ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Mini-research ตึกศัลยกรรมหญิง
2
แนวทางปฏิบัติในการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัด
ผู้นำเสนอ : นางฐิติพร ปาระมี
3
หลักการและเหตุผล เนื่องจากการปฏิบัติงานที่ผ่านมาในการเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัด พบข้อผิดพลาดเกิดขึ้นจากการเก็บรวบรวมข้อมูล เดือน พฤษภาคม – มิถุนายน มีผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัด Elective case 53 ราย พบมีข้อผิดพลาด 10 ราย คิดเป็นร้อยละ ข้อผิดพลาดที่พบ คือ... - เอกสารการเซ็นใบยินยอมรับการผ่าตัดไม่สมบูรณ์ครบถ้วน - ไม่ได้ส่งใบset OR ทาง computer
4
-ไม่ได้งดน้ำและอาหารผู้ป่วยตาม เวลา - ไม่ได้ให้ IV fluid
- ไม่มี ผล EKG ในรายที่มีข้อบ่งชี้ -ไม่ได้งดน้ำและอาหารผู้ป่วยตาม เวลา - ไม่ได้ให้ IV fluid ไม่ได้เตรียมทำความสะอาดบริเวณ ผ่าตัด - ไม่ได้เตรียม film X-RAY ไม่ได้เตรียมยาฉีดก่อนเข้า OR ป้ายข้อมือผิดข้าง
5
จากปัญหาที่เกิดขึ้นทำให้มีผลต่อผู้ป่วย เช่น เลื่อนcase หรืองด case ทำให้เกิดความล่าช้าในการรักษา
เจ้าหน้าที่แผนกศัลยกรรมหญิงได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้จึงได้จัดทำแบบฟอร์มการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อลดการเกิดข้อผิดพลาดในการเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัด
6
วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัด
7
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ลดการเกิดข้อผิดพลาดและมีแนวทางในการปฏิบัติ
8
รูปแบบการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง เชิงพรรณนา สถานที่ ตึกผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง
ผู้ป่วยแผนกศัลยกรรมหญิงที่เข้ารับการผ่าตัด Elective Case จำนวน 34 ราย
9
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ใบ check list การเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัด
10
ใบ check list การเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้า OR (Elective)
ชื่อ HN……………AN……………. Dx…………Operation………….Date……… Lab NPO EKG on IV Film อุปกรณ์เข้า OR……… FAX ยา, check ยา ป้ายข้อมือถูกข้าง Check ใบเตรียมผ่าตัด Prep skin ส่ง Set ทางคอม เซ็นยินยอม Check ชื่อ แพทย์ ใบเตรียม OR Compleate พบข้อผิดพลาด
11
วิธีการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลในผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัดโดยใช้แบบฟอร์มการเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัดที่จัดทำขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการเปรียบเทียบเป็นจำนวน ร้อยละ
12
ผลการศึกษา
13
อายุ อายุ จำนวน ร้อยละ < 20 ปี 1 2.94 21- 30 ปี 3 8.82
อายุ จำนวน ร้อยละ < 20 ปี ปี 31 – 40 ปี 41 – 50 ปี 51 – 60 ปี > 60 ปี
14
Operation operation จำนวน ร้อยละ LC 5 14.70 OC PCN Hemorrhoidectomy 1
2.94 Herniotomy
15
Operation operation จำนวน ร้อยละ T/P 2 5.88 Excision 5 14.70 STSG
Fistulectomy 1 2.94 MRM Thyroidectomy
16
ไม่พบข้อผิดพลาด 30 ราย(88.23 %)
พบข้อผิดพลาด 4 ราย (11.76 %)
17
ข้อผิดพลาดที่พบ 2. x-ray ตาม Film ไม่เจอ (แผนก x-ray หา film ไม่เจอ)
1 ไม่ได้เอา Film ไป OR 2. x-ray ตาม Film ไม่เจอ (แผนก x-ray หา film ไม่เจอ) 3. ไม่ได้ Fax ยา 4. เขียน Dx. ผิด
18
วิเคราะห์เหตุผลที่ยังผิดพลาดอยู่
บุคลากรบางคนยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ check list
19
สรุปผลการศึกษา จากการเก็บรวบรวมข้อมูลการเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัดโดยใช้แบบฟอร์มการเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัดเป็นแนวทางปฏิบัติ มีแนวโน้มการเกิดข้อผิดพลาดลดลงจากเดิม
20
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.