งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จุดประสงค์รายวิชา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จุดประสงค์รายวิชา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จุดประสงค์รายวิชา

2 เกณฑ์การให้คะแนน 80 ขึ้นไป เกรด เกรด เกรด เกรด เกรด เกรด เกรด เกรด 0 ขาดเรียนเกิน 4 ครั้ง เกรด ขร ขาดส่งงาน เกรด มส ทุจริตในการสอบ เกรด ท

3 มาตรฐาน นิยาม และ สัญลักษณ์ ทาง ไฟฟ้า

4 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า
1 การออกแบบ ก.ความปลอดภัย ข.ความเชื่อถือได้ ค.ความง่าย ง.ค่าใช้จ่าย 2 การเลือกใช้อุปกรณ์ 3 การติดตั้ง 4 การบำรุงรักษา

5 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย
การติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทยนั้น ในอดีตการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ต่างมีมาตรฐานเป็นของตนเอง ข้อกำหนดส่วนมากจะเหมือนกัน แต่ก็มีบางส่วนที่ต่างกันทํา ให้ผู้ออกแบบไฟฟ้าและผู้ติดตั้งระบบอุปกรณ์ไฟฟ้าเกิดความสับสน ด้วยเหตุนี้สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ด้วยความร่วมมือจากการไฟฟ้าทั้งสองแห่งดังกล่าวได้จัดทํา มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทยขึ้นเพื่อให้ทั้งประเทศมีมาตรฐานเรื่องการติดตั้งทางไฟฟ้าเพียงฉบับเดียว เนื้อหาส่วนมากจะแปลและเรียบเรียงจาก มาตรฐาน NEC และก็มีความพยายามที่จะนํามาตรฐานของ IEC มาใช้ด้วย โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกบอุปกรณ์ไฟฟ้า เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่จะใช้จะต้องได้มาตรฐาน IEC เป็นต้น

6 มาตรฐานที่นิยมอ้างอิง

7 นิยามและความหมาย (ตัวอย่าง)
กระแสเกิน หมายถึง กระแสที่เกินค่าพิกัดกระแสบริภัณฑ์หรือขนาดของตัวนำ กันน้ำ หมายถึงการสร้างหรือมีการป้องกันความชื้นเข้า ขนาดกระแส หมายถึง ปริมาณกระแสไฟฟ้าสูงสุดหรือสายไฟที่สามารถรับได้อย่างต่อเนื่อง ขนาดกระแสพิกัด หมายถึง ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่อุปกรณ์ไฟฟ้า สามารถรับได้ เครื่องตัดไฟรั่ว หมายถึง เครื่องตัดวงจรเมื่อกระแสรั่วลงดิน เครื่องป้องกันกระแสเกิน หมายถึง อุปกรณ์ที่จะตัดหรือโหลดออกจากระบบไฟฟ้า เมื่อมีกระแสเกิน ช่องเดินสาย หมายถึง ท่อหือที่ใช้ห้อหุ้มสายหรือตัวนำไฟฟ้า

8 เซอร์กิตเบรกเกอร์ หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่สามารถปลด หรือสับวงจรได้ ตัวนำประธาน หมายถึง ตัวนำที่ต่อระหว่างตัววัดหน่วยไฟฟ้ากับบริภัณฑ์ ประธาน บริภัณฑ์ประธานหรือเมนสวิตช์ หมายถึง อุปกรณ์สำหรับปลดวงจรที่อยู่ ระหว่าตัวนำประธานกับสายภายในอาคาร แผงย่อย หมายถึง แผงเดี่ยวหรือกลุ่มของแผงเดี่ยวที่ได้ออกแบบให้ ประกอบรวมกันเป็นแผงเดียวกัน

9 ระบบไฟฟ้าแรงสูง หมายถึง ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า เกิน 1,000 โวลท์ ระบบไฟฟ้าแรงต่ำ หมายถึง ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 1,000 โวลท์ หน่วย (Unit)หมายถึง หน่วยของกำลังไฟฟ้าที่ใช้ ต่อชั่วโมง มีอุปกรณ์ที่ใช้วัด คือ กิโลวัตต์ฮอร์มิเตอร์ (Kwh. )

10 ตัวอย่างสัญลักษณ์ในงานไฟฟ้า

11

12

13 รูปแบบของงานทางด้านไฟฟ้า


ดาวน์โหลด ppt จุดประสงค์รายวิชา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google