งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์

2 รหัสแทนข้อมูล รหัสแอสกี (American Standard Code for Information Interchange:ASCII) เป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล รหัสแทนข้อมูลชนิดนี้ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต แทนอักขระหรือสัญลักษณ์แต่ละตัว โดยสามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 256 ตัว ดังนี้ 1 อักขระ บิตที่ 7 6 5 4 3 2 G

3 รหัสแทนข้อมูล รหัสเอบซีดิก (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code : EBCDIC) พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม รหัสแทนข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบัน รหัสแทนข้อมูลชนิดนี้ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต แทนอักขระหรือสัญลักษณ์แต่ละตัว เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสจะเรียงลำดับดังนี้ 1 อักขระ บิตที่ 2 3 4 5 6 7 G

4 รหัสแทนข้อมูล รหัสยูนิโค้ด (Unicode) รหัสแทนข้อมูลชนิดนี้ใช้เลขฐานสองจำนวน 16 บิต แทนอักขระหรือสัญลักษณ์แต่ละตัว สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ดังนี้ 1 อักขระ บิตที่ 2 3 4 5 6 7 G

5 การจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ

6 การจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ
หน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์ เป็นที่เก็บข้อมูลและคำสั่งในขณะประมวลผล การเก็บข้อมูลในหน่วยความจำเป็นการเก็บรหัสตัวเลขฐานสอง ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลทั้งตัวเลขหรือตัวอักขระจะได้รับการแทนเป็นตัวเลขฐานสอง แล้วเก็บไว้ในหน่วยความจำ เช่น ข้อความว่า “BANGKOK” เก็บในคอมพิวเตอร์จะแทนเป็นรหัสเรียงกันไปดังนี้ B A N G K O

7 พาริตีบิต (Parity bit)
การทำให้ข้อมูลที่เก็บมีความถูกต้อง การเขียนหรืออ่านทุกครั้งจึงต้องตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล วิธีที่ง่ายและนิยมใช้กันคือการเพิ่มบิตพาริตี (parity bit) เพื่อตรวจสอบจำนวนเลข 1 ในรหัสแทนข้อมูลว่ามีจำนวนคู่ หรือจำนวนคี่ ตัวอย่างเช่น พาริตีคู่ (even parity) ซึ่งเป็นการทำให้จำนวนของเลข 1 เป็นจำนวนคู่ บิตพาริตี B A N G K O 1

8 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
โครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย - bit (bitnary digit) เป็นหน่วยที่ย่อยที่สุดของข้อมูลประกอบด้วยเลขฐานสอง 0 กับ1 - byte หรือ character คือตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

9 โครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย
- Field หรือ เขตข้อมูล คือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นเขตข้อมูล เช่น เลขประจำตัว ชื่อพนักงาน เป็นต้น - Record หรือ ระเบียน คือฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นระเบียน เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 ระเบียน - File หรือ แฟ้มข้อมูล คือระเบียนหลายๆ ระเบียนรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมดเป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

10 แฟ้มรายวิชา ตัวอย่างแฟ้มข้อมูล เขตข้อมูล แฟ้ม ข้อมูล ระเบียน รหัสวิชา
ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิต 320100 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 3.0 320111 การออกแบบฐานข้อมูล 2.0 320413 ยูนิกซ์ขั้นพื้นฐาน 1.5 320201 โปรแกรมภาษา C 1.0 แฟ้ม ข้อมูล ระเบียน ตัวอย่างแฟ้มข้อมูล

11 ข้อดีของการประมวลผลข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลทำได้อย่างรวดเร็ว ค่าลงทุนในเบื้องต้นจะต่ำ อาจไม่จำเป็นต้องใช้ Com ที่มีประสิทธิภาพสูง ก็ประมวลผลได้ โปรแกรมประยุกต์แต่ละโปรแกรมสามารถควบคุมการใช้งานในแฟ้มข้อมูลของตนเองได้

12 ข้อเสียของการประมวลผลข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล
1 มีความซ้ำซ้อนของข้อมูล (Redundancy) - ทำให้เสียเนื้อที่การใช้งานในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง - ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหนึ่ง จะต้องตามไปแก้ไขแฟ้มข้อมูลอื่นที่มีข้อมูลนั้นอยู่ด้วย 2 ความยากในการประมวลผลข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้ม 3 ไม่มีผู้ควบคุมหรือรับผิดชอบระบบทั้งหมด 4 ความขึ้นต่อกัน (Dependency) ระหว่างโปรแกรมประยุกต์และโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล

13 ระบบฐานข้อมูล (database)

14 ฐานข้อมูล (database) ฐานข้อมูล (database) คือ แหล่งที่ใช้สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูลมารวมไว้ที่เดียวกัน รวมทั้งต้องมีส่วนของพจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) เก็บคำอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูล และข้อมูลที่จัดเก็บนั้นต้องมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทำให้สามารถสืบค้น (retrieve) แก้ไข (modify) ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล (update) และจัดเรียง (sort) ได้สะดวกขึ้น ทั้งนี้การกระทำดังกล่าวต้องอาศัยซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับจัดการฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล คือ ระบบการรวบรวมแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูลเข้าด้วยกันโดยขจัดความซ้ำซ้อนของข้อมูลออก แล้วเก็บข้อมูลไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อใช้งานร่วมกัน

15 แสดงความสัมพันธ์ของแฟ้มแต่ละแฟ้มในฐานข้อมูล
วิชาเรียน ห้องเรียน อาจารย์ นักเรียน

16 ระบบจัดการฐานข้อมูล ในการดำเนินการกับข้อมูลในฐานข้อมูลนั้นจำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ช่วยในการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งจะทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นแฟ้มที่มีระเบียบ ง่ายต่อการใช้งาน เรียกว่า ซอฟแวร์จัดการฐานข้อมูลหรือระบบจัดการฐานข้อมูล (DataBase Management System : DBMS) โดยมีผู้จัดการฐานข้อมูล(Database Administrator: DBA) ซึ่งเป็นผู้ที่รับผิดชอบดูแลและตัดสินใจเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลทั้งหมด Database DBMS User

17 ระบบประมวลผลแฟ้มข้อมูล
แฟ้มรายวิชา แฟ้มนักศึกษา แฟ้มการลงทะเบียน Users โปรแกรมลงทะเบียน แฟ้มรายวิชา แฟ้มนักศึกษา แฟ้มการลงทะเบียน แฟ้มการเรียนประจำเทอม โปรแกรมประมวลผล การเรียนแต่ละเทอม Users ระบบประมวลผลแฟ้มข้อมูล

18 ระบบประมวลผลฐานข้อมูล
โปรแกรมจัดการรายวิชา Users โครงสร้างฐานข้อมูล ข้อมูลรายวิชา ข้อมูลนักศึกษา ข้อมูลการลงทะเบียน ข้อมูลผลการเรียน DBMS Users โปรแกรมการลงทะเบียน Users โปรแกรมประมวลผลการเรียนแต่ละเทอม ระบบประมวลผลฐานข้อมูล

19 ข้อดีของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูล
ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล (redundancy) ควบคุมความคงสภาพของข้อมูล (integrity) มีระบบป้องกันความปลอดภัยของข้อมูล (security) มีความเป็นอิสระจากโปรแกรม (dependency) รวมข้อมูลเพื่อใช้ข้อมูลร่วมกัน


ดาวน์โหลด ppt รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google