก้ไขได้ตามข้อเสนอแนะ
ผลการตรวจสอบภายใน ปี 2557 ณ 27 มิถุนายน 2557 เป้าหมาย (รพ.สต./รพ./สสอ./สสจ.) หน่วยงาน ตรวจสอบแล้ว หน่วยงาน (94%) วิเคราะห์ภาพรวมปัญหาที่พบและสามารถแก้ไขได้ตามข้อเสนอแนะ 1. หลักฐานการจ่ายบางฉบับไม่สมบูรณ์ 2. บวกเงินเกิน/ขาด 3. การยืมเงินยังปฏิบัติไม่ถูกต้อง 4. บางแห่งยังไม่มีการใช้เช็คจ่ายเงิน ระดับ รพ.สต. 1. การจัดทำงบพิสูจน์ยอด 2. นโยบายบัญชีบางกิจกรรมยังเข้าใจคลาดเคลื่อน 3. หลักฐานการจ่ายบางฉบับไม่สมบูรณ์ ระดับ รพช. 1. การบริหารเงิน งปม. ยังไม่ได้เป้าหมาย 2. เจ้าหน้าที่ยังไม่เข้าใจระบบ e-GP ระดับ สสอ. 1. ไม่รายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจำปี 2. การจัดซื้อจัดจ้างวิธีตกลงราคายังไม่เข้าสู่ระบบ e-GP ทั้ง 3 ระดับ - มีข้อผิดพลาดเล็กน้อย ผู้ปฏิบัติงานไม่เข้าใจกระบวนการและขั้นตอน - ไม่พบปัญหาการทุจริต/ประพฤติมิชอบ
178
ประเด็นที่จัดทำควบคุมภายในของปีงบประมาณ 2558
การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิข้าราชการ (2) การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิ UC (3) การควบคุม เก็บรักษา(บริหารคลังยา เวชภัณฑ์และวัสดุ) (4) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุสำนักงานประจำปี(วัสดุสำนักงานเงินบำรุง) การจัดทำแผนประมาณการรายได้ – ควบคุมค่าใช้จ่าย การจัดทำแผนการจัดซื้อและเวชภัณฑ์ (7) การจัดทำแผนการจัดหางบลงทุน (8) การยืมเงินและการส่งคืนเงินยืม (9) การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคา, โดยวิธีตกลงราคา (10) การตรวจสอบพัสดุประจำปี เพิ่มเติม (11) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ (12) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุทันตกรรม การจัดทำระบบการควบคุมภายใน ปีงบประมาณ 2558 ดำเนินการจัดทำรายงานควบคุมภายใน 12 ประเด็น ดังนี้ 1. การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิข้าราชการ 2.การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิ UC 3. การควบคุม เก็บรักษา(บริหารคลังยา เวชภัณฑ์และวัสดุ) 4. การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุสำนักงานประจำปี (วัสดุสำนักงานเงินบำรุง) 5. การจัดทำแผนประมาณการรายได้ – ควบคุมค่าใช้จ่าย 6. การจัดทำแผนการจัดซื้อและเวชภัณฑ์
179
การดำเนินงานระบบควบคุมภายใน ปีงบประมาณ 2558
นโยบายกระทรวงจัดทำ 9 กระบวนงาน จากตรวจสอบ ภายในพบ ปัญหา 3 ประเด็น - การยืมเงินและการส่งคืนเงินยืม - การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคา, การตกลงราคา - การตรวจสอบพัสดุประจำปี การดำเนินงาน - แจ้งหน่วยบริการจัดทำกระบวนงาน - มีคณะกรรมการพิจารณาระบบควบคุมภายใน - มีคณะกรรมการติดตามและประเมินผล ผลการดำเนินงานระบบควบคุมภายใน ปีงบประมาณ จังหวัดได้มีการแจ้งหน่วยบริการจัดทำกระบวนการปฏิบัติงานและกิจกรรม โดยให้สอดคล้องกับนโยบายกระทรวง ให้มีการจัดทำ 9 กระบวนงาน พร้อมกับมีคณะทำงานการควบคุมภายใน เพื่อให้มีการพิจารณาพัฒนาระบบการควบคุมภายในของหน่วยบริการ พร้อมกับประเมินระบบควบคุมภายใน ประกอบกับจากการตรวจสอบภายใน ในภาพรวมของจังหวัดกำแพงเพชรในปีที่ผ่านมาพบปัญหา จึงได้มีการทำกระบวนงานการควบคุมภายในเพิ่มอีก 3 กระบวนงาน คือ (1) การยืมเงินและการส่งคืนเงินยืม (2) การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคา,วิธีตกลงราคา (3) การตรวจสอบพัสดุประจำปี และจังหวัดได้จัดทำแผนการปฏิบัติงานเพื่อออกนิเทศหน่วยบริการตามแผนงานและกิจกรรมดังกล่าว 179
180
การดำเนินการตรวจสอบภายในปี 2558
1 1 ประชุมคณะทำงานตรวจสอบภายใน 2 2 สำรวจข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยรับตรวจ 3 3 ประเมินผลระบบคุมภายใน/ประเมินความเสี่ยง ส่งแบบสอบทานควบคุมภายใน/ตรวจสอบภายใน 4 4 วางแผนการตรวจสอบ 5 ณ กุมภาพันธ์ 2558 นิเทศ/ติดตาม 2 DHS
181
การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
ดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม รพ.กำแพงเพชร เป้าหมาย รพ.ขาณุวรลักษบุรี (รพ.M2) (อยู่ระหว่างการดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ และจัดทำแผน) โรงพยาบาลชุมชนแห่งอื่น (แจ้งให้ดำเนินการตามแนวนโยบายโรงพยาบาลคุณธรรม )
182
การประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร
การประชาสัมพันธ์และงานรณรงค์ด้านสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร ดำเนินงานตามนโยบายการบริหารงานด้วยด้วยหลักธรรมาธิปไตยมุ่งเน้นประชาชนกำแพงเพชร มีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน
183
สร้างภูมิรู้ภูมิธรรม
นำหลักพุทธธรรมผสมผสานกับหลักการแพทย์และการสาธารณสุข บูรณาการสร้างสุขภาพแบบองค์รวม บริหารงานด้วยหลักธรรมาธิปไตย สร้างสรรค์ให้เกิดความดีงาม ความถูกต้อง สร้างภูมิรู้ภูมิธรรม ให้ต้นแบบต้นกล้านำไปขยายผล ภายใต้การดำเนินงาน “สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย” ด้วยหลัก ๓ ส ๓ อ คือ สิล (สมาธิ ปัญญา) สวดมนต์ สนธนาธรรม ส.งดดื่มสุรา ส.การบอกลาการสูบบุหรี่ อ.อาหาร อ.อารมณ์ อ.ออกกำลังกาย มุ่งเน้นรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค พัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
184
ลงพื้นที่ครบ 11 อำเภอ ทุกตำบล
ดำเนินงานโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นความโปร่งใสในการทำงานให้เป็นแบบอย่างให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ยึดปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมคูณธรรม จริยธรรม พัฒนากระบวนทัศน์บูรณาการงานสาธารณสุขให้มีระบบบริหารที่ดี การดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่อย่างทุ่มเท ศึกษาค้นคว้าดูปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ได้ครบ ๑๐๐ %
185
Social Network การประชาสัมพันธ์งานทั้งภายในและภายนอก รูปแบบ เป็นการประชาสัมพันธ์และการรณรงค์ทั้งในสถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง และในสื่อมวลชนทุกสาขา
186
การบูรณาการงาน อสม./องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เอกชน
ความสำเร็จเกิดขึ้นได้จากการบูรณาการงานทุกภาคส่วน ประชาชนจังหวัดกำแพงเพชรมีสุขภาพแข็งแรงและอายุยืนอย่างไม่เจ็บป่วย บรรลุผลตามยุทธศาสตร์ สังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย พร้อมส่งเสริมให้ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข ยึดมั่นในหลักคำสอนของศาสนา เคารพรักพ้อมทั้งเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้อยู่เหนือสิ่งใด เป็นแรงผลักดันอันเกิดจากความตั้งใจที่มุ่งหวังการพัฒนาระบบสุขภาพตามหลักธรรมาภิบาล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.