ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
คาร์โบไฮเดรต อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
2
สารชีวโมเลกุล สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ สารชีวโมเลกุล (Biomolecule) เป็นสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตนำไปใช้ใน กระบวนการดำรงชีวิต จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. คาร์โบไฮเดรต 2. โปรตีน 3. ลิพิด 4. กรดนิวคลีอิก
3
คาร์โบไฮเดรต ธาตุองค์ประกอบหลัก ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ธาตุองค์ประกอบหลัก ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ทำหน้าที่เป็นสารสะสมพลังงานสำหรับสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด ได้แก่ น้ำตาล แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน แป้ง และเซลลูโลส พบในพืช ไกลโคเจน พบในตับและกล้ามเนื้อของสัตว์ แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสหลายโมเลกุลมา รวมตัวกันเป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่
4
คาร์โบไฮเดรต ประเภทของคาร์โบไฮเดรต 1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide)
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ประเภทของคาร์โบไฮเดรต 1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) 2. ไดแซ็กคาไรด์ (Disaccharide) 3. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)
5
Monosaccharide ประกอบด้วยคาร์บอน 3 ถึง 8 อะตอม
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ประกอบด้วยคาร์บอน 3 ถึง 8 อะตอม จำแนกตามจำนวนคาร์บอนที่เป็นองค์ประกอบได้ เช่น ไตรโอส (Triose) เทโทรส (Tetrose) เพนโทส (Pentose) เฮกโซส (Hexose) Pentose และ Hexose พบมากในธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่
6
Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ Pentose ที่พบมาก ได้แก่ ไรโบส และ ไรบูโรส มีโครงสร้างดังนี้
7
Monosaccharide Hexose ที่พบมาก ได้แก่ กลูโคส ฟรักโทส และ กาแลกโทส
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ Hexose ที่พบมาก ได้แก่ กลูโคส ฟรักโทส และ กาแลกโทส
8
Monosaccharide แบ่งตามหมู่ฟังก์ชัน ได้เป็น 2 ชนิด คือ
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ แบ่งตามหมู่ฟังก์ชัน ได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. แอลโดส (Aldose) มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ ได้แก่ กลูโคส กาแลกโทส ไรโบส 2. คีโตส (Ketose) มีหมู่คาร์บอนิล ได้แก่ ฟรักโตส และ ไรบูโรส
9
Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ น้ำตาล Aldose
10
Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ น้ำตาล Ketose
11
Monosaccharide สารอินทรีย์ที่มีสูตรเป็น มีสมบัติเป็นตัวรีดิวซ์
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ สารอินทรีย์ที่มีสูตรเป็น มีสมบัติเป็นตัวรีดิวซ์ เรียกว่า เป็นน้ำตาลรีดิวซ์ (reducing sugar) สามารถรีดิวซ์คอปเปอร์(II)ไอออน ในสารละลายเบเนดิกต์ เป็น คอปเปอร์(I)ออกไซด์ ซึ่งเป็นตะกอนสีแดงอิฐ ไรโบส ไรบูโรส กลูโคส ฟรักโทส กาแลกโทสสามารถทดสอบได้ด้วยสารละลายเบเนดิกต์
12
Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ
13
Monosaccharide ในธรรมชาติพบว่ามอนอแซ็กคาไรด์ส่วนใหญ่มีโครงสร้างเป็นวง
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ในธรรมชาติพบว่ามอนอแซ็กคาไรด์ส่วนใหญ่มีโครงสร้างเป็นวง โครงสร้างแบบวงเป็นโครงสร้างที่เสถียรกว่าโครงสร้างแบบโซ่เปิด การเปลี่ยนโครงสร้างแบบโซ่เปิดเป็นแบบวงเกิดจากปฏิกิริยา O ระหว่างหมู่ (-C-) กับหมู่ -OH ในโมเลกุลเดียวกัน ||
14
Monosaccharide ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของกลูโคส สารชีวโมเลกุล
เคมี อ.ณัฐ ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของกลูโคส
15
Monosaccharide ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของฟรักโทส สารชีวโมเลกุล
เคมี อ.ณัฐ ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของฟรักโทส
16
Disaccharide เกิดจากการรวมตัวของมอนอแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เกิดจากการรวมตัวของมอนอแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล ตัวอย่างเช่น ซูโครส เกิดจากกลูโคส รวมตัวกับ ฟรักโทสอย่างละ 1 โมเลกุล โดยมีพันธะไกลโคซิติก เชื่อมต่อระหว่าง 2 โมเลกุล
17
Disaccharide มอลโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส 2 โมเลกุล
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ มอลโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส 2 โมเลกุล พบได้ในข้าวมอลท์ หรือได้จากกระบวนการย่อยแป้ง ไกลโคเจน
18
Disaccharide แลกโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส และกาแลกโทส
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ แลกโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส และกาแลกโทส พบได้ในน้ำนมสัตว์
19
Polysaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่ประกอบด้วยมอนอแซ็กคาไรด์หลายๆ โมเลกุลเชื่อมต่อกัน พอลิแซ็กคาไรด์ที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิต ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน
20
แป้ง ประกอบด้วยพอลิแซ็กคาไรด์ 2 ชนิด คือ
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ประกอบด้วยพอลิแซ็กคาไรด์ 2 ชนิด คือ อะไมโลส ; พอลิแซ็กคาไรด์แบบโซ่ตรง อะไมโลเพกติน ; พอลิแซ็กคาไรด์แบบโซ่กิ่ง แป้งประกอบด้วยอะไมโลส 20% และอะไมโลเพกติน 80% พืชจะสะสมกลูโคสในรูปของแป้ง ซึ่งพบแป้งมากในข้าว มันฝรั่งถั่ว และธัญพืช
21
แป้ง สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ
22
แป้ง สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ
23
แป้ง สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ แป้งในสภาวะที่เป็นกรดจะถูกไฮโดรไลซ์ได้ง่ายได้สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กลงเรียกว่า เด็กซ์ตริน เมื่อถูกไฮโดรไลซ์ต่อไปจะได้มอลโทส และกลูโคส แป้งที่อยู่ในร่างกายจะถูกย่อยโดยเอนไซม์ อะไมเลส และ มอลเทส ซึ่งมีลำดับการไฮโดรไลซ์ดังนี้
24
เซลลูโลส สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ สำลีเป็นเซลลูโลสชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยกลูโคสจำนวนมากเชื่อมต่อกันเป็นพอลิเมอร์แบบโซ่ตรง เซลลูโลสทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของพืช การไฮโดรไลซ์เซลลูโลสอย่างสมบูรณ์จะได้กลูโคสเป็นผลิตภัณฑ์
25
ไกลโคเจน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ไกลโคเจนซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่สะสมอยู่ในเซลล์ของสัตว์ พบมากในตับและกล้ามเนื้อ ไกลโคเจนประกอบด้วยกลูโคสเชื่อมต่อกัน
26
ไคติน มีโครงสร้างคล้ายกับ Cellulose
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ มีโครงสร้างคล้ายกับ Cellulose หน่วยย่อยเป็น N-acetylglucosamine ต่อกันเป็นโมเลกุลสายยาว
27
สมบัติและปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ
28
สมบัติและปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต
สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.