ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยÉmilien Norbert Poitras ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนของระบบทางเดินหายใจ
Asthma Tuberculosis Influenza ผศ.ดร.สุดประนอม สมันตเวคิน กลุ่มวิชาการพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
2
วัตถุประสงค์ อธิบายปัจจัย/สาเหตุและพยาธิสรีรวิทยาของระบบหายใจที่พบบ่อยในมารดาระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอดได้ วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบของมารดาที่มีภาวะเสี่ยงจากการได้รับออกซิเจนได้ การประเมินสภาพร่างกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณของมารดาที่มีภาวะเสี่ยงจากการได้รับออกซิเจนได้ 4. วางแผนการพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยงจากการได้รับออกซิเจนโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้
3
แนวคิดในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีปัญหาทางระบบหายใจ
Serum Progesterone ß-adrenoceptor Allengen Breathing disorder Immunosuppressant Risk to Viral Infection
4
Abortion Premature labour
Ineffective breathing Uteroplacenta hypoperfusion Mother Child IUGR Preterm Asphyxia Fetal death in Utero Abortion Premature labour Psychospiritual problems Anxiety –Fear Grieves & Loss
5
Allergen Asthma Phospholipase enzyme Leukotrienes Mast cell
หลั่ง histamine Bronchospasm เยื่อบุบวม หลั่งมูก หายใจลำบาก เหนื่อย ฟังปอดเสียง wheezing
6
การพยาบาล Impaired ventilation /Ineffective breathing
ประวัติได้รับสาร ...แพ้ มีผื่น หายใจขัด ไม่อิ่ม ตั้งครรภ์ได้ .....สัปดาห์ หายใจเร็ว หอบ ได้ยินเสียง wheezing ไอมีเสมหะ ซีด นอนราบไม่ได้ FEV1 = Objective: Comfort to effective breathing
7
แนะนำให้หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ จัดสิ่งแวดล้อม ให้อากาศถ่ายเท
กิจกรรมการพยาบาล ระยะตั้งครรภ์ แนะนำให้หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ จัดสิ่งแวดล้อม ให้อากาศถ่ายเท รับประทาน/พ่นยาตามแผนการรักษา พักผ่อนให้เพียงพอ นับเด็กดิ้น และมาตรวจตามนัด
8
ระยะอาการกำเริบ เจ็บครรภ์คลอด
1. จัดให้นอนท่าศีรษะสูง ให้ O2 mask & bag 2. จัดสิ่งแวดล้อมให้สุขสบาย โล่ง อากาศถ่ายเทดี 3. ให้ยาตามแผน ดังนี้ 3.1 ให้ Beta-adrenergic adonist และcorticosteroid โดยเร็ว ขณะที่มี อาการattack 3.2 ให้ยาขยายหลอดลม เช่น sympathomimetics , theophylline ประเมินชีพจร ใจ สั่น และตรวจสอบการหดรัดตัวของมดลูก 3.3 ดูแลยาแก้ปวด โดยหลีกเลี่ยงยากลุ่ม morphrine/pethidine ที่จะทำให้หืดรุนแรงขึ้น และ ควรได้รับ epidural block 4. ติดตามระดับ O2 โดย pulse oxymeter , vital signs, Lab 5. Fetal Monitoring & progress of labour
9
ระยะหลังคลอด จัดสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
ดูแลการให้ยาอย่างต่อเนื่อง ตรวจสอบการหดรัดตัวของมดลูก ระวัง PPH. หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม ergotamine (methergin) ให้ใช้ oxytocin Breastfeeding เนื่องจากน้ำนมแม่มี IgA ลดความเสี่ยงต่อทารกเป็นภูมิแพ้ แนะนำ ให้ความรู้แก่มารดาและครอบครัว
10
Mycobacterium tuberculosis
วัณโรคปอด ไข้ต่ำๆ ไอเรื้อรัง อ่อนเพลีย น้ำหนักลด Mycobacterium tuberculosis ตั้งครรภ์ คลอด รก น้ำคร่ำ ทารกติดเชื้อได้
11
ไม่สุขสบายจากการติดเชื้ออักเสบที่ปอด
ประวัติ: การมีไข้ การสัมผัสเชื้อ ตรวจร่างกาย: ไข้ ไอ อ่อนเพลีย น้ำหนัก ลด ตรวจครรภ์...wk อาการเจ็บครรภ์ คะเนน้ำหนักทารก ผลการวินิจฉัย: ผล sputum for AFB, Chest x-ray (shield)
13
การพยาบาลมารดาที่เป็นวัณโรค
ระยะตั้งครรภ์ 1. ให้พักผ่อน จัดสิ่งแวดล้อมและให้อาหารอย่างพอเพียง 2. แนะนำให้สวมผ้าปิดจมูกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอรดผู้อื่น 3. ให้ยา INH(+piroxine), Rifampicin(+vitK), Ethambutol 4. แยกผป.ในรายกำเริบ กำลังรักษา งดนมแม่ 5. นับเด็กดิ้น ตรวจตามนัด ติดตามผลวินิจฉัย
14
ระยะตั้งคลอด พักผ่อนให้พอเพียง ดูแลการได้รับสารน้ำ ประเมินความก้าวหน้าของการเจ็บครรภ์ ระยะหลังคลอด ดูแลอย่างต่อเนื่องทั้งการพักผ่อน การได้รับยา ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา ตรวจตามนัด เว้นการมีบุตร 2 ปี ทารกควรได้รับการตรวจ tuberculin test
15
ไข้หวัดใหญ่กับการตั้งครรภ์ Influenza and Pregnancy
16
ช่วงปี มีรายงานจากประเทศ บราซิล พบ อัตราการเกิด microcephaly ที่สัมพันธ์กับการระบาด ของไข้หวัดใหญ่ โดยเฉพาะ Zika virus
17
ระบาดวิทยาและการดำเนินของโรค
หญิงตั้งครรภ์ที่ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่มีแนวโน้มที่จะอาการรุนแรงและเสียชีวิตได้มากกว่าคนทั่วไป สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของการตั้งครรภ์ ได้แก่ หัวใจเต้นเร็ว ความจุปอดลดลง ภูมิคุ้มกันลดลง ปี และ USA มีระบาดไข้หวัดใหญ่ หญิงตั้งครรภ์เสียชีวิตสูง ปี 2552 มีการระบาดของ H1N1 พบอัตราการตาย 6% ของอัตราตายทั้งหมด (1% ของประชากร US) ปี พบการตายในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ(pregnancy related death) H1N1 ถึง 12% จาก systematic reviews ปี 2554 พบหญิงตั้งครรภ์ตายจากไข้หวัดใหญ่เพิ่มขึ้น ปี 2556 พบว่า ความเสี่ยงเพิ่มเฉพาะไตรมาส 3 เนื่องจากมีการฉีดวัคซีน วินิจฉัยและรักษาอย่างทันท่วงที จึงมีผลการรักษาที่ดีขึ้น
18
พยาธิสรีรวิทยา อาการ-อาการแสดง
กลไกการเกิด : ZIKV ยังไม่ทราบแน่ชัด เกิดจากเชื้อ flavivirus ผ่านยุงชนิด Aedes mosquitoes อาการและอาการแสดง : ไข้ ผื่นที่ผิวหนัง ไอ น้ำมูกไหล เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ผลของไข้หวัด : เสี่ยงต่อการแท้ง พิการแต่กำเนิด การคลอดก่อนกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
19
การประเมินเพื่อการดูแลรักษา
ซักประวัติและตรวจร่างกาย : อาการไข้ ผื่น ปวดศีรษะ การเดินทางไปประเทศที่เสี่ยงหรือสัมผัสสิ่งคัดหลั่งของคนป่วย มีการตั้งครรภ์หรือไม่ เคยได้รับวัคซีน การวินิจฉัย : สารคัดหลั่ง RT-PCR ใน 5 วัน Ultrasound ในหญิงที่ต้องสงสัยว่าติดเชื้อ และติดตาม serial ultrasound ทุก 4 สัปดาห์ ทารกแรกเกิดที่ศรีษะเล็กกว่าปกติ ให้เก็บ serum ทั้งมารดาและทารกตรวจหา IgM
20
การพยาบาล 1.ป้องกัน แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีโอกาสตั้งครรภ์ฉีดวัคซีนชนิด inactivated vaccine ในทุกอายุครรภ์ (grade IA) ไม่ควรได้รับ Live-attenuated vaccine 2. ดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ ให้พบสูติแพทย์ และอายุรแพทย์ และติดตามอย่าง เคร่งครัด 3. กรณีที่ได้รับยาต้านไวรัส ติดตามความเสี่ยงจากยา Zanamivir 10 mg.inh 2/d x 10 วัน Oseltamivir 75 mg. OD.x10 วัน 4. Universal precausion ทุกระยะของการตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด 5. แยกทารกจากมารดาที่ติดเชื้อหรือสงสัย จนกว่ามารดาจะได้รับยาต้านไวรัสแล้ว 48 hrs. 6.ส่งเสริมการบีบเก็บน้ำนมให้ลูกได้ ในช่วงที่แยกแม่-ลูก 7. แนะนำให้ทุกคนที่อาศัยอยู่กับทารก/ผู้ดูแล ได้วัคซีนป้องกัน 8. ดูแลด้านจิตใจของมารดาและครอบครัว
21
ZIKV in Pregnancy Fever,rash,headach, cough,malaise etc.
November,2015 Brazil พบ fetal microcephaly 20 fold( ) ZIKV in amniotic fluid by RT-PCR, IgG +ve Flavivirus Fever,rash,headach, cough,malaise etc. ZIKV in Pregnancy Inactivated vaccine Antivirus medication Isolation & universal precausion Health education Breast feeding Monitoring & support Serum, secretion collect Ultrasound –prenatal study
22
The End
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.