ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSusanti Makmur ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
ของผลงานวิชาการจากฐานข้อมูลสากล (International Databases) สู่ฐานข้อมูลซึ่งใช้โปรแกรม DSPACE ได้แบบอัตโนมัติ นายปราชญ์ สงวนศักดิ์ นางสาวดวงฤทัย ณ ทุ่งฝาย นางสาวภิญญาพัชญ์ ญานะคำ
2
คลังปัญญามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Intellectual Repository : CMUIR) เริ่มจัดทำเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2557 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างฐานข้อมูลรวบรวมผลงานวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง 4 หน่วยงาน ได้แก่ ศูนย์บริหารการวิจัย สำนักหอสมุด บัณฑิตวิทยาลัย และสำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
Journal Articles Conference Papers Research Theses / IS e-Journals Patents Book chapter Working Papers Official report or Project
4
หน้าที่ของห้องสมุดในการจัดการข้อมูลใน CMU IR
กำหนด Metadata ให้ครอบคลุมผลงานวิชาการทุกประเภท การดำเนินการนำเข้าวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าแบบอิสระ (Thesis/IS) โดยการตรวจสอบแก้ไขข้อมูลและเผยแพร่ การนำผลงานที่ตีพิมพ์ในระดับสากลเข้าฐานข้อมูล CMU IR
6
ตัวอย่างสถาบันการศึกษาที่ใช้ DSPACE
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลังปัญญาจุฬาฯ เพื่อประเทศไทย (The Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR)) มหาวิทยาลัยมหิดล ฐานข้อมูลคลังสารสนเทศสถาบันของมหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University Institutional Repository Database –Mahidol - IR) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Knowledge Bank)
7
ฐานข้อมูลที่สำนักหอสมุดมีอยู่
CMU e-Theses CMU e-Research CMU Scholarly Research Report
8
การขอเข้าดูงานเชิงลึก
วันที่ 3-4 ตุลาคม บรรณารักษ์และนักวิชาการ คอมพิวเตอร์ จากหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอ เข้าร่วมดูงานเชิงลึกเกี่ยวกับ การเชื่อมโยงข้อมูลข้อมูล ผลงานวิชาการจากฐานข้อมูล สากล
9
การขอเข้าดูงานเชิงลึก
วันที่ มกราคม บุคลากรจากหอสมุดและคลัง ความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ขอ เข้าร่วมดูงานเชิงลึกเกี่ยวกับ การเชื่อมโยงข้อมูลข้อมูล ผลงานวิชาการจากฐานข้อมูล สากลกับโปรแกรม DSPACE
10
OBJECTIVE เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูล สากล ให้สามารถนำเข้าข้อมูลทาง บรรณานุกรมของผลงานวิชาการสู่คลัง ปัญญา (Intellectual Repository) ซึ่ง พัฒนาโดยใช้โปรแกรม DSPACE ได้ แบบอัตโนมัติ เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงที่สามารถ ตรวจสอบความถูกต้องและความซ้ำซ้อน ของข้อมูลที่มีอยู่ในโปรแกรม DSPACE เพื่อจัดทำ Cloud Platform ให้ หน่วยงานอื่นที่ใช้โปรแกรม DSPACE ในการพัฒนาฐานข้อมูล ให้สามารถ เชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลสากลกับ ฐานข้อมูลของหน่วยงานได้
11
DEVELOPMENT PROCESS
12
SYSTEM MODEL
13
เครื่องมือที่ใช้ Node JS + Express Angular DSPACE API
14
ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
15
ผลการทดสอบ จากการทดสอบระบบโดยการ เชื่อมโยงข้อมูลกับคลังปัญญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า ระบบระบบเชื่อมโยงข้อมูลทาง บรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสากล สามารถใช้งานได้ดี มีความ แม่นยำในระดับ 100% รวบรวมระเบียนบรรณานุกรม ตั้งแต่ปี พ.ศ (ค.ศ.2010 – 2019) ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2561 ลงคลัง ปัญญามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จำนวน 11,003 ระเบียน ภายในระยะเวลา 1 ชั่วโมง
16
ปัญหาและอุปสรรค DSPACE สามารถกำหนดเขต ข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจาก มาตรฐานที่มีให้ได้ ดังนั้นใน เขตข้อมูลดังกล่าวจึงไม่ สามารถนำเข้าข้อมูลแบบ อัตโนมัติได้
17
แนวทางการแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบให้ผู้ใช้งาน สามารถกำหนดเขตข้อมูลด้วย ตนเองโดยการผสมเขตข้อมูลที่ มีอยู่ในฐานข้อมูลได้
18
การวิพากษ์ระบบ วิพากษ์ระบบโดย ข้อเสนอแนะ
ห้องสมุดชั้นนำในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 7 แห่ง ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ ของ สถาบันการศึกษา 2 แห่ง ได้รับความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (4.30) ข้อเสนอแนะ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ควรจัด อบรมการใช้งานระบบเชื่อมโยงข้อมูลทาง บรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสากลให้กับ หน่วยงานภายนอก สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ควร เปิดระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรมจาก ฐานข้อมูลสากลให้หน่วยงานภายนอกเข้าถึงได้
19
Integrations วางแผนเชื่อมโยงข้อมูล Book Chapter ที่อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลเขียนไว้ใน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สู่ Mahidol IR
20
Q/A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.