ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMilton Jones ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
2
วิเคราะห์แบบ Infographic และ GIS พร้อม สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์
ขั้นตอนการประชุม ระดมความคิดเห็น STEPs Tasks 1) VC / CSF ปรับ VC และ กำหนด CSF 2) Data Analysis วิเคราะห์แบบ Infographic และ GIS พร้อม สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ 3) ข้อเสนอแนะนโยบาย หรือ โครงการสำคัญ เสนอโครงการหรือมาตรการจากผลการวิเคราะห์ ในขั้นตอน 3 4) Project Idea เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ
3
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2557 - 2560
วิสัยทัศน์ : เมืองท่องเที่ยวที่ทรงคุณค่า สับปะรด มะพร้าวที่หนึ่งของโลก สังคมแห่งมิตรไมตรี ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างความโดดเด่นด้านการท่องเที่ยวบนพื้นฐานเอกลักษณ์ของจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านการผลิตและ แปรรูปสับปะรด มะพร้าว และ สินค้าเกษตรสู่ตลาดโลก ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างความมั่นคงและสังคม คุณภาพตามวิถี ภูมิปัญญาไทย ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่สมดุล ยุทธศาสตร์ที่ 5 เสริมสร้างระบบสนับสนุนการบริหารเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน ที่สร้างสรรค์ เข้าสู่ประชาคมอาเชี่ยนและประชาคมโลก เป้าประสงค์ ยกระดับคุณภาพการท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด เพิ่มมูลค่าการค้าสับปะรด มะพร้าว และสินค้าเกษตรในตลาดโลก ประชาชนในสังคมอยู่ดีมีสุขและปลอดภัย สภาวะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น ระบบเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน มีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเชี่ยนและประชาคมโลก
4
ยุทธศาสตร์ 1 เสริมสร้างความโดดเด่นด้านการท่องเที่ยวบนพื้นฐานเอกลักษณ์ของจังหวัด
กลยุทธ์ 1. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดให้มีคุณภาพ 2. เสริมสร้างคุณภาพการท่องเที่ยวบนความหลากหลาย ความปลอดภัย และความคุ้มค่า 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวที่มีมาตรฐานสากล 4. ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการของจังหวัด ภาครัฐ และเครือข่ายการท่องเที่ยว 5. สร้างเสริมระบบข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และการตลาดด้านการท่องเที่ยว 6. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยว หน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้อง
5
ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว
STEP 1 ยุทธศาสตร์ 1 เสริมสร้างความโดดเด่นด้านการท่องเที่ยวบนพื้นฐานเอกลักษณ์ของจังหวัด ห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain : VC) ของผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ “การท่องเที่ยวธรรมชาติ” วาง ยุทธศาสตร์/แผนการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว/ทรัพยากร พัฒนา แหล่งและกิจกรรม ท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนา การตลาดและประชาสัมพันธ์ พัฒนาระบบบริหาร จัดการ การท่องเที่ยว พัฒนา ธุรกิจบริการการท่องเที่ยว การบริหารจัดการ ผลิตภัณฑ์สินค้า และบริการ การตลาด 1 2 3 4 5 6 7 CSF 1 มุ่งเน้นการท่องเที่ยวธรรมชาติ CSF 2 การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว CSF 3 พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว CSF 4 การจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อการท่องเที่ยว ที่ยั่งยืน CSF 5 ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว CSF 6 พัฒนาธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อาทิ สปา สนามกอล์ฟ ร้านอาหาร ของที่ระลึก CSF 7 การทำการตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ CSF 8 ประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์
6
รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น ด้านการท่องเที่ยว
รายการสถิติทางการทั้งหมด 3,102 รายการ / 66 จังหวัด รายการสถิติทางการ Common 278 รายการ รายการสถิติทางการที่ตรงกับ รายสาขา 41 รายการ / 6 สาขา - การขนส่งและโลจิสติกส์ - การท่องเที่ยวและกีฬา - ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - พลังงาน - ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม - อุตสาหกรรม รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น 10 รายการแรก ที่ รายการสถิติทางการ จำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลเหมือนกัน 1. จำนวนมัคคุเทศก์ท้องถิ่น/ผู้นำเที่ยวที่ได้รับการอบรม/พัฒนาให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติวัฒนธรรมและประเพณี และสามารถถ่ายทอดเป็นภาษาต่างประเทศได้หลายภาษา 49 2. รายได้จากการท่องเที่ยวของจังหวัดที่เพิ่มขึ้น/ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา 45 3. จำนวนนักท่องเที่ยวจำแนกตามสัญชาติ เพศ อายุ อาชีพ รายได้ รูปแบบการจัดการเดินทาง พาหนะการเดินทาง สถานที่พัก วัตถุประสงค์การเดินทาง 40 4. มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) 34 5. จำนวนคดีความเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว 27 6. ระยะเวลาการพำนักภายในจังหวัดของกลุ่มนักท่องเที่ยว 24 7. จำนวนการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง 16 8. จำนวนธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวที่ได้รับการสนับสนุนให้ขอรับการตรวจรับรองมาตรฐานเช่นร้านอาหารร้านค้าOTOPเป็นต้น 9. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงน้ำประปา/ไฟฟ้า 14 10 ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญจำแนกตามประเภท
7
จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ “การท่องเที่ยวธรรมชาติ” ผังรายการสถิติทางการ “การท่องเที่ยวทางธรรมชาติ” STEP 2
8
“การท่องเที่ยวธรรมชาติ”
ข้อมูลสารสนเทศ ด้านการท่องเที่ยว จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ “การท่องเที่ยวธรรมชาติ” STEP 2 แหล่ง ท่องเที่ยวสำคัญ วิสัยทัศน์ : เมืองท่องเที่ยวที่ทรงคุณค่า สับปะรด มะพร้าวที่หนึ่งของโลก สังคมแห่งมิตรไมตรี
9
สถานการณ์การท่องเที่ยวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวในจังหวัดฯ มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี และคาดว่าในปี 57 จะเพิ่มมากขึ้นถึง 5,000,000 คน (จากการเปรียบเทียบข้อมูลไตรมาส 4 ของทุกปีจะมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากทั้ง 3 ไตรมาส ร้อยละ 15) ที่มา : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย วิสัยทัศน์ : เมืองท่องเที่ยวที่ทรงคุณค่า สับปะรด มะพร้าวที่หนึ่งของโลก สังคมแห่งมิตรไมตรี
10
สถานการณ์การท่องเที่ยวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ช่วงเวลา 4 ปี (2553 – 2556) จำนวนผู้เข้าพักแรมเพิ่มขึ้นทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ทั้งนี้ระยะเวลาพำนักโดยเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวก็มีจำนวนวันเพิ่มขึ้น และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต ที่มา : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย วิสัยทัศน์ : เมืองท่องเที่ยวที่ทรงคุณค่า สับปะรด มะพร้าวที่หนึ่งของโลก สังคมแห่งมิตรไมตรี
11
สถานการณ์การท่องเที่ยวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ช่วงเวลา 4 ปี (2553 – 2556) นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเฉลี่ยต่อวันสูงขึ้นทำให้มีระบบการเงินหมุนเวียนของเงินดีขึ้น ส่งผลให้รายได้จากการท่องเที่ยวของจังหวัดเพิ่มขึ้นและคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคตเช่นกัน ที่มา : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย วิสัยทัศน์ : เมืองท่องเที่ยวที่ทรงคุณค่า สับปะรด มะพร้าวที่หนึ่งของโลก สังคมแห่งมิตรไมตรี
12
จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ โครงการสำคัญ / มาตรการ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ 1. ควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพแรงงานและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว ในด้านต่าง ๆ เช่น อบรมให้มีความสามารถในการสื่อสารภาษาต่างประเทศ ความรู้ความสามารถในการให้บริการแต่ละอาชีพ “การท่องเที่ยวธรรมชาติ” STEP 3
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.