ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
2
ความหมายของห่วงโซ่อุปทาน
เมนท์เซอร์ และคณะ (Mentzer et al., 2001, p.11) ให้คำนิยามห่วงโซ่อุปทานหรือ Supply Chain ว่าเป็นกลุ่มของธุรกิจตั้งแต่ 3 ธุรกิจขึ้นไป ที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงของการไหลของสินค้า บริการ การเงิน และข้อมูลระหว่างกัน โดยเริ่มตั้งแต่แหล่งกำเนิดสินค้าหรือบริการผ่านไปยังผู้บริโภค และได้แบ่ง Supply Chain ออกเป็น 3 ระดับ คือ ห่วงโซ่อุปทานขั้นพื้นฐาน, ห่วงโซ่อุปทานขั้นที่ 2 และห่วงโซ่อุปทานขั้นสูง คริสโตเฟอร์ (Christopher, 2005, p.4) กล่าวว่า การจัดการห่วงโซ่อุปทาน เป็นการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างต้นน้ำกับปลายน้ำ หรือเป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งมอบสินค้ากับลูกค้าเพื่อ ส่งมอบคุณค่าที่เพิ่มขึ้นให้กับลูกค้าโดยที่มีต้นทุนของทั้งห่วงโซ่อุปทานน้อยลง พงษ์ชัย อธิคมรัตนกุล (2550, หน้า 3) หมายถึง การบริหารแบบเชิงกลยุทธ์ที่คำนึงถึงความเกี่ยวเนื่องหรือความสัมพันธ์กันแบบบูรณาการของหน่วยงานหรือแผนกในองค์กรและคู่ค้าที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า (Customer) หรือผู้ส่งมอบ (Supplier) ในห่วงโซ่อุปทาน โดยมีจุดประสงค์ที่จะนำส่งสินค้าหรือบริการตามความต้องการของผู้บริโภคให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเวลา ราคา หรือคุณภาพ สรุปได้ว่า ห่วงโซ่อุปทาน เป็นกระบวนการที่ประกอบด้วยกิจกรรมที่สำคัญต่างๆ ได้แก่ การจัดหาจัดซื้อ การจัดการสินค้าคงคลัง การผลิต การจัดเก็บ การเคลื่อนย้ายสินค้า การจัดการคลังสินค้า การขนส่ง การกระจายสินค้า การจัดการสินค้าที่ย้อนกลับ เป็นการไหลของวัตถุดิบ (Physical Flow of Materials) ข้อมูลสารสนเทศ (Flow of Information) และการไหลของเงิน (Flow of Money)
3
ประวัติการจัดการอุตสาหกรรม
เจมส์ วัตต์ ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำ เกิดการทำงานแบบโรงงานครั้งแรก อาดัม สมิธ แบ่งส่วนคนงานเป็นกลุ่มทำงานเฉพาะที่ได้รับมอบหมาย อีไล วิทนี ประดิษฐ์ชิ้นส่วนมาตรฐานและการควบคุมคุณภาพ เฟรดเดอริค เทเลอร์ บิดาแห่งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ เฮนรี่ ฟอร์ด นำสายพานการผลิตมาใช้ในโรงงานผลิตรถยนต์ วอลเตอร์ ชิวฮาท นำความรู้ทางสถิติมาใช้กับการควบคุมคุณภาพ เอ็ดวาดส์ เดมมิ่ง การควบคุมคุณภาพ(วงจรคุณภาพ) ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและค่าตอบแทนที่ดีระบบคุณภาพจะค่อยๆดีขึ้นมา
4
ปีที่ค้นพบ ผลงานที่ค้นพบ ผู้ค้นพบ 1790 1798 1913 1916 1922 1924 1950 1957 แบ่งแผนกงานให้กับคนงาน ค้นพบการใช้ชิ้นส่วนมาตรฐาน การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ สายพานการผลิตมาใช้ในอุสาหกรรม แผนภูมิแกนท์ การศึกษาการเคลื่อนไหว การควบคุณภาพ PERT / CPM ผลิตจำนวนมากตามสั่ง , โลกาภิวัตน์ อินเตอร์เนทต์, การวางแผนทรัพยากรองค์การ องค์การเรียนรู้ , คุณภาพระดับนาๆชาติ การจัดการโซ่อุปทาน อาดัม สมิธ อีไล วิทนี เฟรดเดอริค เทเลอร์ เฮนรี่ ฟอร์ด เฮนรี่ แอล แกนท์ แฟรงค์และลิเลียน กิลเบริท วอเตอร์ ชิววาท เอ็ดวาทส์ เดมมิ่ง บริษัท ดูพอนท์ ระบุบุคคลและองค์การไม่ได้เพราะผู้สร้างและอุทิศคนละเล็กน้อยและต่อเนื่องหลายคนจำนวนมาก
5
แนวโน้มในปัจจุบัน มีวิธีการที่มีแรงกระทบต่อการดำเนินงานในธุรกิจอยู่ 2 ระบบ อินเตอร์เน๊ต และธุรกิจอิเล็กทรอนิคส์(e-business) การส่งกำลังบำรุงและการจัดการโซ่อุปทาน
6
การส่งกำลังบำรุงและการจัดการโซ่อุปทาน
Distribution Center Initial Supplier First Tier Supplier Manufacturer Wholesaler Retailer End User & Customer Material Flow Financial Flow Information Flow
7
ผังโซ่อุปทาน ซับพลายเออร์ จัดหา จัดซื้อ ผลิต โลจิสติกส์ การตลาด ลูกค้า
8
Logistics Systematic Concept
Customer Supplier Distribution center Manufacturing site Carrier
9
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโซ่อุปทาน
กระบวนการลอจิสติกส์ ประกอบด้วย การจัดหายานพาหนะในการจัดส่งสินค้า พันธมิตรหรือพ่อค้าผู้เสนอขาย จัดการหาและส่งวัตถุดิบให้กับผู้แปลงสภาพหรือผู้ผลิตด้วยความสัมพันธ์อันยาว การใช้สินเชื่อของธนาคารของผู้ผลิตและผู้กระจายสินค้า สินเชื่อจากธนาคารใช้เป็นต้นทุน การจัดการคลังสินค้า การหาคลังสินค้าที่เหมาะสมกับสินค้าที่จัดเก็บ การจัดการคลังสินค้าและการกำหนดปริมาณสินค้าคงคลัง กลยุทธ์คลังสินค้า คือการจัดเก็บแบบทันเวลาหรือการสั่งซื้อแบบปริมาณประหยัด(EOQ) การจัดการใบสั่งซื้อให้ลูกค้า ผ่านพนักงานขาย คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ การจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ได้ การลอจิสติกส์ย้อนกลับ (reverse logistics) การจัดการสินค้าส่ง หน้าที่ของหีบห่อ (packaging function) ตลาดทำหน้าที่ส่งเสริมการขาย โฆษณาให้ลูกค้าซื้อใช้ การจัดการส่งและจัดเก็บวัสดุ(materials handing) การดำเนินการเคลื่อนย้ายทำให้เกิดการไหลวัตถุดิบหรือวัสดุเพื่อการผลิตให้กลายเป็นชิ้นส่วนหรือสินค้าสำเร็จรูป
10
การทำให้เกิดการมองเห็นจากต้นน้ำถึงปลายน้ำขยายตัวตามแนวตั้ง
Stores Consumers Manufacturer/Suppliers Retail DCs การสนับสนุนการไหลของข้อมูลและการเกิดขึ้นของกิจกรรมต่างๆ วัตถุดิบอยู่ที่ใด ? เมื่อไรสินค้าจะมีอยู่ในร้าน ? เมื่อไรฉันจะได้รับสินค้า ? เมื่อไรจะมาส่งถึง ? เรากระจายสินค้าพร้อมๆกับการส่งผ่านข้อมูลได้หรือไม่ เพื่อประหยัดเวลา ?
11
จบบทที่ 1 แล้วจ้า จบการนำเสนอ พบกันใหม่ Next week!
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.