งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์

2 โครงสร้างการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
Vision : มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สปท. สนช. รัฐบาล คสช. กรธ. คณะ 1 ทรัพยากรมนุษย์ การศึกษา คณะ 3 ก.ม.กระบวนการ ยุติธรรม ปรองดอง สมานฉันท์ คณะ 4 สาธารณสุข คณะ 5 มั่นคง ลดความเหลี่อมล้ำ ทรัพยากรธรรมชาติ แก้ปัญหาเร่งด่วน คณะ 6 ท่องเที่ยว วัฒนธรรม กีฬา คณะ 2 เศรษฐกิจการเงิน การคลัง การลงทุนภาครัฐ โครงสร้างฯ ตัวขับเคลื่อน D1. การยกระดับนวัตกรรมและผลิตภาพ D3. การส่งเสริม SMEs & Start-up D6. การส่งเสริมการท่องเที่ยวและ MICE D7. การส่งเสริมการส่งออก และการลงทุนใน ตปท. D8. การพัฒนาคลัสเตอร์ ภาคอุตสาหกรรมที่เป็น New S-Curve D10. การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ D12. การสร้างรายได้และการกระตุ้น การใช้จ่ายของประเทศ ยุทธศาสตร์หลัก (Grand Strategy) 4 เสาหลัก 1) ธรรมาภิบาล 2) นวัตกรรมและผลิตภาพ 3) การยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ 4) การมีส่วนร่วมในความมั่งคั่ง ปัจจัยสนับสนุน E1.การดึงดูดการลงทุนและการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของประเทศ E2.การยกระดับคุณภาพวิชาชีพ E3.การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และประชารัฐ E4.การปรับแก้กฎหมาย และกลไกภาครัฐ E5.การศึกษาพื้นฐาน และการพัฒนาผู้นำ ลดความเหลื่อมล้ำ พัฒนาคุณภาพคน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน -ยึดความต้องการของชุมชน เป็นตัวตั้ง สร้างองค์ความรู้ในระดับชุมชน -ส่งเสริมองค์ความรู้ -พัฒนาระบบบริหารจัดการ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน -มีช่องทาง (Platform) สำหรับกิจกรรม ทางเศรษฐกิจของชุมชน หมายเหตุ : D (value driver) ตัวขับเคลื่อน, E (enable factors) ปัจจัยสนับสนุน ที่มา : คณะทำงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ (ภาคเอกชน) 11 ก.พ. 59 10/03/59

3 บุรีรัมย์ ปัญหา ๑. ขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และการเกษตร ๒. แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม ๓. ผลิตภัณฑ์ชุมชนมาตรฐานไม่เป็นที่ยอมรับระดับสากล สถานที่จำหน่ายสินค้าชุมชนไม่ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยว ๔.ไม่มีระบบกำจัดขยะ ๕. ขาดแคลนที่พักระดับมาตรฐาน ปลอดภัยและเพียงพอ ๖.ไม่มีของฝากของที่ระลึกประเภทสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ ศักยภาพ ๑. มีผลผลิตทางการเกษตร/ ปศุสัตว์ ได้แก่ ข้าวหอม มะลิ มันสำปะหลัง อ้อย ยางพารา โคเนื้อ /นม กระบือ สุกร ไก่เนื้อ 2.มีอาหารปลอดภัยและ พัฒนา Farm Stay 3.มีแหล่งโบราณสถานและ อารยธรรมขอมที่สวยที่สุด 4.ประเพณีวัฒนธรรม/ภูมิ ปัญญาที่หลากหลายชนเผ่า 5. ทำเลที่ตั้งของจังหวัดใน เส้นทาง Gate Way อินโดจีน (จ.มุกดาหาร) กับ เขตประกอบการนิคม อุตสาหกรรมภาคตะวันออก และท่าเรือแหลมฉบัง จ. ชลบุรี 6. จุดการค้าชายแดน 7. OTOP ที่เป็นเอกลักษณ์ ประจำถิ่น เช่น ผ้าไหมผ้า ฝ้าย กุ้งจ่อม กระยาสารท มีสนามฟุตบอล และ สนามแข่งรถที่ได้มาตรฐาน และมีชื่อเสียงระดับโลก 9. ถนนคนเดิน "เซราะ กราว“ ๑๐. เมืองที่ต้องห้ามพลาด ๑๑. มีภาคเอกชนที่เข้มแข็ง

4 ผ้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
SE บุรีรัมย์ การท่องเที่ยวชุมชน ข้าวภูเขาไฟ ผ้าพื้นเมืองและของที่ระลึก การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ทอผ้าไหม และผลิตสินค้าจากผลิตภัณฑ์ไหมออกจำหน่ายเป็นจำนวน 137 กลุ่ม สมาชิก 6,294 ราย มีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย เช่น ผ้าไหมตีนแดง หางกระรอกคู่ตีนแดง ผ้าฝ้ายภูอัคคี ฯลฯ ยอดจำหน่ายต่อปี 272,784,900 บาท และมีผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่นชาใบหม่อน ใบหม่อน เส้นไหม ดักแต้ เสื้อผ้า กระเป๋า ของที่ระลึกจากผ้าไหม/ผลิตภัณฑ์ไหม ในพื้นที่ อ.นาโพธิ์ และ อ.พุทไธสง ๒. ผ้าภูอัคนีที่มีชื่อเสียงผลิตจากเส้นใยฝ้ายหมักด้วยดินภูเขาไฟ ทอเป็นผ้าพันคอ ผ้าตัดชุด ผู้ผลิตใน อ.เฉลิมพระเกียรติ ๑๒๐ ราย จำหน่าย ๑,๘๙๘,๐๐๐บาท/ปี (ราคาเมตรละ ๒๐๐ บาท) ๑.หมู่บ้านท่องเที่ยวไหม/ท่องเที่ยว OTOP / ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในพื้นที่ 1๐ อำเภอ จำนวน ๓๓ หมู่บ้าน มีห้องพักโฮมสเตย์ และ ฟาร์มสเตย์ จำนวน ๒๙๓ ห้อง ราคาห้องละ 350 – 450 บาท ๒. สนามแข่งรถ เป็นสนามอันดับที่ ๑ ของประเทศ อันดับ ๘ ของเอเชีย อันดับ ๒๗ ของโลกในเนื้อ ๑,๒๐๐ ไร่ ความจุ ๕๐,๐๐๐ คน ๓. สนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐาน FIFA ที่สวยงานทันสมัยและใหญ่ที่สุดของเมืองไทยและบันทึกในกินเนสบุ๊คว่าเป็นสนามฟุตบอลระดับ FIFA ที่ก่อสร้างสั้นที่สุดในโลก(๒๖๕ วัน) ๓๒,๖๐๐ ที่นั่ง ๔. นักท่องเที่ยวมาเที่ยวบุรีรัมย์ ปีละ ๑,๘๒๕,๖๔๓ คน ๕. ปี 2558 มีการใช้สนามฟุตบอล 24 ครั้ง ผู้ชม 423,831 คน สนามแข่งรถ จำนวน 47 ครั้ง รวมทีมและผู้ชม 1,222,430 คน ๑.จังหวัดบุรีรัมย์มีพื้นที่ในการปลูกข้าวภูเขาไฟ ๘ อำเภอ ๕๐,๐๐๐ ไร่ ๒..มีกลุ่ม SME /OTOP ระดับ ๕ ดาวผลิตข้าวภูเขาไฟ บ้านโคกเมือง ต.จระเข้มาก อ.ประโคนชัย ๓.ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ มีพื้นที่การเพาะปลูก 4๑๖ ไร่จำนวน ๓๐ ราย ผลผลิต ๕๔๐ กก./ไร่ ผลผลิต ๒๒๔,๖๔๐ กก./ปี ๔.การแปรรูปผลิตภัณฑ์เป็นข้าวกล้อง ข้าวฮาง ข้าวสามสีสมุนไพร ไอศกรีมข้าวภูเขาไฟ และเส้นหมี่ ๕.ข้าวภูเขาไฟ ผลิตในพื้นที่ดินภูเขาไฟ ในเมล็ดข้าวมีธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส และแคลเซี่ยมสูง เพื่อป้องกันโลหิตจาง บำรุงผิวพรรณ กระดูก และ ข้ออักเสบ ปัญหาและความต้องการของพื้นที่ 1. ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟที่จำหน่ายมีราคาต่ำ(๙-๑๓ บาทต่อ กก.) 2. ขาดการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิ(ข้าวผสมข้ามสายพันธุ์) 3. แหล่งน้ำในแปลงไร่นาไม่เพียงพอ 4. ขาดโรงสีข้าวที่ได้มาตรฐานรองรับการแปรรูปผลผลิต ๕. ขาดทักษะในการบริหารจัดการ ๖. ขาดการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์สู่ตลาดภายนอก ๗. ขาดการแปรรูปผลผลิตที่หลากหลาย ๘. ขาดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน/จังหวัด ๙. ขาดการประชาสัมพันธ์ด้วยรูปแบบที่หลากหลายและต่อเนื่อง ปัญหาและความต้องการของพื้นที่ 1. กระบวนการในการผลิต/แปรรูปไม่ได้มาตรฐานในระดับสากล ๒. ขาดการพัฒนา/แปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม ๓. ขาดบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และมาตรฐาน ๔. ขาดการนำสตอรี่มาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ ๕. ขาดการประชาสัมพันธ์ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ปัญหาและความต้องการของพื้นที่ 1. ที่พัก/โฮมสเตย์ไม่ได้มาตรฐานสากล ๒. ขาดทักษะในการบริหารจัดการ 3. ขาดเงินลงทุน ๔. ขาดทักษะด้านภาษาในการสื่อสารกับนักท่องเที่ยว ๕. เส้นทางคมนาคมสู่แหล่งท่องเที่ยวไม่สะดวก ๖. สาธารธูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอตามความต้องการของนักท่องเที่ยว ๗. ขาดการปรับปรุงภูมิทัศน์ของหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ๘. ขาดการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายและต่อเนื่องเพื่อเชื่อมโยงสู่แหล่งท่องเที่ยว

5 การเข้าถึงปัจจัย การผลิต การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน
ข้าวภูเขาไฟ ปัญหาและความต้องการของพื้นที่ 1. ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟที่จำหน่ายมีราคาต่ำ 2. ขาดการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ 3. แหล่งน้ำในแปลงไร่นาไม่เพียงพอ 4. ขาดโรงสีข้าวที่ได้มาตรฐานรองรับการแปรรูปผลผลิต ๕. ขาดทักษะในการบริหารจัดการ ๖. ขาดการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์สู่ตลาดภายนอก ๗. ขาดการแปรรูปผลผลิตที่หลากหลาย ๘. ขาดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน/จังหวัด ๙. ขาดการประชาสัมพันธ์ด้วยรูปแบบที่หลากหลายและต่อเนื่อง หน่วยรับผิดชอบ การเข้าถึงปัจจัย การผลิต การบริหารจัดการ สร้างองค์ความรู้ การตลาด การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน ภาคเอกชน ๑.ประสานการเข้าถึงแหล่งทุน จากภาคเอกชน/ธนาคาร ๒.ประสานการจัดหาโรงสีข้าวที่ได้มาตรฐาน และการบริหารจัดการที่ดี ๑.พัฒนากระบวนการผลิต การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์ ให้ได้มาตรฐาน ๒.ส่งเสริมพัฒนาทักษะการบริหารจัดการ ๑.ส่งเสริม พัฒนากระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ๑.เชื่อมโยงผู้ซื้อและผู้ประกอบการทั้งในและนอกพื้นที่ ๑.สร้างแบรนด์ ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟบุรีรัมย์ ๒.ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางที่หลากหลาย เช่น Social Media สื่อสิ่งพิมพ์ เว็บไซต์ของหน่วยงานในเครือข่ายฯ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ภาครัฐ ๑.พัฒนาสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ ๒.ขุด เจาะ จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร ๑.ดำเนินการเรื่อง GI และสิทธิบัตร ๑. ให้ผู้ผลิต/กลุ่มประกอบการขึ้นทะเบียน OTOP ทุกกลุ่ม ๒. เชื่อมโยงร้านค้าประชารัฐ ประชาสังคม ๑.พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มผู้ปลูกข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ จังหวัด ๑.เชื่อมโยงสินค้าแปรรูปกับศูนย์กระจายสินค้า (SE บุรีรัมย์) เชื่อมโยงบุรีรัมย์ Braning

6 การเข้าถึงปัจจัย การผลิต การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน
ผ้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ปัญหาและความต้องการของพื้นที่ 1. กระบวนการในการผลิต/แปรรูปไม่ได้มาตรฐานในระดับสากล ๒. ขาดการพัฒนา/แปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม ๓. ขาดบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และมาตรฐาน ๔. ขาดการนำสตอรี่มาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ ๕. ขาดการประชาสัมพันธ์ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย หน่วยรับผิดชอบ การเข้าถึงปัจจัย การผลิต การบริหารจัดการ สร้างองค์ความรู้ การตลาด การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน ภาคเอกชน 1.ประสานการเข้าถึงแหล่งทุน จากภาคเอกชน/ธนาคาร ๑.ปรับปรุง/พัฒนาการผลิตไหม/ฝ้ายให้ได้มาตรฐานสากล ๒.ส่งเสริม/พัฒนากระบวนการผลิต การแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และได้มาตรฐานตรงกับความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม ๑.สร้างองค์ความรู้ในระบบ SE ๑.เชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยว/ที่พักในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ ๑.สร้างแบรนด์ผ้าไหม /ฝ้ายภูอัคนีบุรีรัมย์ ๒.ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางที่หลากหลาย เช่น Social Media สื่อสิ่งพิมพ์ เว็บไซต์ของหน่วยงานในเครือข่ายฯ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ภาครัฐ 1. ดำเนินการเรื่อง GI และสิทธิบัตร ๑.ส่งเสริม/จัดทำตำนานไหมบุรีรัมย์ และ/ผ้าภูอัคนีดินภูเขาไฟ ๑.เชื่อมโยงร้านค้าประชารัฐ ประชาสังคม ๑. การพัฒนากลุ่มทอผ้าไหม/ฝ้ายให้เข้มแข็ง จังหวัด ๑.เชื่อมโยงศูนย์จำหน่ายสินค้า SE บุรีรัมย์ ๑. เชื่อมโยงบุรีรัมย์ Braning

7 การเข้าถึงปัจจัย การผลิต การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน
การท่องเที่ยวชุมชน ปัญหาและความต้องการของพื้นที่ 1. ที่พัก/โฮมสเตย์ไม่ได้มาตรฐานสากล ๒. ขาดทักษะในการบริหารจัดการ 3. ขาดเงินลงทุน ๔. ขาดทักษะด้านภาษาในการสื่อสารกับนักท่องเที่ยว ๕. เส้นทางคมนาคมสู่แหล่งท่องเที่ยวไม่สะดวก ๖. สาธารธูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอตามความต้องการของนักท่องเที่ยว ๗. ขาดการปรับปรุงภูมิทัศน์ของหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ๘. ขาดการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายและต่อเนื่องเพื่อเชื่อมโยงสู่แหล่งท่องเที่ยว หน่วยรับผิดชอบ การเข้าถึงปัจจัย การผลิต การบริหารจัดการ สร้างองค์ความรู้ การตลาด การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน ภาคเอกชน ๑.สร้าง/พัฒนา /ยกระดับทีพัก /โฮมสเตย์ ๒.ประสานการเข้าถึงแหล่งทุน จากภาคเอกชน/ธนาคาร ๓. ออกแบบที่พักในรูปของโฮมสเตย์และฟาร์มสเตย์ ๑.ส่งเสริมชุมชนเครือข่ายการท่องเที่ยว ๒. การบริหารจัดการบ้านพัก โฮมสเตย์ และการบริการ ๑. เสริมสร้างความรู้ด้านการบริหารจัดการ ๑. เชื่อมโยงโรงแรม ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ๒.เชื่อมโยงกับการสนามแข่งรถและสนามฟุตบอล ๑.ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางที่หลากหลาย เช่น Social Media สื่อสิ่งพิมพ์ เว็บไซต์ของหน่วยงานในเครือข่ายฯ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ภาครัฐ ๑.พัฒนาและเพิ่มทักษะด้านภาษาในการสื่อสาร ๑.เชื่อมโยงกับประเพณีวัฒนธรรม เช่น ขึ้นเขาพนมรุ้ง แข่งเรือสตึก งานว่าว ฯลฯ ประชาสังคม ๑.การปรับปรุงภูมิทัศน์ของชุมชน ๑.ศึกษา/รวบรวมวิถีชีวิตและวัฒนธรรมสี่ชนเผ่า จังหวัด ๑.การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวชุมชนทุกมิติ(ภายใน-ภายนอก) ๑.สร้างองค์ความรู้ในระบบ SE บุรีรัมย์ ๑.สร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพตลาดการท่องเที่ยว

8 บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีบุรีรัมย์ จำกัด
คณะกรรมการบริษัท นายสุรพล เศวตเศรนี ผู้แทนภาคเอกชน นายวุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย ผู้แทนภาคประชาสังคม นางสำรวย ศรีมะเรือง ผู้แทนภาคประชาชน นายพันธ์พิชิต ล้อประสิทธิ์ ผู้แทนภาคเอกชน นายอนุชิต ทองกู้เกียรติกุล ผู้แทนภาคเอกชน นางอาทิตา สุขวาจา ผู้แทนภาคประชาสังคม นางวาสนา ปาละสาร ผู้แทนภาคประชาชน

9 บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีบุรีรัมย์ จำกัด
นโยบายและธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริษัท คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และประชารัฐจังหวัด *เสนอปัญหา/ศักยภาพจุดอ่อน/จุดแข็ง ความต้องการให้ SE จังหวัดรับดำเนินการให้ * ให้คำแนะแนวทางในการดำเนินงานแก่ SE บุรีรัมย์ ประธานกรรมการ : นายวุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย เลขานุการ : นางสำรวย ศรีมะเรือง * สร้างความเข้าใจในพื้นที่ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน * บูรณาการเชื่อมโยงของทุนภาคส่วนในพื้นที่ * เชื่อมโยงแนวทางการดำเนินงานจากคณะทำงานขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประรัฐส่วนกลาง พัฒนาธุรกิจ และค้าขาย กรรมการผู้จัดการ *ค้นหาชุมชนที่มีความพร้อมเข้าร่วมกับ SE * บริหารจัดการ SE จังหวัด สร้างรายได้ในชุมชนเพื่อให้ชุมชน มีความสุขอย่างยั่งยืน * ให้คำแนะนำเป็นที่ปรึกษาด้านการบริหาร และพัฒนาสินค้าแก่ชุมชน * หาช่องทางการตลาดและการจำหน่ายในระดับจังหวัด * ส่งเสริมสินค้าชุมชนในจังหวัดให้เป็นที่รับรู้ในระดับประเทศ นายณัฐพัชร์ ล้อธีรพันธ์ *ประกอบสัมมาชีพในสามกลุ่มหลัก เกษตร แปรรูป และท่องเที่ยวโดยชุมชน ปฎิบัติการ โคกเมือง อ.ประโคนชัย บ้านนาโพธิ์ อ.นาโพธิ์ ชุมชนหัวสะพาน อ.พุทไธสง บ้านเจริญสุข อ.เฉลิมพระเกียรติ บ้านสนวนนอก อ.ห้วยราช ชุมชนสายยาว อ.เมืองบุรีรัมย์ สัมมาชีพเต็มพื้นที่

10 บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีบุรีรัมย์ จำกัด
เกษตร แปรรูป(SME/OTOP) ท่องเที่ยวโดยชุมชน กลุ่มข้าวภูเขาไฟ นายประสิทธิ์ ลอยประโคน ประธานกลุ่มฯ มีสมาชิก 30 คน พื้นที่ 416 ไร่ กำกลังการผลิต 224,640 กก./ปี กลุ่มผ้าภูอัคนีบ้านเจริญสุข นางสำรวย ศรีมะเรือง ประธานกลุ่มฯ สมาชิก 120 คน ผลิต 126 ผืน/วัน และ ผ้าพื้น 24 เม./วัน บ้านท่องเที่ยวไหมเชิงวัฒนธรรมเขมร กระบวนการผลิตไหมแบบตั้งเดิม มีขนมโบราณ ห้องพักโอมสเตย์ จำนวน 55 ห้อง ราคา ห้องละ 450 บาท/ คืน พื้นที่ บ้านเจริญสุข ม.1,8,12 ต.เจริญสุข อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์ พื้นที่ หมู่ที่ 19 บ้านโคกเมือง ต.จระเข้มาก อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ พื้นที่ บ้านสนวนนอก หมู่ที่ 1 ต. สนวน อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหัวสะพาน นางวันทนา เพียวงศ์ สมาชิก 435 คน ผลิตเส้นไหม 1,305 กก./เดือน ราคา 1,500– 1,800 บาท/กก. ผ้าพื้น 2,570 ผืน/เดือน ราคา 2, 000 – 3,000 บาท ชุมชนถนนสายยาว บ้านท่องเที่ยวไหมเชิงวัฒนธรรมส่วย ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ห้องพักโฮมสเตย์ จำนวน 60 ห้อง ราคาห้องละ 350 บาท/คน พื้นที่ ชุมชนหัวสะพาน หมู่ที่ 3,5,13,14, ต.บ้านยาง อ.พุทไธสง จ.บุรีรัมย์ ระยะที่ 1 พื้นที่ ชุมชนถนนสายยาว หมู่ที่ 3,7,8,10,16 ต.ถลุงเหล็ก อ.เมืองบุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านนาโพธิ์ นางพิมพ์คุณัชญ์ ชาวไร่เงิน ประธานกลุ่มฯ สมาชิก 199 คน ผ้าคลุมไหล่ 2,000 ผืน /เดือน ราคา 600-1,400 บาท/ผืน พื้นที่ บ้านนาโพธิ์ หมู่ที่ 1 ต.นาโพธิ์ อ.นาโพธิ์ จ.บุรีรัมย์

11 คณะทำงานสนับสนุน SE บุรีรัมย์
ข้าวภูเขาไฟ ผ้าพื้นเมือง/ของที่ระลึก ชุมชนการท่องเที่ยว คณะทำงานสนับสนุนประกอบด้วย -ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด หัวหน้าคณะทำงาน -.หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการท่องเที่ยว คณะทำงานและเลขานุการ - น.ส.ประภัสสร ชัยสิทธิ์ นว.พช.ชำนาญการ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทำงานสนับสนุนประกอบด้วย -เกษตรจังหวัด หัวหน้าคณะทำงาน - หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สนง.เกษตรจังหวัด คณะทำงานและเลขานุการ - นางปราณีต ชำนิจศิลป์ นว.พช.ชำนาญการ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทำงานสนับสนุนประกอบด้วย -พัฒนาการจังหวัด หัวหน้าคณะทำงาน -หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน คณะทำงานและเลขานุการ นางณัฐกานต์ ศรีทอง นว.พช.ชำนาญการ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google