งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด
การค้าปลีก อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด

2 ลักษณะของการค้าปลีก และหน้าที่ของธุรกิจการค้าปลีกที่สำคัญ
การค้าปลีก(Retailing) เป็นกิจกรรมที่เพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการที่ขายให้กับผู้บริโภค

3 หน้าที่ของธุรกิจการค้า
1. การจักหาผลิตภัณฑ์และการบริการที่หลากหลาย 2. การตัดสินใจในส่วนประสมของสินค้าและบริการ 3. การทยอยขาย 4. การเก็บรักษาสินค้าคงเหลือ 5. การจัดหาบริการ 6. การจัดแสดงสินค้าและบริการเพิ่มเติม 7. การเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ

4 8. การให้ความสะดวกด้านเวลา
9. การจัดหาทำเลที่ตั้ง 10. การให้ความสะดวกด้านขนาด 11. ข้อมูลข่าวสารทางการตลาด 12. การใช้กลยุทธ์ที่สอดคล้องกับรูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้บริโภค

5 คุณสมบัติการค้าปลีก ทำเลที่ตั้งที่อำนวยความสะดวกให้กับลูกค้า ขนาด
การบริหารงานการเสนอขายสินค้า ราคา คุณภาพและการบริการ

6 การค้าปลีกที่ประสบความสำเร็จ
ปัจจัยสู่ความสำเร็จของกาค้าปลีก 1. ผู้ค้าปลีกต้องกำหนดตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ในตลาด 2. ผู้ค้าปลีกต้องให้การสนับสนุนตำแหน่งผลิตภัณฑ์ในตลาด 3. ผู้ค้าปลีกต้องบริหารการดำเนินงานในร้านค้าให้เกิดประสิทธิผล 4. ผู้ค้าปลีกต้องบริหารการดำเนินงานในด้านอื่นๆ ให้เกิดประสิทธิผล 5. ผู้ค้าปลีต้องรักษาความสัมพันธ์อันดีระหว่างธุรกิจกับประชาชน

7 การค้าปลีกที่ประสบความสำเร็จ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการค้าปลีก 1. การติดต่อสื่อสาร(Communication) 2. ระบบคอมพิวเตอร์(Computerisation) 3. แฟชั่น(Fashion) รูปแบบ(Style) และความเห่อ(Fad) 4. ลัทธิผู้บริโภคนิยม(Consumerism)

8 คุณสมบัติของผู้ประกอบการค้าปลีก
1. ลักษณะส่วนบุคคล 2. ทักษะและคุณสมบัติเฉพาะของบุคคล

9 ข้อดีและข้อจำกัดของการค้าปลีก
ข้อดีของกรค้าปลีก มีทางเลือกกว่าจะเป็นธุรกิจของตังเองหรือรับสิทธิทางการตลาด มีทางเลือกรูปแบบของการค้าปลีกได้หลายทาง ง่ายต่อการทำธุรกิจ เป็นอุตสาหกรรมที่มุ่งความสำคัญที่บุคคล/ลูกค้า เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง

10 ข้อดีและข้อจำกัดของการค้าปลีก
6. เป็นธุรกิจที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผู้ขายจำนวนน้อยหรือลูกค้าจำนวนน้อย 7. มีกฎเกณฑ์ที่ได้ใช้ความพยายามและได้มีการทดสอบในธุรกิจการค้าปลีกมาแล้ว 8. มีโอกาสเติบโตอย่างมั่นคงและด้านวัฒนธรรม 9. ธุรกิจการค้าปลีกสามารถหาสินเชื่อได้ง่ายในการขยายกิจการ 10. การเสียภาษีในอัตราต่ำ

11 *ข้อจำกัดของกรค้าปลีก
การได้รับผลตอบแทนต่ำ เกิดการเผยแพร่ข่าวสารในทางลบได้ง่าย ชั่วโมงการทำงานไม่แน่นอน ขาดผู้เชียวชาญในการทำธุรกิจการค้า

12 การบริหารการค้าปลีก และการสร้างข้อได้เปรียบ ทางการแข่งขัน
บทที่2 การบริหารการค้าปลีก และการสร้างข้อได้เปรียบ ทางการแข่งขัน

13 การบริหารการค้าปลีกและกระบวนการตัดสินใจในการบริหารการค้าปลีก
1. การวิเคราะห์สถานการณ์การค้าปลีก 2. การกำหนดกลยุทธ์การค้าปลีก 3. การบริหารสินค้า 4. การบริหารร้านค้า

14 ขั้นตอนการวางแผนการค้าปลีกเชิงกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์การค้าปลีกเชิงกลยุทธ์ 1. การกำหนดภารกิจของธุรกิจการค้าปลีก 2. การตรวจสอบสถานการณ์

15 การสร้างข้อได้เปรียบ ทางการแข่งขันที่ยั่งยืนของธุรกิจการค้าปลีก
การสร้างข้อได้เปรียบทางการแข่งขันที่ยั่งยืน วิธีการสร้างข้อได้เปรียบทางการแข่งขันที่ยั่งยืน 1. ทำเลที่ตั้ง 2. การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า 3. การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ขาย 4. โครงสร้างองค์กรและการบริหารทัพยากรมนุษย์ 5. การบริหารลูกค้าและสินค้า

16 กลยุทธ์การเจริญเติบโตในธุรกิจ การค้าปลีกและระบบแฟรนไชส์
บทที่3 กลยุทธ์การเจริญเติบโตในธุรกิจ การค้าปลีกและระบบแฟรนไชส์

17 กลยุทธ์การเจริญเติบโต หรือกลยุทธ์การขยายตัวของธุรกิจการค้าปลีก
กลยุทธ์การเจริญเติบโตหรือกลยุทธ์การขยายตัว 1. กลยุทธ์การขยายตัวแบบเข้มข้น 2. กลยุทธ์การขยายตัวจากการกระจายธุรกิจ 3. กลยุทธ์การขยายตัวแบบรวมตัว

18 ธุรกิจแฟรนไชส์ ประเภทของระบบแฟรนไชส์
1. แฟรนไชส์ระบบ A (System A franchising) 2. แฟรนไชส์ระบบ B (System B franchising) 3. แฟรนไชส์ระบบ C (System C franchising)

19 หลักเกณฑ์ของการทำธุรกิจแบบแฟรนไชส์
บริษัทให้สิทธิกับบริษัทรับสิทธิต่างมีพันธะผูกพันต่อกันตามสัญญา บริษัทให้สิทธิจะให้บริษัทรับสิทธิใช้เครื่องหมายการค้า บริษัทรับสิทธิกับบริษัทรับสิทธิจะขายสินค้าหรือบริการอย่างเดียวกัน บริษัทรับสิทธิต้องจ่ายค่าสมาชิก ค่าสิทธิ ค่าสัญญา และเงินลงทุน

20 การเตรียมตัวก่อนเข้าร่วมระบบแฟรนไชส์
เข้าใจวัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจ อ่านสัญญาให้เข้าใจ ต้องมีเงินทุนมากพอ ต้องรู้จักทำงามร่วมกับผู้อื่น ต้องลุยงานและมีความพยายาม

21 การเลือกบริษัทให้สิทธิ
บริษัทแห่งนั้นประกอบธุรกิจประเภทไหน การขยายตัวและการบริหารงานอย่างไร ต้องดูความก้าวหน้าของสมาชิกในเครือ ความช่วยเหลือที่ได้รับจากบริษัทให้สิทธิ ค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียให้กับบริษัทให้สิทธิ เนื้อหาของสัญญาและเงื่อนไขในการร่วมมือกัน

22 เคล็ดลับในการบริหารร้านแฟรนไชส์
ใช้เงินทุนอย่างเหมาะสม ต้องเอาการเอางาน เลือกทำเลดีๆก่อนเปิดร้าน ต้องดำเนินธุรกิจตามแนวทางของบริษัทให้สิทธิ ต้องมีความรู้ในวิชาชีพ

23 บทที่4 การจัดประเภทการค้าปลีก การค้าปลีกแบบมีร้านค้า
การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

24 การจัดประเภทของการค้าปลีก
การค้าปลีกแบบมีร้านค้า ร้านขายของชำหรือร้านโชห่วย ร้านสรรพหารขนาดย่อมหรือร้านมินิมาร์ท ร้านขายสินค้าเฉพาะสายผลิตภัณฑ์ ห้างสรรพสินค้า ร้านสรรพหารขนาดหรือซูเปอร์มาร์เก็ต

25 6. ร้านค้าสะดวกซื้อ 7. ร้านขายสินค้าแบบเน้นสินค้าราคาถูก 8. ร้านขายของลดราคา 9. ร้านสรรพหารขนาดใหญ่หรือดีซูเปอร์สโตร์ 10. ร้านค้าแบบคลังสินค้า 11. ร้านค้าที่ใช้แคตตาล็อก

26 การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
ผู้ค้าปลีกแบบใช้แคตตาล็อก ผู้ค้าปลีกแบบขายตรง ผู้ค้าปลีกแบบขายสินค้าผ่านสื่อโทรทัศน์ ผู้ค้าปลีกแบบขายสินค้าผ่านอิเล็กทรอนิกส์

27 องค์การที่ทำการค้าปลีก
ร้านค้าของบริษัทแบบลูกโซ่ ร้านค้าปลีกลูกโซ่แบบสมัครใจ การร่วมมือกันแบบลูกโซ่ของสหกรณ์ผู้ค้าปลีก ร้านสหกรณ์ผู้บริโภคแบบลูกโซ่ องค์การสิทธิทางการค้าหรือองค์การแบบแฟรนไชส์ การร่วมมือกันบริหารสินค้า การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ

28 การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
วิธีการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. การฝากสินค้าขายข้างบน Shopping mall 2. สร้าง Web site การออกแบบเว็บไซต์ องค์ประกอบ context ส่วนประกอบเป็นเนื้อหา เป็นที่สำหรับชุมนุมชน

29 4. การทำให้ตรงกับความต้องการเฉพาะของลูกค้า
5. การสื่อสาร 6. การเชื่อมโยง 7. การค้า การจัดทำฐานข้อมูล การใช้บริการจากพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

30 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของการค้าปลีกที่ใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการยอมรับการค้าปลีกที่ใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ความการที่จะทดลองซื้อสินค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ การยอมรับความเสี่ยงในการซื้อสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการซื้อสินค้าผ่านอินเตอร์เน็ต

31 ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของ ร้านค้าปลีกที่ใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การมีชื่อตราสินค้าและภาพลักษณะที่แข็งแกร่ง ข้อมูลส่วนตัวของลูกค้า การให้บริการขายสินค้าและบริการเสริม สินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ การเสนอการขายสินค้าที่เป็นรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ การกระจายสินค้าที่มีประสิทธิภาพ

32 ทำเลที่ตั้งและตำแหน่งที่ตั้ง ของร้านค้าปลีก
บทที่5 ทำเลที่ตั้งและตำแหน่งที่ตั้ง ของร้านค้าปลีก

33 ลักษณะของทำเลที่ตั้งของร้านค้าปลีก
ทำเลที่ตั้งตามตรอก ซอย หรือย่านชาญเมือง ทำเลที่ตั้งในด้านชุมชนหรือตัวเมือง ทำเลที่ตั้งในด้านธุรกิจการค้า

34 รูปแบบของทำเลที่ตั้งของร้านค้าปลีก
ศูนย์กลางธุรกิจ ศูนย์การค้า ธุรกิจตั้งโดยลำพัง ทำเลบริการ

35 ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงการเลือกทำเลที่ตั้ง
ธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้อง การเจรจาและการสัญจรไปมาของลูกค้า ขนาดของเขตการค้าหรือทำเลการค้า ลักษณะในการเลือกซื้อสินค้าของลูกค้า

36 การเลือกทำเลที่ตั้ง การเลือกทำเลที่ตั้งในระยะยาว
การเลือกทำเลที่ตั้งของการค้าปลีก การกำหนดพื้นที่ที่จะตั้งร้านค้า การจัดลำดับ การพิจารณาถึงคุณสมบัติของตำแหน่งที่ตั้งที่เหมาะสม

37 การออกแบบร้านค้า การจัดแผนผังร้านค้า และการจัดวางสินค้าเพื่อเสนอขาย
บทที่6 การออกแบบร้านค้า การจัดแผนผังร้านค้า และการจัดวางสินค้าเพื่อเสนอขาย

38 การออกแบบร้านค้า หลักการออกแบบร้านค้า
บรรยากาศของร้านค้าต้องสอดคล้องกับภาพพจน์ของร้านค้า การออกแบบร้านค้ามีผลต่อการตัดสินใจซื้อของลูกค้า ประสิทธิภาพของการใช้สอยพื้นที่ว่าสามารถก่อให้เกิดยอดขายมากน้อยเพียงใด

39 การออกแบบร้านค้า แผนผังร้านค้า ความสำคัญของแผนผังร้านค้า ความสะดวก
มาตรฐาน ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการจัดตั้งแผนผังร้าน ขนาดและรูปร่างของพื้นที่ร้าน การตั้งของอุปกรณ์ต่างๆ

40 3. ชนิดและประเภทของสินค้าที่มีอยู่
4. ประเภทของการดำเนินงาน 5. ลักษณะและพฤติกรรมในการซื้อของลูกค้า 6. ลักษณะและจำนวนของเครื่องมือที่ต้องติดตั้ง 7. ความพึงพอใจส่วนตัวของผู้ค้าปลีก หลักในการจัดทำแผนผังร้านค้า ความสะดวก ใช้พื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สู.สุด ไม่มีมุมอับ

41 4. กำหนดทางเดินสำหรับลูกค้า
5. ควรจัดสินค้าที่มีความสัมพันธ์กับไว้ใกล้กัน 6. ต้องมีความยืดหยุ่น ต้องทำให้สวยงามและน่าสนใจ รูปแบบของการจัดแผนผังร้านค้าปลีก การจัดแผนผังร้านค้าแบบตาข่าย การจัดแผนผังร้านค้าแบบลู่แข่ง การจัดแผนผังร้านค้าแบบอิสระ

42 รูปแบบของพื้นที่จัดแสดงสินค้า
การจัดพื้นที่ให้ดูเด่น พื้นที่ในการจัดแสดงสินค้า ผนัง

43 เทคนิคการนำเสนอสินค้า
ควรจัดแสดงชนิดของสินค้าที่สอดคล้องกับภาพลักษณ์ของสินค้า รูปแบบในการนำเสนอสินค้า ต้องเหมาะกับรูปแบบผลิตภัณฑ์ ศักยภาพในการทำกำไรของผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลต่อการนำเสนอ

44 ลูกค้าขอธุรกิจการค้าปลีก และพฤติกรรมการซื้อ
บทที่7 ลูกค้าขอธุรกิจการค้าปลีก และพฤติกรรมการซื้อ

45 การแบ่งส่วนตลาด ต้องสามารถเข้าถึง(Accessibility)
ต้องสามารถวัดออกมาได้(Measurability) ต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอ(Substanciabiable) ต้องสามารถทำให้แตกต่างจากคู่แข่ง(Differentiable)

46 หลักเกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาดเป้าหมาย
การแบ่งส่วนตลาดตามภูมิศาสตร์ การแบ่งส่วนตลาดตามประชากรศาสตร์ การแบ่งส่วนตลาดตามจิตวิทยา 4. การแบ่งส่วยตลาดตามพฤติกรรม

47 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อขั้นตอนการตัดสินใจซื้อ
ปัจจัยภายนอก ปัจจัยด้านวัฒนธรรม ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยภายใน การจูงใจ การรับรู้

48 3. การเรียนรู้ 4. ความเชื่อถือ 5. ทัศนะคติ บุคลิกภาพ บุคลิกภาพตราสินค้า

49 รูปแบบการตัดสินใจในการซื้อ
พฤติกรรมการซื้อที่สลับซับซ้อน พฤติกรรมการซื้อแบบลดการสลับซับซ้อน พฤติกรรมการซื้อแบบจำเป็น พฤติกรรมการซื้อแบบหลากหลาย

50 ขั้นตอนการตัดสินใจซื้อ
การรับรู้เรื่องความต้องการ การแสวงหาข้อมูล การประเมินผลทางเลือก การตัดสินใจซื้อ การประเมินผลภายหลังการซื้อ

51 การวางแผนการเลือกสรรสินค้า และการบริหารสินค้าคงคลัง
บทที่8 การวางแผนการเลือกสรรสินค้า และการบริหารสินค้าคงคลัง

52 การสร้างระบบการจัดซื้อ โดยแยกตามประเภทสินค้า
การสร้างระบบการจัดซื้อโดยแยกตามประเภทสินค้า การบริหารประเภทของสินค้า ความสำคัญของการก่อตั้งหุ้นส่วนเชิงกลยุทธ์ องค์กรการจัดซื้อ

53 การกำหนดวัตถุประสงค์ทาง การเงินในการซื้อสินค้า
การรวมผลกำไร ยอดขาย การหมุนเวียนสินค้าเข้าด้วยกัน การวัดอัตราส่วนการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง

54 วงจรชีวิตผลิภัณฑ์ตามหมวดหมู่ของสินค้า
ความหนาแน่นของการกระจายสินค้า การเปลี่ยนแปลงของวงจรชีวิตผลิภัณฑ์ของสินค้า การพัฒนาการพยากรณ์ยอดขาย

55 การบริหารสินค้าคงคลัง
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory management) ระดับที่จะสั่งซื้อสินค้าหรือจุดสั่งซื้อ(Order point) ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า (Carrying Cost)

56 การบริหารกลุ่มสินค้า และระบบการซื้อ
บทที่9 การบริหารกลุ่มสินค้า และระบบการซื้อ

57 การบริหารกลุ่มสินค้า
ส่วนประกอบของการบริหารกลุ่มสินค้า ผลประโยชน์ของการบริหารกลุ่มสินค้า โครงร่างงานเพื่อการปฏิบัติการที่ดี อุปสรรคโดยทั่วไปในการบริหารกลุ่มสินค้า

58 การสั่งซื้อโดยใช้คอมพิวเตอร์ Computer Assisted Ordering (CAO)
ระบบการซื้อ การสั่งซื้อโดยใช้คอมพิวเตอร์ Computer Assisted Ordering (CAO) ข้อได้เปรียบของ CAO การลดต้นทุนด้วยกำลังแรงงาน การเพิ่มประสิทธิภาพ ช่วยในการหารสินค้าคงเหลือ ลดความไม่แน่นอน ได้กำไรเพิ่มขึ้น

59 ระบบการซื้อ วิธีการจักซื้อที่แตกต่างกัน(Different buying methods)
ระบบเปิดโอกาสให้ซื้อตามความเหมาะสม ระบบที่ถือเกณฑ์จำนวนหน่วยต่ำที่สุดที่ต้องเก็บรักษาไว้ ส่วนประกอบของการซื้อ การพยากรณ์ยอดขายโดยถือเกณฑ์การวิเคราะห์ การประเมินประมาณสินค้าคงเหลือที่มีอยู่ การพิจารณาระยะเวลาที่ใช้ในการสั่งซื้อ

60 ระบบการซื้อ 7. ความถี่ในการส่งมอบสินค้า
8. การตัดสินใจเกี่ยวกับระบบสินค้าคงเหลือเพื่อความปลอดภัย 9. การจัดการสั่งซื้อ 10. การรับและการจัดการเกี่ยวกับสินค้า 11. การเก็บรักษาสินค้า 12. การติดตามความเคลื่อนไหวของสินค้า 13. การสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม

61 ระบบการซื้อ การประสานกิจกรรมการซื้อและกิจกรรมการบริหารร้านค้า(Coordinating buying and store management activities) การปรับปรุงการสื่อสาร การสำรวจสินค้าอย่างสม่ำเสมอ พนักงานต้องใช้หลักการประสานงานกัน ความเกี่ยวข้องกับการร้านค้าในการตดสินใจ

62 แหล่งของสินค้าที่จัดซื้อ
รูปแบบของผู้ขานสินค้า การเปรียบเทียบระหว่างผู้จัดจำหน่าย ปัจจัยที่ใช้ในการเลือกขายสินค้า การเจรจาต่อรองกับผู้ขาย ราคา ส่วนลดเพิ่ม เงื่อนไขการให้สินเชื่อ

63 แหล่งของสินค้าที่จัดซื้อ
การจัดส่งและการขนส่งสินค้า การประกันภัยการขนส่ง การเจาะจงผู้ขาย ส่วนยอมให้จากการโฆษณา การปฏิเสธหรือการไม่ยอมรับ

64 แหล่งของสินค้าที่จัดซื้อ
5. ประเภทของสินค้า สินค้าที่ลูกค้าซื้อประจำสม่ำเสมอ สินค้าแฟชั่น สินค้าที่อยู่ในความเห่อ สินค้าตามฤดูกาล สินค้าที่เน่าเสียง่าย สินค้าที่เน่าเสียยาก

65 แหล่งของสินค้าที่จัดซื้อ
สินค้าที่มีตรายี่ห้อที่มีชื่อเสียง สินค้าที่ไม่มีเชื่อเสียง 6. วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 7. ความหนาแน่นในการจัดจำหน่าย

66 การสนับสนุนการกระจายตัวสินค้าสู่ตลาดและลักษณะการกระจายตัวสินค้า
การบริหารเพื่อสนับสนุนการกระจายตัวสินค้าสู่ตลาด การเคลื่อนย้ายตัวสินค้า ศูนย์กลางการจัดจำหน่าย

67 การสนับสนุนการกระจายตัวสินค้าสู่ตลาดและลักษณะการกระจายตัวสินค้า
การจัดสินค้าสู่ร้านค้า กลยุทธ์การจัดจำหน่ายแบบผลัก(Push distribution strategies) กลยุทธ์การจัดจำหน่ายแบบดึง(Pull distribution stategies)

68 บทที่10 การตั้งราคา

69 นโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคา
1. นโยบายราคาเดียวกับนโยบายหลานราคา 2. นโยบายระดับราคา 3. กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อการส่งเสริมการตลาด 4. กลยุทธ์การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา 5. นโยบายแนวระดับราคา 6. กลยุทธ์การลดราคา

70 นโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคา
7. กลยุทธ์การแสดงสินค้าต่อหน่วย 8. กลยุทธ์การตั้งราคาลวง 9. กลยุทธ์ราคาต่ำทุกวัน

71 วิธีการตั้งราคาสำหรับธุรกิจการค้าปลีก
วิธีการตั้งราคาโดยยึดเกณฑ์ต้นทุน วิธีการตั้งราคาโดยพิจารณาจากความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน วิธีการตั้งราคาโดยพิจารณาความสัมพันธ์กับตลาดอย่างเดียว

72 ส่วนประสมการสื่อสาร และการตลาดการค้าปลีก
บทที่11 ส่วนประสมการสื่อสาร และการตลาดการค้าปลีก

73 การส่งเสริมการตลาดและส่วนประสมการสื่อสารการตลาด
การติดต่อสื่อสารทางการตลาดแบบผสมผสาน ส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด การโฆษณา 2. การให้ข่าว 3. การส่งเสริมการขาย 4. การขายโดยใช้พนักงานขาย 5. การจัดบรรยากาศภายในร้าน

74 บทบาทของโปรแกรม การส่งเสริมการตลาดการค้าปลีก
วัตถุประสงค์ เพื่อแจ้งข่าวสาร เพื่อจูงใจ เพื่อเตือนความทรงจำ

75 วิธีการสื่อสาร : วิธีการส่งเสริมการตลาด
วิธีการส่งเสริมการตลาด(Methods of promotion) การสื่อสารโดยจ่ายเงินและไม่ใช้พนักงานขาย การสื่อสารโดยจ่ายเงินและใช้พนักงานขาย การสื่อสารโดยไม่จ่ายเงินและไม่ใช้พนักงานขาย การสื่อสารโดยไม่จ่ายเงินและใช้พนักงานขาย

76 การวางแผนโปรแกรมการสื่อสารการค้าปลีก
การกำหนดลูกค้า การกำหนดวัตถุประสงในการส่งเสริมการขาย การกำหนดงบประมาณการส่งเสริมการขาย การเลือกกำหนดเครื่องมือ การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมการขาย การทดสอบโปรแกรมการส่งเสริมการขาย การปฏิบัติตามโปรแกรมการส่งเสริมการขาย การประเมินผลการส่งเสริมการขาย

77 โครงสร้างองค์การและ การบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทที่12 โครงสร้างองค์การและ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

78 การออกแบบโครงสร้างองค์การสำหรับ ธุรกิจค้าปลีก
ข้อพิจารณาในการออกแบบองค์การ ความชำนาญเฉพาะด้าน ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ ความสัมพันธ์ของการรายงาน การจัดโครงสร้างองค์การให้เหมาะสมกับกลยุทธ์การค้าปลีก

79 โครงสร้างองค์กรการค้าปลีก
องค์กรของผู้ค้าปลีกแบบร้านค้าเดียว องค์กรของห้างสรรพสินค้าแบบลูกโว่ในส่วนภูมิภาค องค์กรระดับบริษัทของห้างสรรพสินค้าแบบลูกโซ่ในส่วนภูมิภาค โครงสร้างองค์กรของผู้ค้าปลีกประเภทอื่น

80 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ประเด็นที่น่าสนใจของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการค้าปลีก การจูงใจและการประสานงานของพนักงาน การสร้างให้เกิดคำมั่นสัญญาของพนักงาน การบริหารความหลากหลาย

81 การสรรหาและการคัดเลือก พนักงานของร้านค้า
บทที่13 การสรรหาและการคัดเลือก พนักงานของร้านค้า

82 ขั้นตอนของกระบวนการบริหารพนักงาน
ขั้นตอนของกระบวนการบริหารพนักงาน(Steps in the employees management process) การสรรหาพนักงานของร้านค้า การเข้าสังคมการฝึกอบรมพนักงาน การจูงใจและการบริหารพนักงานให้ทำงานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ การประเมินผลพนักงานและการแจ้งให้ทราบถึงผลประเมินงาน การจ่ายค่าตอบแทนและการให้รางวัลพนักงาน

83 การสรรหาและการคัดเลือกพนักงานของร้านค้า
การวิเคราะห์งาน(Job analysis) คำบรรยายลักษณะงาน(Job description) การกำหนดพนักงานที่คาดหวังไว้(Locating prospective employees) การคัดสรรผู้สมัครเพื่อการสัมภาษณ์(Screening applicants to interview) การคัดเลือกผู้สมัคร(Selecting applicants) ข้อควรคำนึงเกี่ยวกับกฎหมายในการคัดเลือกและการจ้างพนักงาน(Legal considerations in selecting and hiring stote employees)

84 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าตอบแทน
การควบคุมต้นทุน การกำหนดตางรางการปฏิบัติงานของพนักงาน การดูแลรักษาร้านค้า การบริหารการใช้พลังงาน

85 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าตอบแทน
การลดการสูญเสียของสินค้าคงคลัง การคำนวณจำนวนสินค้าที่ลดลง การป้องกันและการตรวจสอบการขโมยสินค้า การลดการขโมยสินค้าขิงพนักงาน

86 การบัญชีและการควบคุม
บทที่14 การบัญชีและการควบคุม

87 หลักการของการบัญชีเบื้องต้น
หน่วยธุรกิจ 7. หลักคงค้าง การดำรงอยู่ของกิจการ 8. หลักความสม่ำเสมอ หลักฐานอันเที่ยงธรรม 9. การบัญชี รอบระยะเวลาบัญชี สมการบัญชี หลักการบัญชีคู่ รายการค้า

88 ชื่อบัญชี บัญชีซื้อ 7. กำไรขั้นต้น การส่งคืนสินค้าที่ซื้อ 8. กำไรสิทธิ
บัญชีซื้อ กำไรขั้นต้น การส่งคืนสินค้าที่ซื้อ 8. กำไรสิทธิ ขาย งบดุล การรับคืน งบกำไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

89 ประเภทของสมุดบัญชี สมุดรายวัน สมุดเงินสด สมุดธนาคาร บัญชีแยกประเภท

90 บทที่15 กลยุทธ์การเงิน

91 การตัดสินใจทางการเงิน
ข้อมูลทางการเงิน *มีสองเส้นทาง คือ เส้นทางสู่กำไร เส้นทางการหมุนเวียน

92 กลยุทธ์การสร้างกำไร กลยุทธ์การสร้างกำไร(Strategic profit)
อัตราผลตอบแทนการลงทุน(Return on investment : ROI) เส้นทางสู่กำไร เส้นทางหมุนเวียน

93 ระบบข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารเครือข่ายผู้ขายสินค้า
บทที่16 ระบบข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารเครือข่ายผู้ขายสินค้า

94 การปรับปรุงให้มีสินค้าเพื่อขายตลอดเวลา
การปรับปรุงให้มีสินค้าเพื่อขายตลอดเวลา(Improved product avaailability) การปรับปรุงอัตราส่วนผลตอบแทนจากการลงทุน(Improved return on investment : ROI)

95 การเคลื่อนย้ายของข้อมูลสารสนเทศ
พนักงานขายจะทำการสแกนป้านบาร์โค้ดบนตัวสินค้า แล้วทำใบเสร็จให้กับลูกค้า ข้อมูลสั่งซื้อจะถูกบันทึกในคอมพิวเตอร์ ณ จุดซื่อขาย ซึ้งข้อมูลนี้จะถูกส่งไปยังผู้ซื้อ ข้อมูลการซื่ออาจจะถูกส่งไปยังผู้ขายสินค้า ผู้จัดซื้อสินค้าหรือผู้วางแผนจะทำการสื่อสารกับผู้เสนอขายสินค้าเกี่ยวกับคำสั่งซื้อสำหรับสินค้านั้นๆ

96 การเคลื่อนย้ายของข้อมูลสารสนเทศ
5. ผู้วางแผนจะทำการสื่อสารกับศูนย์กระจายสินค้า เพื่อประสานงานในการจัดส่งสินค้าจากผู้เสนอขายไปยังร้านค้า 6. ผู้จัดการร้านค้าจะทำการสื่อสารกับศูนย์กลางกระจายสินค้าเพื่อประสานงานในการรับสินค้า และการตรวจเช็คสินค้าคงคลัง

97 วิธีการเคลื่อนย้ายของข้อมูลสารสนเทศ
วิธีการเคลื่อนย้ายของข้อมูลสารสนเทศ มี 3 วิธี คือ คลังข้อมูล โปรแกรมความจงรักภักดีของลูกค้า การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์

98 ศูนย์กระจายสินค้า การบริหารการขนส่งภายในพื้นที่(Managemet of inbound transportion) การรับสินค้าและการตรวจสอบสินค้า(Receiving and chevking) การเก็บสินค้าและการเตรียมขนส่งสินค้าไปยังร้านค้า(Storing and crossdocking) การติดป้ายฉลากและป้ายราคา(Ticketing and marking) การเติมคำสั่งซื้อ(Filling orders)

99 ศูนย์กระจายสินค้า 6. การบริหารการขนส่งไปยังต่างประเทศ(Management of outbound transportation) 7. การย้อนกลับของการกระจายตัวสินค้า(Reverse logistocs)

100 ระบบการจัดส่งสินค้าที่ตอบสนองอย่างรวดเร็ว
ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบการจัดส่งสินค้าที่ตอบสนองอย่างรวดเร็ว ลดระยะเวลาการรอคอย(Reduces lead time) การเพิ่มสินค้าที่สามารถขายได้และการลดการลงทุนในสินค้าคงคลัง(Increases productavailability and lowers inventory investment) การลดค่าใช้จ่ายในการกระจายตัวสินค้า(Reduces logistics expenses) ต้นทุนของระบบการตอบสนองอย่างรวดเร็ว(Cost of a quick response system)

101 ระบบสนับสนุนการกระจายตัวสินค้าของ การค้าปลีกแบบอิเล็กทรอนิกส์
1. การจัดหาจากแหล่งภายนอก(Outsourcing) 2. สินค้าที่พร้อมจำหน่าย(Floo-ready merchandise) 3. บริษัทจัดหาการกระจายตัวสินค้าบุคคลที่ 3 (Third-party logistics companies)

102 ข้อได้เปรียบของการใช้ศูนย์กระจายสินค้า
การพยากรณ์ยอดขายจะมีความถูกต้องมากขึ้น ศูนย์กระจายสินค้าทำให้ผู้ค้าปลีกจัดเก็บสินค้าในแต่ละร้านค้าปลีกได้ เป็นการง่ายที่จะหลีกเลี่ยงสินค้าขาดมือหรือมีการเก็บสินค้าคงคลังมากเกินไปในแต่ละร้าน โดยทั่วไปพื้นที่การขายสินค้ามีราคาแพงเมื่อเทียบกับพื้นที่ที่อยู่ในศูนย์กระจายสินค้า

103 ลักษณะของผู้ค้าปลีกที่ควรใช้ศูนย์กระจายสินค้า
ผู้ค้าปลีกประสบปัญหาเรื่องความต้องการเปลี่ยนแปลงอยู้ตลอดเวลาสำหรับสินค้าที่เฉพาะเจาะจงบางรายการที่ขายในร้านค้า ร้านค้าที่ต้องมีการเติมสินค้าอยู่ตลอดเวลา ร้านค้าที่มีการวางขายสินค้าหลายชนิด หรือมียอดสั่งสินค้าเข้ามาขายจำนวนน้อยไม่เต็มลังสินค้าปกติ ผู้ค้าปลีกที่มีร้านค้าย่อยๆ อยู่เป็นจำนวนมาก

104 บทที่17 การให้บริการลูกค้า

105 การให้บริการลูกค้า หลักในการให้บริการของธุรกิจการค้าปลีกที่สำคัญมี 3 ประการ ความรวดเร็ว การนำเสนอให้สนุก สร้างความเป็นมิตร

106 ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค
ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค(Buying decision process) การรับรู้ถึงความต้องการหรือการรับรู้ปัญหา การแสวงหาข้อมูล การประเมินผลทางเลือก การตัดสินใจซื้อ พฤติกรรมหลังการซื้อ

107 ประเภทของสินค้าโดยแบ่งตาม ลักษณะการตัดสินใจของผู้บริโภค
สินค้าที่ต้องการข้อมูลมาก สินค้าที่ส่งผลต่อความรู้สึกสูง สินค้าที่ไม่จำเป็นต้องเสียเวลาคิดมากนัก

108 รูปแบบของความเสี่ยง(Types of risks)
รูปแบบของความเสี่ยง มีหลายประการดังนี้ ความเสี่ยงด้านการเงิน(Financial risks) ความเสี่ยงทางกายภาพ(Physical risks) ความเสี่ยงด้านสังคม(Social risks)

109 การให้ข้อมูลของผู้ค้าปลีก
แนวคิดหลักที่ผู้ค้าปลีกร้านค้าลูกโซ่ขนาดใหญ่ใช้ในการพัฒนาการสร้างข้อได้เปรียบของการให้บริการลูกค้าแบบยั่งยืน การใช้หลักความเป็นมาตรฐาน(Standardisation) การเจาะจงกลุ่มลูกค้า(Customisation)

110 การให้บริการของผู้ค้าปลีก
ที่จอดรถ บริการส่งถึงบ้าน การรับบัตรเครดิต การสาธิตวิธีการใช้สินค้าประเภทเสื้อผ้า การขยายชั่วโมงการทำงาน การบริการห่อของขวัญฟรี

111 การให้บริการของผู้ค้าปลีก
7. การเลือกในการจ่ายเงินภายหลัง 8. การมีผู้คอยให้คำแนะนำช่วยเหลือ 9. การให้รองสินค้าเฉพาะกับสินค้าประเภทเสื้อผ้า 10. อำนาจความสะดวกในการดูแลเด็ก 11. การรับประกันคือเงินแลการจัดหาสินค้าใหม่ให้ 12. การสั่งซื้อสินค้าในโอกาสพิเศษ

112 การสร้างความได้เปรียบที่ยั่งยื่นทางด้านบริการ
การสร้างความได้เปรียบที่ยั่งยื่นทางด้านบริการ (Building a sustainable) ความภักดีต่อตราสินค้า (Brand loyalty) ความภักดีต่อร้านค้า (Store loyalty)

113 วิธีการในการเสนอขายสินค้าให้กับลูกค้า
เข้าถึงจิตใจของลูกค้า ระลึกว่าลูกค้าคือเจ้านายของเรา ระลึกว่าลูกค้าคือกำไร ระลึกว่าลูกค้าคือธุรกิจ ธุรกิจคือบุคคล บุคคลคือลูกค้า ระลึกว่าทุกจุดมุ่งหมายของธุรกิจคือเพื่ออสร้างลูกค้า ติดต่อสื่อสารกับลูกค้าอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา

114 คุณสมบัติของพนักงานขายเพื่อการค้าปลีก
คุณภาพของพนักงานขายที่ต้องการสำหรับการขายธุรกิจการค้าปลีก 1.1 ต้องมีบุคลิกภาพที่ดี 1.2 ต้องมีทักษะในการสื่อสารที่ดี 1.3 ต้องมีความรู้เกี่ยวกับนโยบายร้านค้า 1.4 ต้องมีความสุภาพและพูดจาไพเราะ

115 คุณสมบัติของพนักงานขายเพื่อการค้าปลีก
2. กระบวนการขาย 2.1 การพบลูกค้า 2.2 การให้ข้อมูลแก่ลูกค้า 2.3 การเสนอขาย การสาธิตสินค้า และการเอาชนะอุปสรรค 2.4 การปิดการขาย 2.5 การสร้างให้เกิดการซื้อในอนาคต

116 การปรับปรุงการให้บริการ
การรับฟังคำตำหนิติเตียนของลูกค้า(Listen to the customer) การหาทางแก้ไขปัญหาอย่างยุติธรรม(Providing a fair solution) การแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว(Resolve the problem quickly)


ดาวน์โหลด ppt อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google