ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยUnni Skoglund ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการเตรียมความพร้อมรับการเยี่ยมสำรวจเพื่อรับรองคุณภาพ (QA, HA) ประเด็น IC.
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ 10 เมษายน 2562
2
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ผลลัพธ์ด้านการให้บริการ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ผลลัพธ์ด้านการให้บริการ 28 มีนาคม 2562
3
แผนภูมิแสดงอัตรา การติดเชื้อที่สัมพันธ์กับ การรักษาพยาบาล (HAI)
อัตราการติดเชื้อ HAI จำแนกตามแผนกและ ward 3 อันดับ ปี 2561
4
แผนภูมิแสดงอัตราการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้ เครื่องช่วยหายใจ ( VAP)
แสดงอัตราการติดเชื้อVAP จำแนกตามในและนอก ICU ปี อัตราการติดเชื้อต่อ1000 Ventilator-Day
5
อัตราการติดเชื้อ CA-UTI จำแนกตามแผนกและ
ward 3 อันดับ ปี 2561 อัตราการติดเชื้อต่อ1000 cath-days)
6
แผนภูมิแสดงอัตราการติดเชื้อดื้อยา (MDRO infection) ปี 2559-2562
แผนภูมิที่ 4 แสดงอัตราการติดเชื้อ ดื้อยาที่พบในโรงพยาบาล (XDR infection) ปี
7
จำนวนผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพโรงพยาบาลนครพิงค์ จำแนกตามเชื้อ และชนิดของการติดเชื้อ1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม (N=96)
8
จุดเน้นของ IC
9
องค์ประกอบของเอกสาร 2P Safety Goals
Definition : นิยามของแนวทางปฏิบัตินั้นหรือคำสำคัญที่ควรเข้าใจ Goal : เป้าหมาย เช่น มีการล้างมืออย่างถูกต้อง Why : ทำไมต้องใช้ (ระบุความสำคัญ ผลกระทบที่เกิดขึ้นหากปฏิบัติไม่เหมาะสม ) Process : ขั้นตอน วิธีการ แนวปฏิบัติที่มีความสำคัญ Training : ระบุการฝึกอบรมเท่าที่มีความจำเป็น Monitoring การติดตาม ประเมินผล เช่น ตัวชี้วัด อุบัติการณ์ Pitfall : ข้อที่ควรระวัง ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น Reference : เอกสารที่ใช้ในการอ้างอิง
10
อะไรคือ 2P Safety Goals
12
2P Safety Goals SIMPLE ยกกำลัง 2 “ Patient safety ” ผู้ป่วยปลอดภัย “ Personnel safety ” เราก็ปลอดภัย
14
Infection Control Hand Hygiene : การล้างมือ
Prevention of HAI, CAUTI prevention, VAP prevention Central Line-Associated Bloodstream Infection (CLABSI) Prevention Isolation Precautions Control of MDRO : Prevention and Control Spread of Multidrug-Resistant Organisms (MDRO) : การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
17
I: Infection and Exposure
Fundamental of Infection Control and Prevention for Workforce Specific Infection Control and Prevention for Workforce Airborne Transmission วัณโรค อีสุกอีใส หัด และโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ Droplet Transmission ไข้หวัดใหญ่, ไข้หวัด, คอตีบ, ไอกรน Contact Transmission HIV, HBV, HCV, Ebola virus, dengue virus Vector Borne Transmission ไข้เลือดออก ไวรัสซิก้า มาลาเรีย เอกสารอ้างอิง Centers for Disease Control and Prevention. Workplace safety & health topics. Healthcare workers
20
Back to Basic IC. ผู้เยี่ยมสำรวจจะดูอะไรบ้าง
ความสะอาดของอาคารสถานที่ เอกสาร เครื่องมือที่ใช้ในการทำงาน วิธีการทำงานที่เป็นปกติของเจ้าหน้าที่ สิ่งที่เป็นความเสี่ยงของหน่วยงาน 2PSafety (ทั้งของผู้ป่วย เจ้าหน้าที่และสิ่งแวดล้อม) ความสะอาดของผู้ป่วยและอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วย Process of care, Nursing care
21
แนวทางการประเมิน มิติ มิติ กระบวนการ ผลลัพธ์ แนวทาง (Approach - A)
การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและ ปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I) ผลการดำเนินการปัจจุบัน (Level - Le) แนวโน้ม (Trend - T) ผลการดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison - C) ครอบคลุมและความสำคัญของ ผลลัพธ์ (Linkage - Li)
22
แนวทาง (Approach - A) ของงาน IC.
JCI + SOP แนวทาง (Approach - A) ของงาน IC. ลำดับ รายการ รหัส ๑ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อตามวิถีทางแพร่กระจายเชื้อโรค ( Transmission – based precautions ) PP – PIC –ICC – ๐๐๑ ๒ ระบบและนโยบายการจัดการของเสียในโรงพยาบาล PP – PIC – ICC – ๐๐๒ ๓ การจัดการผ้าเปื้อนในโรงพยาบาล PP – PIC – ICC – ๐๐๓ ๔ การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในบุคลากร PP – PIC – ICC – ๐๐๔ ๕ การให้วัคซีนภูมิคุ้มกันโรคแก่บุคลากร PP – PIC – ICC – ๐๐๕ ๖ การปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาที่จำเป็นต้องควบคุมเป็นกรณีพิเศษ PP – PIC – ICC – ๐๐๘ ๗ การปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล PP – PIC – ICC – ๐๐๙ ๙ การทำความสะอาดการทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อในโรงพยาบาล PP – PIC – CSD – ๐๐๑ ๑๐ การป้องกันและลดการติดเชื้อในโรงพยาบาล PP – QPS – ICC – ๐๐๒ ๑๑ การปฏิบัติการฉุกเฉินกรณีเกิดการระบาดของโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ PP – FMS – ICC – ๐๐๖ ๑๒ การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ PP – COP –QIC – ๐๑๖ ๑๓ การนำอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ครั้งเดียวกลับมาใช้ใหม่ในโรงพยาบาล SOP – HOS - 009 ๑๔ การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อและข้อบ่งเชื้อในโรงพยาบาล SOP – HOS - 008
23
แนวทาง (Approach - A) ของงาน IC.
แนวปฏิบัติ ตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สำคัญ แนวปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา แนวปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการใส่คาสายสวนปัสสาวะ(CAUTI) แนวปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์การป้องกันปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator - Associated Pneumonia - VAP) แนวปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ในการป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง CLABSI
24
แนวทาง (Approach - A) ของงาน IC.
คู่มือ/กระบวนการปฏิบัติอื่นๆ (Supportive Document) 1. แนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากร เมื่อเกิดอุบัติเหตุของมีคมทิ่มตำ/บาดหรือสัมผัสเลือด/สารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย 2. คู่มือการคัดกรองวัณโรค 3. คู่มือแนวปฏิบัติพื้นฐานด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 4. คู่มือปฐมนิเทศงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 5. คู่มือการใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
25
การเตรียมความพร้อมของหน่วยงาน
1.การเตรียมบุคคล เตรียมใจ เข้าใจ มั่นใจ ไม่มีใครรู้เรื่องงานที่ทำมากกว่าคนที่ทำงาน 2.เตรียมสถานที่ / อุปกรณ์ 3.เตรียมข้อมูล 4.เตรียมเอกสาร
26
สื่อสารให้ทราบล่วงหน้า เตรียมใจให้พร้อมรับการเข้าสำรวจ
1.การเตรียมบุคลากร สื่อสารให้ทราบล่วงหน้า เตรียมใจให้พร้อมรับการเข้าสำรวจ เตรียมฝึกหัดตอบคำถาม HW, ICWN ต้องช่วยซักซ้อมให้บุคลากรตอบคำถามเกี่ยวกับ IC.
27
2.เตรียมสถานที่ / อุปกรณ์
ความสะอาดเรียบร้อย การจัดสถานที่ถูกต้อง ถูกต้องตามหลัก IC. การจัดโซนพื้นที่สะอาด สกปรก flow ทางเดินของ ของสะอาดและของสกปรก การแยกขยะ การจัดการอ่างล้างมือและอุปกรณ์ที่ใช้ล้างมือ อุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องและปลอดภัยสำหรับใช้งาน
28
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและปัญหาอุปสรรค (จุดแข็ง จุดอ่อน)
3.เตรียมข้อมูล แผนงาน โครงการ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและปัญหาอุปสรรค (จุดแข็ง จุดอ่อน) สถานการณ์งาน IC. (สถิติการเกิด NI , control chart การประเมินการปฏิบัติของบุคลากร)
29
คู่มืองาน IC. (อยู่ตรงไหนเจ้าหน้าที่ทุกคนต้องรู้และหาให้พบได้โดยเร็ว)
4.เตรียมเอกสาร คู่มืองาน IC. (อยู่ตรงไหนเจ้าหน้าที่ทุกคนต้องรู้และหาให้พบได้โดยเร็ว) สมุดบันทึกผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อของหน่วยงาน สรุปรายงานการประชุมต่างๆ แนวทางการสื่อสารระหว่าง หอผู้ป่วยและ ICN เช่นรายงานการประชุม รายงานการนิเทศ
30
แนวทางการตอบคำถามที่ต้องเตรียมบุคลากรในหน่วยงาน
เป้าหมายของหน่วยงานในเรื่อง IC อย่างไร มีแนวทางสู่เป้าหมายอย่างไร (Purpose) มีการทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานอย่างไร (Deploy) อะไรคือตัวชี้วัดที่สำคัญด้าน IC. ของหน่วยงาน มีแนวทางการป้องกันอย่างไรและมีการ monitor อย่างไร (KPI) อะไรคือความเสี่ยงที่จะมีโอกาสเกิดขึ้นในหน่วยงานนี้ มีแนวทางการป้องกันอย่างไร (RM.,Learning, Intregrated )
31
แนวทางการตอบคำถามที่ต้องเตรียมบุคลากรในหน่วยงาน
เมื่อมี HAI. เกิดขึ้น โดยไม่สมควรมีการแก้ปัญหาอย่างไรไม่ให้เกิดขึ้นอีก ขอดูผลวิเคราะห์หาโอกาสพัฒนา ผลการพัฒนาที่ได้ดำเนินการไปแล้วและแผนที่จะทำต่อไป ปัญหา HAI. อะไรที่มีความซับซ้อนในการดูแล มีแนวทางในการปฏิบัติอย่างไร วิธีปฏิบัติการพยาบาลด้าน IC. ที่สำคัญ เช่น การล้างมือ การแยกขยะ การแยกผู้ป่วย nursing care สำคัญๆ เช่น suction
32
แนวทางการตอบคำถามที่ต้องเตรียมบุคลากรในหน่วยงาน
ปัญหา HAI ที่สำคัญของหน่วยงานในช่วง 1 ปี ที่ผ่านมา มีการแก้ไขและผลลัพธ์เป็นอย่างไร บุคลากรในหน่วยงาน มีหน้าที่รับผิดชอบช่วยงาน IC. อย่างไร เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยเกิดขึ้นในระหว่างการปฏิบัติงานจะทำอย่างไร กิจกรรมคุณภาพด้าน IC. เรื่องใดที่ภาคภูมิใจที่สุด คือ ? ท่านมีการประเมินการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานหรือไม่ อย่างไร เลือกเรื่องอะไรมาประเมินบ้าง เพราะอะไร ได้ผลเป็นอย่างไร
33
แนวทางการตอบคำถามที่ต้องเตรียมบุคลากรในหน่วยงาน
ท่านมั่นใจกับระบบ IC ในหน่วยงานเพียงใด ถ้ามีผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการระบาดของ NI ขึ้นในหน่วยงาน จะมีการจัดการหรือมีมาตรการอย่างไร ประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อของท่านเป็นอย่างไร ถ้าต่ำกว่าเป้าหมาย ท่านดำเนินการอย่างไรบ้าง รายงานประจำเดือนที่ท่านต้องจัดเตรียมและรายงานหัวหน้าหอฯและแปลผลได้อย่างไร
34
สิ่งที่ ICWN แต่ละหน่วยงานจะทำก่อนกำหนดการตรวจรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
ทบทวนการแยกขยะ ทบทวนการล้างมือ จัดทำบอร์ดแสดงผลงาน , CQI, กราฟ control chart ทำ CQI เรื่องที่คิดว่าเป็นปัญหาของหน่วยงาน ประชุมทีมการทำงานทุกคน ทุกระดับในหน่วยงานและพัฒนาความรู้ด้าน IC. ของทุกคนให้มากขึ้น กระตุ้นเตือนหรือพูดคุยเรื่อง IC. วันละ 1 ครั้ง เพื่อเชื่อมโยงและชี้แจงข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ IC.
35
ICWN ควรทำก่อนเยี่ยมสำรวจ
ขอความร่วมมือบุคลากรทุกคนในหน่วยงานปฏิบัติหน้าที่และเตรียมความพร้อมของตนเอง ทบทวนในสิ่งยังคงค้างอยู่เตรียมความพร้อมตนเองและหน่วยงาน มีการพูดคุยหลังส่งเวรดึกเกี่ยวกับงาน IC. ในแต่ละวัน ขอความร่วมมือให้ทุกงาน เช่น QA, IC, 5ส. สุขศึกษา เตรียมตัวให้พร้อมทั้งความรู้และเอกสาร
36
ICWN ควรทำก่อนเยี่ยมสำรวจ
ทบทวนการปฏิบัติเมื่อเกิด HAI หรือปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ IC. กระตุ้นพยาบาลในหอฯ ช่วยในการ Dx. case HAI และให้การพยาบาลตามมาตรฐานเพื่อลด HAI ในหอผู้ป่วย พัฒนาแผนผังมาตรการสำคัญด้าน IC. ให้ดูเป็นระเบียบ และขอเจ้าหน้าที่ทุกคนให้ร่วมแรงร่วมใจกัน ทั้งหมดเพื่อตัวเรา NSO และรพ.ของเรานะคะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.