ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDirenç Sarıkaya ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
Resistors on PCB Resistors (axial components with color bands
2
นิยาม “ ความต้านทาน (Resistance) ความสามารถในการต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า” หน่วยของความต้านทาน โอห์ม (Ohm) : “ ตัวต้านทาน (Resistor) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่สามารถต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ ” This session only focuses on ohms law 2 2
3
ชนิดของตัวต้านทาน ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่ ตัวต้านทานชนิดแบ่งค่าได้
ตัวต้านทานชนิดเปลี่ยนเลือกค่า ตัวต้านทานชนิดปรับเปลี่ยนค่า ตัวต้านทานชนิดพิเศษ This session only focuses on ohms law 3 3
4
ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่ (Fixed Resistor)
“ ตัวต้านทานที่มีความต้านทานคงที่ ” 1. ตัวต้านทานชนิดคาร์บอนผสม (Carbon Composition) 2. ตัวต้านทานแบบฟิล์มโลหะ ( Metal Film) 3. ตัวต้านทานแบบฟิล์มคาร์บอน ( Carbon Film) 4. ตัวต้านทานแบบไวร์วาวด์ (Wire Wound) 5. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนา ( Thick Film Network) 6. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มบาง ( Thin Film Network) This session only focuses on ohms law 4 4
5
1. ตัวต้านทานชนิดคาร์บอนผสม (Carbon Composition)
This session only focuses on ohms law 5 5
6
2. ตัวต้านทานแบบฟิล์มโลหะ ( Metal Film)
ทำมาจากแผ่นฟิล์มบางของแก้วและโลหะหลอมเข้าด้วยกันแล้วนำไปเคลือบที่เซรามิค ทำเป็นรูปทรงกระบอก ขั้นตอนสุดท้ายจะทำการเคลือบด้วยสาร Epoxy ตัวต้านทานชนิดนี้มีค่าความผิดพลาดบวกลบ 0.1% ถึงประมาณบวกลบ 2% ซึ่งถือว่ามีค่าความผิดพลาดน้อยมาก ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจากภายนอกได้ดี สัญญาณรบกวนน้อยเมื่อเทียบกับตัวต้านทานชนิดอื่น ๆ This session only focuses on ohms law 6 6
7
3. ตัวต้านทานแบบฟิล์มคาร์บอน ( Carbon Film)
This session only focuses on ohms law 7 7
8
4. ตัวต้านทานแบบไวร์วาวด์ (Wire Wound)
โครงสร้างจะใช้ลวดพันลงบนเส้นลวดแกนเซรามิค แล้วต่อลวดตัวนำด้านหัวและท้ายของเส้นลวดที่พัน ส่วนค่าความต้านทานขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ทำเป็นลวดตัวนำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนเซรามิค และความยาวของลวดตัวนำ จากนั้นจะเคลือบด้วยสารประเภทเซรามิคบริเวณรอบนอกอีกครั้งหนึ่ง ค่าความต้านทานของตัวต้านทานแบบนี้จะมีค่าต่ำเพราะต้องการให้มีกระแสไหลได้สูง ทนความร้อนได้ดี สามารถระบายความร้อนโดยใช้อากาศถ่ายเท This session only focuses on ohms law 8 8
9
5. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนา ( Thick Film Network)
SMD SIL โครงสร้างของตัวต้านทานแบบนี้ทำมาจากแผ่นฟิล์มหนา มีรูปแบบแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการใช้งาน แสดงตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนาประเภทไร้ขา (Chip Resistor) ตัวต้านทานแบบนี้ต้องใช้เทคโนโลยี SMT (Surface Mount Technology) ในการผลิต มีอัตราทนกำลังประมาณ วัตต์ ถึง 500 วัตต์ ค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 1% ถึง บวกลบ 5% This session only focuses on ohms law 9 9
10
6. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มบาง ( Thin Film Network)
โครงสร้างของตัวต้านทานแบบนี้ทำมาจากแผ่นฟิล์ม รูปร่างเหมือนกับตัวไอซี (Integrate Circuit) ใช้เทคโนโลยี SMT ในการผลิต มีขาทั้งหมด 16 ขา การใช้งานต้องบัดกรีเข้ากับแผ่นลายวงจร อัตราทนกำลัง 50 มิลลิวัตต์ มีค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 0.1% และอัตราทนกำลัง 100 มิลลิวัตต์ จะมีค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 5% ที่แรงดันไฟฟ้าสูงสุดไม่เกิน 50 VDC This session only focuses on ohms law 10 10
11
Resistor Examples Through-hole Resistors SMT Components
Source: Basic Electronics, Bernard Grob Through-hole Resistors SMT Components (Larger size often indicates higher power rating)
12
Resistor Code SIL (Single In-Line) network:
Ref: SIL (Single In-Line) network: The 4 and 7 are significant digits and the 3 is the decade, giving 47 x 1000 or 47 KW The letter after the numbers is the tolerance. The different representations are: M=±20%, K=±10%, J=±5%, G=±2%, F=±1%. Detail Spec: SMD (Surface Mount Device): The 1 and 0 are significant digits and 3 is the decade, giving 10 x 1000 or 10 KW Direct Value: Resistors with larger physical size are often printed the value directly on their body
13
การเลือกขนาดกำลังของตัวต้านทานไปใช้ในวงจร
ตัวต้านทานจะมีขนาดต่าง ๆ กัน ทั้งตัวเล็กและใหญ่ ถึงแม้ว่าค่าความต้านทานจะเท่ากันก็ตาม ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าเราต้องทำขนาดให้เหมาะกับงาน ตัวเล็ก ๆ ใช้กับงานที่มีกระแสไหลผ่านน้อย ๆ พื้นที่ในวงจรจำกัด ส่วนตัวขนาดใหญ่ใช้ในวงจรที่มีกระแสไหลผ่านสูง หากนำตัวต้านทานขนาดเล็กไปใช้ในงานที่มีกระแสไหลผ่านมาก ๆ จะทำให้ตัวต้านทานร้อนและไหม้ ในที่สุด ตัวต้านทานแบบคาร์บอนจะมีขนาดเล็ก เช่น 1/8 -1 หรือ 2 วัตต์ ตัวต้านทานที่ทำจากลวดพันมักจะทนกำลังได้สูงกว่าเช่นตั้งแต่ วัตต์ This session only focuses on ohms law 13 13
14
Resistor with Different Power Ratings
Examples: 2 Watts 1 Watt 0.5 Watt 0.25 Watt The size indicates the power rating, NOT the resistance value
16
5 6 00 6 8 000 1 5 = 5.6KW ผิดพลาด 5% เติมสองศูนย์หรือ x 10 สีทอง
2 = 5.6KW ผิดพลาด 5% สีทอง 6 8 000 เติมสามศูนย์หรือ x 10 3 = 68KW ผิดพลาด 1% สีน้ำตาล 1 5 = 1.5KW
17
Resistor Color Code PPM = Part per million PPM 17 17
18
อ่านค่าสีตัวต้านทาน Ω Ω Ω Ω Ω Ω Ω Ω
19
Standard Resistor Values
Electronic Industries Association (EIA) standard E24: Standard E24 specifies resistors based on 5% tolerance (often resistor of this category has 2% tolerance now a days due to advancement of manufacturing techniques) Standard Resistor values = 100 110 120 130 150 160 180 200 220 240 270 300 330 360 390 430 470 510 560 620 680 750 820 910 × 10M Ohms (Where M can be any integer, positive or negative) For other standards:
20
กำลังวัตต์ของตัวต้านทาน
ตัวต้านทานจะมีขนาดต่าง ๆ กัน ทั้งตัวเล็กและใหญ่ ถึงแม้ว่าค่าความต้านทานจะเท่ากันก็ตาม ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าเราต้องทำขนาดให้เหมาะกับงาน ตัวเล็ก ๆ ใช้กับงานที่มีกระแสไหลผ่านน้อย ๆ พื้นที่ในวงจรจำกัด ส่วนตัวขนาดใหญ่ใช้ในวงจรที่มีกระแสไหลผ่านสูง หากนำตัวต้านทานขนาดเล็กไปใช้ในงานที่มีกระแสไหลผ่านมาก ๆ จะทำให้ตัวต้านทานร้อนและไหม้ ในที่สุด ตัวต้านทานแบบคาร์บอนจะมีขนาดเล็ก เช่น 1/8 -1 หรือ 2 วัตต์ ตัวต้านทานที่ทำจากลวดพันมักจะทนกำลังได้สูงกว่าเช่นตั้งแต่ วัตต์ The size indicates the power rating, NOT the resistance value
21
ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor)
โครงสร้างภายในทำมาจากคาร์บอนเซรามิค หรือพลาสติกตัวนำ ใช้ในงานที่ต้องการเปลี่ยนค่าความต้านทานบ่อย ๆ เช่น ในเครื่องรับวิทยุ, โทรทัศน์ เพื่อปรับลดหรือเพิ่มเสียง, ปรับลดหรือเพิ่มแสงในวงจรหรี่ไฟ มีอยู่หลายแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น โพเทนชิโอมิเตอร์ (Potentiometer) หรือพอต (Pot) สำหรับชนิดที่มีแกนเลื่อนค่าความต้านทานหรือแบบที่มีแกนหมุนเปลี่ยนค่าความต้านทานคือโวลลุ่ม (Volume) เพิ่มหรือลดเสียงมีหลายแบบให้เลือกคือ 1 ชั้น, 2 ชั้น และ 3 ชั้น เป็นต้น ส่วนอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่ไม่มีแกนปรับโดยทั่วไปจะเรียกว่า โวลลุ่มเกือกม้า หรือทิมพอต (Trimpot)
23
Variable Resistor Examples
24
แอลดีอาร์ (LDR : Light Dependent Resistor)
เมื่อมีแสงมาตกกระทบที่ LDR จะทำให้ค่าความต้านทานภายในตัว LDR ลดลง จะลดลงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแสงที่ตกกระทบ - กรณีที่ไม่มีแสงหรืออยู่ในตำแหน่งที่มืดค่าความต้านทานภายในตัว LDR จะมีค่าเพิ่มมากขึ้น
25
Resistor Specifications
Value: Ohms (W) Tolerance: % of Ohmic value Safety Rating: Power in Watt Shape: Axial (mostly) Technology: Through-hole or SMD (Surface Mount Device)
26
Resistor Symbol 26
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.