งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการความเสี่ยง สถานพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการความเสี่ยง สถานพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการความเสี่ยง สถานพยาบาล
Healthcare Risk Management System:HRMS ๕ เมษายน ๒๕๖๑

2 หัวข้อ/ประเด็นนำเสนอ
ทบทวนความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยง Flow Chart ระบบ การใช้งานระบบบริหารความเสี่ยง การจัดการ username

3 ความเสี่ยงคืออะไร ? ความเสี่ยง คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง มีโอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ได้แก่ การบาดเจ็บ ความเสียหาย เหตุร้าย การเกิดอันตราย สูญเสียทรัพย์สิน สูญเสียชื่อเสียง ภาพลบขององค์การ และบุคลากร เกิดความไม่แน่นอน การไม่พิทักษ์สิทธิหรือศักดิ์ศรีหรือเกิดความสูญเสียจนต้องมีการชดใช้ค่าเสียหาย ความเสี่ยงเกิดจากอะไร ? 1. สภาวะแวดล้อม 2. ภูมิศาสตร์ 3. ความไม่รู้ ความไม่ตระหนัก 4. การให้บริการ 5. การปฏิบัติงาน 6. การบริหารจัดการที่ไม่เหมาะสม

4 อุบัติการณ์ (Incidence) อุบัติการณ์คือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นนอกเหนือความคาดหมายจากการทำงานตามปกติ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse Events) ได้แก่ การบาดเจ็บ ความเสียหาย การเกิดอันตราย การไม่ พิทักษ์สิทธิหรือศักดิ์ศรีหรือเกิดความสูญเสียจนต้องมีการ ชดใช้ค่าเสียหาย ที่เกิดจากการดูแลรักษาโดยไม่ตั้งใจ (มีเหตุการณ์เกิดขึ้นแล้ว) เหตุการณ์พึงสังวร (Sentinel Events) ได้แก่ เหตุการณ์สำคัญ รุนแรงและไม่พึงประสงค์เป็นเหตุการณ์ ที่ไม่ได้คาดหมาย อาจมีผลต่อชีวิต ร่างกาย การสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะของผู้ป่วย หรือมีผลกระทบต่อชื่อเสียงของโรงพยาบาล (ซึ่งควรมีการเฝ้าระวังเชิงรุก)

5 วัตถุประสงค์ที่ต้องบริหารความเสี่ยง
1.เพื่อรับรู้ จำกัดและควบคุมผลกระทบ 2.เพื่อลดโอกาสและปริมาณความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น 3.ต้องการที่จะลดต้นทุนความเสี่ยงทางสังคม ให้ต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

6 ผลกระทบของความเสี่ยง
1. ทางกายภาพ (Physical Risk) เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับร่างกายของผู้ป่วย เช่น บาดเจ็บทุกพลภาพ ตาย เกษียณ 2. ทางอารมณ์ (Emotional Risk) เป็นสิ่งที่เกี่ยวกับการทำร้ายจิตใจ การทำให้อับอายขายหน้า เสียหน้า ทำให้เกิดความรู้สึกสับสน 3. ทางสังคม (Social Risk) เป็นสิ่งที่เกี่ยวกับสิทธิ การเปิดเผยข้อมูลบางอย่าง ทำให้เขาสูญเสียประโยชน์ 4. ทางจิตวิญญาณ (Spiritual Risk) เป็นสิ่งที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความรู้สึกไม่มั่นคง ความสูญเสีย การบริการที่ขัดกับความเชื่อทางศาสนาของผู้รับบริการ ใครมีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง ในการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดจำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกคนในหน่วยงาน เพราะการรับรู้ของแต่ละบุคคลนั้นแตกต่างกัน ความสำเร็จขึ้นอยู่กับคน ถ้าคนในองค์กรไม่ได้มีความรู้สึกว่าเขาต้องบริหารความเสี่ยงไปเพื่ออะไร เขาก็ไม่ให้ความ ร่วมมือ แล้วก็ไม่เกิดผลในการบริหารความเสี่ยงขึ้น หัวใจที่สำคัญที่สุดของการบริหารความเสี่ยง คือ เริ่มจากการให้คนในองค์กรทุกคนรู้สึกว่ามันเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องทำ และเราทุก ๆ คนต้องมีส่วนร่วม เพราะเมื่อทุก ๆ คนทำอะไรจะส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงขององค์กร ในหน้าที่ในความรับผิดชอบที่มีอยู่ ถ้าไม่เป็นไปตามนั้นหรือเราพลาดไปจากมาตรฐาน หรือ เราเกิดความผิดพลาด (Error)ใด ๆ ขึ้นมันส่งผลกระทบกับความเสี่ยงขององค์กรทั้งนั้น ดังนั้นประการแรกที่สำคัญที่สุดก็คือการสร้างความตื่นตัว (Awareness)ให้เขารู้สึกว่าเขามีส่วนร่วม และจำเป็นที่จะต้องทำ ต้องร่วมมือ

7 ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยงทั่วไป(General Risk) ความเสี่ยงทางคลินิก(Clinical Risk) คือเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย ซึ่งเกิดจากกระบวนการให้บริการกิจกรรมการตรวจวินิจฉัย และการดูแลรักษาพยาบาลหรืออุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์

8

9

10

11 HRMS Flow chart

12 HRMS Flow chart สิ้นสุดการแก้ปัญหาในระดับหน่วยงาน ยุติปัญหาได้
บันทึกรายงาน 1 1 ยืนยันความเสี่ยง ยืนยันรายงาน 2 ไม่เป็นความเสี่ยง 2 เป็นความเสี่ยง อยู่ในระหว่างดำเนินการแก้ปัญหาระดับหน่วยงาน แก้ไข (หน.หน่วยงาน) แก้ไขรายงาน 3 4 แก้ไขรายงาน 4 สิ้นสุดการแก้ปัญหาในระดับหน่วยงาน ยุติปัญหาได้ สิ้นสุดการแก้ปัญหาในระดับหน่วยงาน แต่ไม่สามารถยุติปัญหาได้

13 HRMS Flow chart สิ้นสุดการแก้ปัญหาในระดับหน่วยงาน ยุติปัญหาได้ แก้ไข
สิ้นสุดการแก้ปัญหาในระดับหน่วยงาน แต่ไม่สามารถยุติปัญหาได้ อยู่ในระหว่างดำเนินการแก้ปัญหาของกรรมการความเสี่ยง แก้ไข (กรรมการฯ) 5 แก้ไขรายงาน แก้ไขได้ในระดับกรรมการความเสี่ยง 5 แก้ไขได้ในระดับกลุ่มงาน/หน่วยงาน

14 HRMS Flow chart : บันทึกความเสี่ยง
1 หน่วยงานที่รายงาน สถานที่เกิดเหตุ กลุ่มความเสี่ยง หมวดความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยงย่อย(ถ้ามี) สรุปประเด็นปัญหา ระดับความรุนแรง วันที่เกิดความเสี่ยง วันที่ค้นพบ ช่วงเวลา หรือ เวร แหล่งที่มา/วิธีการค้นพบ ผู้ได้รับผลกระทบ เกิดกับผู้ป่วย(HN) รายละเอียดการเกิดเหตุ การจัดการเบื้องต้น 1

15 HRMS Flow chart : ยืนยันความเสี่ยง
2 ไม่เป็นความเสี่ยง 2 เป็นความเสี่ยง เลือกกลุ่ม/หน่วยงานที่แก้ปัญหา เลือกหน่วยงานหลักที่แก้ปัญหา มีหน่วยงานร่วม เลือกกลุ่ม/หน่วยงานที่แก้ปัญหา เป็น ไม่เป็น ระบุวันที่แจ้งเหตุให้ผู้แก้ไขทราบ ข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ไข 2

16 HRMS Flow chart : แก้ไขความเสี่ยงระดับหน่วยงาน
3 วันที่ดำเนินการแก้ไขปัญหา สรุปประเด็นปัญหา ผลการดำเนินการ อยู่ในระหว่างดำเนินการแก้ปัญหาระดับหน่วยงาน สิ้นสุดการแก้ปัญหาในระดับหน่วยงาน ยุติปัญหาได้ สิ้นสุดการแก้ปัญหาในระดับหน่วยงาน แต่ไม่สามารถยุติปัญหาได้ มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงพัฒนาระบบ วันที่สิ้นสุดการแก้ปัญหา ระดับหน่วยงาน ไม่ใช่ 4 การแก้ปัญหาของกลุ่ม/หน่วยงานร่วม 4 ใช่ ข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ไข 3

17 HRMS Flow chart : แก้ไขความเสี่ยงระดับกรรมการฯ
5 รายละเอียดการแก้ไข ของกรรมการความเสี่ยง สรุปผลการแก้ไขความเสี่ยง อยู่ในระหว่างดำเนินการแก้ปัญหาของกรรมการความเสี่ยง แก้ไขได้ในระดับกลุ่ม/หน่วยงาน วันที่สิ้นสุดปัญหา แก้ไขได้ในระดับกรรมการความเสี่ยง มีการพัฒนาปัญหาเชิงระบบในระดับกรรมการ ไม่ใช่ ระบบงานที่มีการปรับปรุง/พัฒนา ใช่ 5

18 HRMS on cloud

19 ขั้นตอนการเข้าระบบ เข้าสู่เว็บไซต์โรงพยาบาลบ้านไร่

20 เข้าสู่หน้าหลักจะปรากฎดังนี้

21 ที่ระบบงานภายใน ให้สังเกต “บริหารความเสี่ยง(HRMS)”

22 จะปรากฎดังนี้ เนื่องจากเป็นระบบรายงานที่ออนไลน์ จำเป็นจะต้องใช้ username และ Password ในการเข้าสู่ระบบในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การบันทีกความเสี่ยง การยืนยันความเสี่ยง และการแก้ไขความเสี่ยงในระดับหัวหน้าหน่วยงาน และระดับคณะกรรมการความเสี่ยง

23 เมื่อ Login แล้วจะเข้าสู่หน้าโปรแกรม ดังนี้

24 สิ่งที่ระบบต้องการ 1. ชื่อ – สกุล หน่วยงาน และ username (ไม่ซ้ำกัน) โดยระบบจะตั้งค่ารหัสผ่าน เหมือนกันหมดทั้งระบบเริ่มต้นที่รหัส “a12345” โดยระบบจะบังคับให้เปลี่ยนรหัสผ่าน ตอน Login ครั้งแรก 2. ผู้กรอกข้อมูล Data Set ซึ่งเป็นข้อมูลเฉพาะ

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34 ข้อปรึกษา/หารือ

35 กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ lab01-lab04 กลุ่มงานทันตกรรม den01-den08
username จะตั้งเป็นรายบุคคล โดยจะแยกเป็นหน่วยงาน(ในระบบ) กลุ่มงานบริหารฯ a01-a35 กลุ่มงานการแพทย์ dr01-07 กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ lab01-lab04 กลุ่มงานทันตกรรม den01-den08 กลุ่มงานเภสัชกรรมฯ phar01-phar14 กลุ่มงานรังสีการแพทย์ x01-x02 กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู rehab01-rehab05 กลุ่มงานประกันสุขภาพฯ hins01-hins08 กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิฯ phc01-phc12 กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยฯ ttm01-ttm16 กลุ่มงานการพยาบาล n01-n72 กลุ่มงานโภชนศาสตร์ nutri01-nutri05 ผู้ดูแลระบบ adm01-adm02 คณะกรรมการความเสี่ยง rm.. 2. กำหนดผู้กรอกข้อมูล Data set 3. การกำหนดความเสี่ยงย่อย(ในหน่วยงาน) 4. สถานที่เกิดเหตุ(ภายใน รพ.) กำหนดที่ใดบ้าง?

36 ทุกย่างก้าวมีความเสี่ยง...

37 Thank You


ดาวน์โหลด ppt ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการความเสี่ยง สถานพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google