งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
บทที่ 6 (เพิ่มเติม) การประยุกต์ใช้งานอนุกรมฟูเรียร์ สัญญาณและระบบ

2 วัตถุประสงค์ การประยุกต์ใช้งานในการหาขนาดสเปคตรัมและเฟสสเปคตรัม
การประยุกต์ใช้งานในการคำนวณพลังงานของสัญญาณ การประยุกต์ใช้งานในการตอบสนองของระบบเชิงเส้น การประสาน การประยุกต์ใช้งานกับวงจร RLC ผลตอบสนองสัญญาณเป็นคาบซึ่งไม่เป็นรูปซายน์ ค่า Root Mean Square Power & Powerfactor สัญญาณและระบบ

3 อนุกรมฟูเรียร์รูปแบบมาตรฐานหรืออนุกรมฟูเรียร์ตรีโกณ
ทางสัญญาณและระบบ : อนุกรมฟูเรียร์ ใช้ในการวิเคราะห์สัญาณที่มีขนาดแปรต่อเนื่องในช่วง – p ถึง + p หรือ สัญญาณเป็นคาบ อนุกรมฟูเรียร์รูปแบบมาตรฐานหรืออนุกรมฟูเรียร์ตรีโกณ สัญญาณและระบบ

4 อนุกรมฟูเรียร์ สัญญาณและระบบ

5 เส้นสเปคตรัมหรือสเปคตรัมไม่ต่อเนื่อง
อนุกรมฟูเรียร์รูปแบบเชิงซ้อนมี basis เป็น ฟังก์ชันเอ็กโปเนนเชียลเชิงซ้อน และ ส.ป.ส เป็น Cn | Cn | = ขนาดสเปคตรัมของสัญญาณ = เฟสสเปคตรัมของสัญญาณ สัญญาณและระบบ

6 เส้นสเปคตรัมหรือสเปคตรัมไม่ต่อเนื่อง
DC | C0 | ฮาร์โมนิคส์ที่หนึ่ง | C-1 | | C1 | | C-2 | | C2 | | C-3 | | C3 | สัญญาณและระบบ

7 เส้นสเปคตรัมหรือสเปคตรัมไม่ต่อเนื่อง
สัญญาณและระบบ

8 การคูณและประสานสัญญาณ
ผลคูณของสองสัญญาณ เทอมในวงเล็บคือผลบวกการประสาน(convolution sum)ส.ป.สฟูเรียร์ ส.ป.ส ฟูเรียร์ผลคูณของสองสัญญาณเป็นผลบวกการประสานของส.ป.ส ฟูเรียร์ของแต่ละสัญญาณนั้น สัญญาณและระบบ

9 การประสานของสองสัญญาณ
การคูณและประสานสัญญาณ การประสานของสองสัญญาณ f1(t) และ f2(T) เป็นสัญญาณเป็นคาบความถี่0 เท่ากัน การประสานเชิงคาบนิยามโดย f3(t) มีคาบ T และดำเนินตามกฏ commutative และ Associative ถ้า แล้ว สัญญาณและระบบ

10 การประสานของสองสัญญาณ
การคูณและประสานสัญญาณ การประสานของสองสัญญาณ f1(t) และ f2(T) เป็นสัญญาณเป็นคาบความถี่0 เท่ากัน การประสานเชิงคาบนิยามโดย f3(t) มีคาบ T และดำเนินตามกฏ commutative และ Associative ถ้า แล้ว สัญญาณและระบบ

11 การคำนวณพลังงานของสัญญาณ
Parseval’s theorem สัญญาณและระบบ

12 กระแสเกิดจากสัญญาณแรงดันเป็นคาบซึ่งไม่เป็นรูปซายน์
การประยุกต์ใช้งานกับวงจร RLC กระแสเกิดจากสัญญาณแรงดันเป็นคาบซึ่งไม่เป็นรูปซายน์ Superposition สัญญาณและระบบ

13 ตัวอย่าง: กระแสในวงจรซึ่งมีเพียงความต้านทาน R
การประยุกต์ใช้งานกับวงจร RLC ตัวอย่าง: กระแสในวงจรซึ่งมีเพียงความต้านทาน R สัญญาณและระบบ

14 ตัวอย่าง: กระแสในตัวเหนี่ยวนำ L
การประยุกต์ใช้งานกับวงจร RLC ตัวอย่าง: กระแสในตัวเหนี่ยวนำ L กระแสฮาร์โมนิกที่หนึ่ง กระแสฮาร์โมนิกที่สอง สัญญาณและระบบ

15 มีต่อในบทที่ 9 สัญญาณและระบบ


ดาวน์โหลด ppt สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google