ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMaria Laura Araújo ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
แผนปฏิบัติงานโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แนวทางการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การกำกับติดตามข้อมูลความครอบคลุมการได้รับวัคซีนผ่านระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (HDC dashboard) การดำเนินงานพัฒนารูปแบบการให้บริการวัคซีนในกลุ่มเสี่ยง สุรสิทธิ์ ธนปารวงศ์ กลุ่มงานควบคุมโรคติตต่อ สสจ.ลำพูน
2
แผนปฏิบัติงาน โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ประจำปีงบประมาณ 2560
3
วัตถุประสงค์ 1. กวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไป
1. กวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไป 2. กำจัดโรคหัดให้มีผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุไม่เกิน 4 ต่อประชากรล้านคน (260 ราย) 3. กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดให้เหลือไม่เกิน 1 ต่อพันเด็กเกิดมีชีพรายจังหวัด 4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน - คอตีบ ไม่เกิน ต่อประชากรแสนคน (10 ราย) - ไอกรน ไม่เกิน 0.08 ต่อประชากรแสนคน (50 ราย) - โรคไข้สมองอักเสบเจอี ไม่เกิน 0.15 ต่อประชากรแสนคน (90 ราย)
4
เป้าหมาย ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เป็นรายพื้นที่ (หมู่บ้าน, ตำบล/เทศบาล) ยกเว้น วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (วัคซีน MMR) และวัคซีนในนักเรียน มีความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เป็นรายโรงเรียน
5
กลวิธีในการดำเนินงาน
การให้บริการวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายตามกำหนดปกติ (Routine Immunization) การรณรงค์ให้วัคซีนเสริมในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค (Supplemental Immunization Activity : SIA) หรือการให้วัคซีนเพื่อควบคุมโรค (Outbreak Response Immunization: ORI) การรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง
6
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย ปี 2560
อายุ ชนิดวัคซีน แรกเกิด BCG, HB1 1 เดือน HB2 (เฉพาะรายที่มารดาที่เป็นพาหะของไวรัสตับอักเสบบี) 2 เดือน DTP-HB1, OPV1 4 เดือน DTP-HB2, OPV2, IPV1 6 เดือน DTP-HB3, OPV3 9 เดือน MMR1 1 ปี LAJE1 1 ปี 6 เดือน DTP4, OPV4 2 ปี 6 เดือน LAJE2 , MMR2 4 ปี DTP5, OPV5 7 ปี (ป.1) (MR, HB, LAJE, IPV, dT, OPV, BCG เฉพาะรายที่รับไม่ครบ) 11 ปี (ป.5) HPV* (2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 6 เดือน) 12 ปี (ป.6) dT * จังหวัดที่ได้รับการสนับสนุนวัคซีน กระทรวงสาธารณสุขจะได้แจ้งให้พื้นที่ทราบต่อไป
7
พระนครศรีอยุธยา,สิงห์บุรี
HPV นำร่อง 13 จังหวัด ปี 2560 สคร 1 จังหวัด 1 พะเยา 2 ตาก 3 นครสวรรค์ 4 พระนครศรีอยุธยา,สิงห์บุรี 5 ราชบุรี 6 ชลบุรี 7 ขอนแก่น 8 อุดรธานี 9 ชัยภูมิ 10 อุบลราชธานี 11 นครศรีธรรมราช 12 สตูล
11
การให้วัคซีนแก่เด็กที่มารับวัคซีนล่าช้า
ครั้งที่ ช่วงอายุ 1-6 ปี เดือนที่ วัคซีน 1 (เมื่อพบเด็ก ครั้งแรก) DTP-HB1, OPV1, IPV MMR1 BCG* 2 DTP-HB2, OPV2 LAJE1 3 MMR2 4 DTP-HB3, OPV3 5 12 DTP4, OPV4 LAJE 2 *1. ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น 2. ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการของโรคเอดส์
12
การให้วัคซีนแก่เด็กที่มารับวัคซีนล่าช้า
ครั้งที่ ตั้งแต่อายุ 7 ปีขึ้นไป เดือนที่ วัคซีน 1 (เมื่อพบเด็ก ครั้งแรก) dT1, OPV1 MR/MMR BCG* 2 HB1 LAJE1 3 dT2, OPV2 HB2 4 7 HB3 5 12 dT3, OPV3 LAJE 2 *1. ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น 2. ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการของโรคเอดส์
13
การให้วัคซีนในเด็กนักเรียน
14
การให้วัคซีนแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมปีที่ 1
ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของเด็กในอดีตเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการให้วัคซีน จากผู้ปกครอง จากสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ไม่มีประวัติ / ประวัติไม่แน่ชัด ให้ถือว่า เด็กไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อน
15
เกณฑ์ในการให้วัคซีน แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ข้อแนะนำ BCG - ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น - ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการของโรคเอดส์ HB - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน HB ไม่ครบตามเกณฑ์ dT - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน DTP, OPV ไม่ครบตามเกณฑ์ OPV / IPV - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน OPV ไม่ครบตามเกณฑ์ MMR / MR - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน MMR / MR ไม่ครบตามเกณฑ์ JE - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน JE ไม่ครบตามเกณฑ์
16
การให้วัคซีน BCG ในนักเรียนชั้น ป.1
ถ้าเด็กมีบันทึกประวัติการได้รับวัคซีนในอดีตระบุว่าได้รับวัคซีน BCG (สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กหรือทะเบียน/บัญชีเด็ก) ไม่ต้องให้วัคซีนอีก (ถึงแม้จะไม่มีรอยแผลเป็นจาก BCG ก็ตาม) หากตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน BCG ในอดีตไม่ได้ แต่เด็กมีรอยแผลเป็น BCG ไม่ต้องให้วัคซีนอีก ถ้าเด็กไม่มีรอยแผลเป็นจาก BCG และไม่มีบันทึกว่าได้รับวัคซีน BCG ในอดีตจากสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ต้องให้วัคซีน BCG 1 ครั้ง - ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการของโรคเอดส์ 16
17
การให้วัคซีน HB ในนักเรียนชั้น ป
ประวัติการได้รับวัคซีน HB/DTP-HB จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 3 เข็มที่ 1 ป.1 เข็มที่ 2 ป.1 (≥ 1 เดือน) เข็มที่ 3 ป.2 (≥6 เดือน) 1 เข็ม 2 เข็มที่ 2 2 เข็ม 1 เข็มที่ 1 ป.1 (≥6 เดือน) 3 เข็ม ไม่ต้องให้
18
การให้วัคซีน dT ในนักเรียนชั้น ป
การให้วัคซีน dT ในนักเรียนชั้น ป.1 ตามประวัติการได้รับวัคซีน DTP-HB / DTP ก่อนเข้าเรียน ประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของ คอตีบ-บาดทะยัก (DTP-HB, DTP) จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 3 เข็มที่ 1 ป.1 เข็มที่ 2 ป.1 (≥ 1 เดือน) เข็มที่ 3 ป.2 (≥6 เดือน) 1 เข็ม 2 เข็มที่ 2 2, 3, 4 เข็ม 1 เข็มที่ 1 ป.1 (≥6 เดือน) 5 เข็ม ไม่ต้องให้
19
การให้วัคซีน OPV / IPV ในนักเรียนชั้น ป
ประวัติการได้รับ วัคซีนโปลิโอ* จำนวนครั้งที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 3 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 (≥ 1 เดือน) ครั้งที่ 3 (≥6 เดือน) 1 ครั้ง 2 ครั้งที่ 2 (≥6 เดือน) 2, 3, 4 ครั้ง 1 5 ครั้ง ไม่ต้องให้ ให้วัคซีน IPV 1 เข็ม พร้อม OPV ในกรณีต่อไปนี้ 1. เด็กที่ได้รับวัคซีน tOPV** น้อยกว่า 3 ครั้ง และไม่เคยได้รับ IPV 2. เคยได้รับ IPV 1 ครั้ง เมื่ออายุน้อยกว่า 4 เดือน (วัคซีน tOPV** มีให้บริการถึงวันที่ 22 เม.ย หลังจากนั้น เปลี่ยนเป็น bOPV***) * ในกรณีที่ได้รับวัคซีน OPV พร้อม IPV ให้นับรวมเป็น 1 ครั้ง ** tOPV = Trivalent OPV เป็นวัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน ประกอบด้วย ทัยป์ 1, 2 และ 3 ปัจจุบันยกเลิกการใช้แล้ว *** bOPV = Bivalent OPV เป็นวัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน ประกอบด้วย ทัยป์ 1 และ 3
20
การให้วัคซีน MMR / MR ในนักเรียนชั้น ป
จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 1 เข็มที่ 1 1 เข็ม เข็มที่ 1 (≥ 1 เดือน) 2 เข็ม ไม่ต้องให้
21
การให้วัคซีน LAJE ในนักเรียนชั้น ป
ประวัติการได้รับวัคซีน LAJE จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 2 เข็มที่ 1 ป.1 เข็มที่ 2 ป.2 (≥ 12 เดือน) ได้ JE ชนิดเชื้อตาย 1 เข็ม ได้ JE ชนิดเชื้อตาย 2 เข็ม 1 เข็มที่ 1 (≥ 12 เดือน) ได้ JE ชนิดเชื้อตาย 3 เข็ม ไม่ต้องให้ ได้ JE ชนิดเชื้อเป็น 1 เข็ม เข็มที่ 1 (≥ 12 เดือน) ได้ JE ชนิดเชื้อเป็น 2 เข็ม
22
การให้วัคซีนแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6
ให้วัคซีน dT ทุกคน 22
23
การให้วัคซีนในหญิงมีครรภ์
24
จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ
การได้รับวัคซีนป้องกัน dT จำแนกตามประวัติการได้รับ วัคซีนที่มีส่วนประกอบของวัคซีนบาดทะยัก (DTP-HB/DTP/dT/TT) ประวัติการได้รับวัคซีน ที่มีส่วนประกอบของบาดทะยัก (DTP-HB, DTP, dT, TT) จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ / ไม่ทราบ* 3 0 (ทันที) 1 เดือน 6 เดือน กระตุ้นทุก 10 ปี 1 เข็ม ไม่ว่าจะนานเท่าใด 2 2 เข็ม ไม่ว่าจะนานเท่าใด 1 3 เข็ม นานกว่า 10 ปี 3 เข็ม น้อยกว่า 10 ปี DTP ครบ 5 เข็ม และ dT ป. 6 นานกว่า 10 ปี * ถ้าภายหลังฉีดแล้วประมาณ 4-12 ชั่วโมง เกิดปฏิกิริยา ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณที่ฉีด (Arthus reaction) แสดงว่าเคยได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของบาดทะยักมาแล้วและมีระดับภูมิคุ้มกันสูง ให้หยุดฉีด dT อย่างน้อย 10 ปี
25
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560 กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน
26
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
มาตรฐานการบริหารจัดการลูกโซ่ความเย็น มาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีน มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แบบประเมิน การบริหารจัดการวัคซีนและ ระบบลูกโซ่ความเย็น ในระดับคลังอำเภอ การปฏิบัติงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรคในระดับ หน่วยบริการ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
27
การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
แบบประเมิน การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ในระดับคลังอำเภอ (รพศ. / รพท. และ รพช.) ปีงบประมาณ 2560 ตอนที่ 1 การบริหารจัดการทั่วไป (6 คะแนน) ตอนที่ 2 (41 คะแนน)
28
การปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระดับหน่วยบริการ
แบบประเมิน การปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระดับหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2560 ด้านที่ 1 มาตรฐาน การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ด้านที่ 2 มาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีน ด้านที่ 3 มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สรุปคะแนน เนื้อหา หน่วยบริการ รพ. รพ.สต./PCU/ สอ. ด้านที่ 1 …….……/ 40 คะแนน ด้านที่ 2 …….……/ 52 คะแนน ด้านที่ 3 …….……/ 14 คะแนน …….……/ 12 คะแนน รวมทั้งหมด …….……/106 คะแนน …….……/104 คะแนน 28
29
แนวทางการประเมินมาตรฐานฯ ในระดับจังหวัด
สสจ. นิเทศ ติดตาม ประเมินมาตรฐานฯ ที่คลังวัคซีนระดับอำเภอ ทุกแห่ง และสุ่มสถานบริการในแต่ละอำเภอ อย่างน้อย 1 แห่ง สสอ. และ รพ. แม่ข่าย (CUP) นิเทศ ติดตามประเมินมาตรฐานฯ ของสถานบริการในเครือข่าย 29
30
ประเมินมาตรฐานฯ ปี 60
31
กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การกำกับติดตามข้อมูลความครอบคลุมการได้รับวัคซีนผ่านระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (HDC dashboard) กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 31
32
สิ่งที่จะดำเนินการในปี 2560
ติดตาม ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG ,HBV1, DTP-HBV3,โปลิโอ3, MMR1 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP4,โปลิโอ4,JE ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน JE,MMR2 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP5,โปลิโอ5
36
ข้อแก้ไขสำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานต่ำ
ข้อสังเกตุ ระบบการจัดการตัวข้อมูลพบว่า ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนไม่สัมพันธ์กับสิ่งที่เราได้ดำเนินการ หน่วยบริการที่มีประชากรหนาแน่น การอัพเดดข้อมูล ปชก.เป้าหมายทำได้…เหนื่อย ความถี่ของการอัพเดด& การตรวจสอบ ของ ปชก.กลุ่มเป้าหมาย ความเป็นปัจจุบันของรหัสวัคซีน(ทุกชนิด) การปรับเปลี่ยนผู้รับผิดชอบและการมอบหมายงาน ข้อแก้ไขสำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานต่ำ 1.ตรวจสอบความครอบคลุมรายสถานบริการ 2.แก้ไขฐานประชากรให้ถูกต้อง รหัส 1,3 3.ตรวจสอบความครบถ้วนของการบันทึกข้อมูลของการให้บริการวัคซีนในเด็กหากไม่ครบถ้วนให้ติดตามมาบันทึกเพิ่ม 5.กม.ศูนย์ข้อมูลระบดับอำเภอ./จังหวัด.
37
แฟ้มสถานะบุคคล 1=มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบและอยู่จริง 2= มีชื่ออยู่ตามทะเบีบนบ้านในเขตรับผิดชอบแต่ตัวไม่อยู่จริง 3= มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ(ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ)แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ 4= ที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบและทะเบียนบ้านไม่อยู่ในเขตรับผิดชอบ เข้ามารับ บริการหรือเคยอยู่ในเขตรับผิดชอบ 5=มาอาศัยในเขตรับผิดชอบแต่ไม่ได้อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ เช่น คนเร่ร่อนไม่มีที่พักอาศัย เป็นต้น
38
3 2 1
41
วิธีการคำนวน MMR coverage
แฟ้มสถานะบุคคล 1=มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบและอยู่จริง 2= มีชื่ออยู่ตามทะเบีบนบ้านในเขตรับผิดชอบแต่ตัวไม่อยู่จริง 3= มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ(ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ)แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ 4= ที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบและทะเบียนบ้านไม่อยู่ในเขตรับผิดชอบ เข้ามารับ บริการหรือเคยอยู่ในเขตรับผิดชอบ 5=มาอาศัยในเขตรับผิดชอบแต่ไม่ได้อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ เช่น คนเร่ร่อนไม่มีที่พักอาศัย เป็นต้น วิธีการคำนวน MMR coverage ปีงบฯ2559 ตัวหาร ตัวตั้ง MMR1 coverage เด็กที่มีอายุครบ 1 ปี ในปีงบฯ2559 (เกิด ต.ค.57 –ก.ย.58) เด็กอายุครบ 1 ปี ในปี 2559 ที่ได้รับ MMR1 (Service ตั้งแต่ ก.ค.58) MMR2 coverage เด็กที่มีอายุครบ 3 ปี (เกิด ต.ค.55 –ก.ย.56) เด็กอายุครบ 3 ปี ในปี 2559 ที่ได้รับ MMR2 (Service ตั้งแต่ มี.ค.58-มี.ค.59)
42
การดำเนินงานพัฒนารูปแบบการให้บริการวัคซีน
ในกลุ่มเสี่ยง
43
นิยามของกลุ่มเสี่ยง ประชากรเคลื่อนย้าย ทั้งแรงงานไทย และต่างด้าว ประชากรที่อยู่ในพื้นที่สูง ชายแดน ทุรกันดาร ชาวเขา และห่างไกลจากการเข้าถึงสถานบริการสาธารณสุข ประชากรที่อยู่ในพื้นที่ที่มีระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ หรือมีประวัติ การเกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (VPDs) ประชากรในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือพื้นที่ที่มีปัญหาความไม่สงบ กลุ่มของประชากรที่ได้รับวัคซีนไม่ครบชุด/ครบถ้วนตามเกณฑ์ หรือไม่ได้รับวัคซีนเลย มีโอกาสติดเชื้อบ่อยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน หรืออาจจะเป็นอัมพาต หรือเสียชีวิตได้ ซึ่งสามารถแพร่กระจายโรคในชุมชนได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.