ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การปรับปรุงพันธุ์ไหม (Silkworm Breeding)
2
แนวทางการปรับปรุงพันธุ์ไหม
รักษาความบริสุทธิ์ของสายพันธุ์ การคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์แท้ (inbred line) และพันธุ์ที่นำมาจากต่างประเทศ การสร้างพันธุ์ใหม่ เพื่อผลิตลูกผสมหรือสร้างพันธุ์แท้ขึ้นมาใหม่ การทดสอบสมรรถนะการผสมพันธุ์ของไหมพันธุ์แท้ การเปรียบเทียบและทดสอบพันธุ์ลูกผสม การขอเสนอพันธุ์แนะนำหรือพันธุ์รับรอง
3
ลักษณะที่ใช้พิจารณาในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
ไข่ไหม ปริมาณไข่ไหมต่อแม่ ไม่น้อยกว่า 400 ฟอง ในพันธุ์ญี่ปุ่นและจีน และ 250 ฟองในพันธุ์ไทย เปอร์เซ็นต์การฟักออกไม่ต่ำกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ในวันเริ่มเลี้ยงไหม มีลักษณะการฟักออกตามธรรมชาติ (voltinism) ตรงตามชนิดของพันธุ์ หนอนไหม การเจริญเติบโตสม่ำเสมอ แข็งแรงและปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี มีประสิทธิภาพสูงในการเปลี่ยนอาหารให้เป็นผลผลิตรังไหม ลักษณะหนอนไหมตรงตามพันธุ์ เลี้ยงง่ายในทุกสภาพ
4
ลักษณะที่ใช้พิจารณาในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
รังไหมและดักแด้ มีลักษณะตรงตามพันธุ์ ปริมาณรังปกติ (normal cocoon) ไม่น้อยกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักรังสด และน้ำหนักเปลือกรังสูง อัตราดักแด้สมบูรณ์สูงและมีลักษณะดี คุณลักษณะในด้านการสาวดี
5
ลักษณะที่ใช้พิจารณาในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
ผีเสื้อไหม ความพร้อมเพรียง (uniformity) ในการออกเป็นตัวผีเสื้อ รูปร่างลักษณะสมบูรณ์ ลักษณะตรงตามพันธุ์ ความสามารถสูงในการจับคู่ผสมพันธุ์ มีปริมาณไข่ไหมที่วางต่อแม่สูง และเป็นระเบียบ
6
อุปกรณ์ในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
โรงเลี้ยงไหมและอุปกรณ์การเลี้ยงไหม ห้องเย็นเก็บไข่ไหม ห้องกกไข่ไหม เครื่องชั่งไฟฟ้าชนิดทศนิยมไม่ต่ำกว่า 3 ตำแหน่ง กล่องนับรังไหม (cocoon counter) เป็นกล่องสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดประมาณ 30 x 30 เซนติเมตร มี 100 ช่อง ขนาด 3 x 3 x 3 เซนติเมตร กระบอกตวงปริมาตร 1 ลิตร กรวย หรือกล่องผสมผีเสื้อไหม อุปกรณ์วางไข่ไหม อุปกรณ์ฟักเทียมไข่ไหม อุปกรณ์ตรวจโรคเพบริน
7
วิธีการปรับปรุงพันธุ์ไหมพันธุ์แท้
การนำเข้าพันธุ์ต่างประเทศ (Introduction) เป็นการนำพันธุ์ไหมจากถิ่นฐานเดิมไปยังถิ่นฐานใหม่ เมื่อนำมาแล้วต้องศึกษาและคัดเลือกการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ (acclimatization) ข้อดี คือ ประหยัดแรงงานและเวลา ข้อเสีย คือ อาจมีโรคใหม่ ๆ แพร่เข้ามาจากการนำเข้า การผสมข้ามพันธุ์ (Cross breeding) วิธีการจดประวัติ (Pedigree method) Mass pedigree method F3 derived line
8
วิธีการปรับปรุงพันธุ์ไหมพันธุ์แท้ (ต่อ)
วิธีการผสมกลับ (Backcross method) Typical backcrossing Convergent backcrossing การคัดเลือกพันธุ์แบบวงจรสลับ (Recurrent selection) การกลายพันธุ์ (Mutation)
9
การคัดเลือก (Selection)
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural selection) การคัดเลือกตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด (Artificial selection) การคัดเลือกตามความประสงค์ (directional selection) การคัดเลือกแบบแยกประชากร (disruptive selection) การคัดเลือกแบบไม่แยกประชากร (cyclical selection)
10
วิธีการปฏิบัติในการคัดเลือกสายพันธุ์
การคัดเลือกแบบรวม (Mass selection) การคัดเลือกแบบเป็นแม่ (Batch selection)
11
วิธีการสร้างพันธุ์ไหมลูกผสม
พันธุ์ไหมลูกผสมเดี่ยว (single cross) : A x B พันธุ์ไหมลูกผสมสามทาง (three-way cross) : ( A x B ) x C พันธุ์ไหมลูกผสมคู่ (double cross) : ( A X B ) X ( C x D )
12
การทดสอบสมรรถนะการผสมพันธุ์ของไหมพันธุ์แท้
การทดสอบอาจทำได้โดยการผสมระหว่างพันธุ์แท้ทุกคู่ที่ต้องการโดยใช้ เมื่อ n เป็นจำนวนพันธุ์แท้ จะเห็นได้ว่าจำนวนคู่ผสมมีมากมาย จนกลายเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้นักปรับปรุงพันธุ์ไม่สามารถทดสอบได้ Top cross จำนวนคู่ผสม = n ( n – 1)
13
การทดสอบสมรรถนะการผสมพันธุ์ของไหมพันธุ์แท้
ค่าความดีเด่นเหนือพ่อและแม่ที่เหนือกว่า เรียกว่า Heterobeltiosis จากข้อมูลนำมาทดสอบความดีเด่น โดยวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ความดีเด่น heterosis analysis ดังนี้ Heterosis = เปอร์เซ็นต์ความดีเด่นเหนือค่าเฉลี่ยของพ่อและแม่ (%) F = ค่าเฉลี่ยของลูกผสมเชิงเดี่ยวคู่ใดคู่หนึ่ง MP = ค่าเฉลี่ยของสายพันธุ์พ่อแม่ที่เกี่ยวข้อง (mid parent) Heterosis(%) = F1-MP 100 MP
14
การทดสอบสมรรถนะการผสมพันธุ์ของไหมพันธุ์แท้
จากข้อมูลนำมาหาค่า Heterobeltiosis คือ Heterobeltiosis = เปอร์เซ็นต์เหนือความดีเด่นของพ่อและแม่ F1 = ค่าเฉลี่ยของลูกผสมคู่ใดคู่หนึ่ง BP = ค่าเฉลี่ยของสายพันธุ์พ่อหรือแม่ที่เหนือกว่า (best parent) Heterobeltiosis(%) = F1-BP 100 BP
15
การทดสอบสมรรถนะการผสมพันธุ์ของไหมพันธุ์แท้
การคาดคะเนผลผลิตลูกผสม การคำนวณผลผลิตของลูกผสมสามทางของ ( A x B ) x C การคำนวณผลผลิตของลูกผสมคู่ ( A x B ) x ( C x D ) ( A x B ) x C = AC + BC 2 ( A x B ) x ( C x D ) = AC + AD + BC +BD 4
16
หลักการและขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
การบำรุงรักษาเชื้อพันธุกรรมไหมพันธุ์แท้ เลี้ยงไหมกระด้งละ 1 แม่ จำนวนอย่างน้อย 10 กระด้ง ในแต่ละพันธุ์ นับไหมวัย 4 หลังจากให้อาหารแล้ว 2 เวลา โดยการคัดหนอนที่สมบูรณ์ตรงตามลักษณะประจำพันธุ์ จำนวน ตัว (polyvoltine 250 ตัว bivoltine 300 ตัว) ควรคลุมจ่อด้วยผ้ามุ้งหรือผ้าไนล่อนหลังจากเก็บไหมสุกเข้าจ่อเพื่อป้องกันการปะปนของหนอนไหม
17
หลักการและขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
วันที่ 3 หลังจากเก็บไหมสุก ลอกกระดาษรองจ่อออกวันที่ 5 – 8 เก็บรังไหมออกจากจ่อ ลอกปุย ตรวจสอบรัง ชั่งน้ำหนัก เก็บข้อมูลต่างๆ ตรวจโรคแม่ผีเสื้อทุกแม่ ไหม polyvoltine ควรเลี้ยง 6 – 8 รุ่นต่อปี ชนิด bivoltine เลี้ยง 4 รุ่นต่อปี การเปรียบเทียบพันธุ์ไหมลูกผสมเบื้องต้น (Preliminary yield trial : PYT) เลี้ยงไหมอย่างน้อยที่สุดสายพันธุ์ละ 2 กระด้ง กระด้งละประมาณ 6/6 แม่ สุ่มนับหนอนไหมวัย 4 กระด้งละ 250 – 300 ตัว (polyvoltine 250 ตัว bivoltine 300 ตัว)
18
หลักการและขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
วันที่ 3 หลังจากเก็บไหมสุก ลอกกระดาษรองจ่อออก วันที่ 5 – 8 เก็บรังไหมออกจากจ่อ ลอกปุย ตรวจสอบรัง ชั่งน้ำหนัก เก็บข้อมูลต่างๆ เลี้ยงเปรียบเทียบ 4 รุ่นต่อปี ไม่มีแผนการทดลอง จำนวนสายพันธุ์ขึ้นกับนักปรับปรุงพันธุ์ ขั้นตอนการทดสอบไหมพันธุ์มาตรฐาน (Standard yield trial : SYT) มีพันธุ์มาตรฐานซึ่งผ่านการทดลองหรือเป็นพันธุ์แนะนำเป็นพันธุ์ตรวจสอบ ต้องมีแผนการทดลอง
19
หลักการและขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
วันที่ 3 หลังจากเก็บไหมสุก ลอกกระดาษรองจ่อออก วันที่ 5 – 8 เก็บรังไหมออกจากจ่อ ลอกปุย ตรวจสอบรัง ชั่งน้ำหนัก เก็บข้อมูลต่างๆ เลี้ยงเปรียบเทียบจำนวน 4 รุ่นต่อปี เก็บข้อมูลไม่น้อยกว่า 1 ปี ขั้นตอนการทดสอบพันธุ์ไหมในท้องถิ่น (Regional yield trial : RYT) คัดเลือกพันธุ์ไหม มีคุณลักษณะดีเด่นจากการเปรียบเทียบพันธุ์มาตรฐาน แหล่งทดสอบพันธุ์ในท้องถิ่น ไม่ควรต่ำกว่า 3 แหล่งที่มีความแตกต่างของสภาพภูมิอากาศอย่างชัดเจน
20
หลักการและขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
มีแผนการทดลองโดยมีพันธุ์มาตรฐานซึ่งผ่านการรับรองหรือแนะนำเป็นพันธุ์ตรวจสอบ ไข่ไหมที่ใช้ทดสอบควรเป็นแหล่งเดียวกัน ใช้ 6/6 แม่ต่อซ้ำ หากเป็นพันธุ์ไทยควรใช้เป็น 2 เท่า ควรทดสอบแต่ละรุ่นในเวลาเดียวกัน เลี้ยงเปรียบเทียบจำนวน 4 รุ่นต่อปี เก็บข้อมูลไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวนสายพันธุ์ทดสอบไม่เกิน 5 สายพันธุ์
21
หลักการและขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์ไหม
ขั้นตอนการทดสอบพันธุ์ไหมระดับเกษตรกร (Yield test : YT) คัดเลือกไหม 1 สายพันธุ์เพื่อทดสอบกับพันธุ์มาตรฐาน 1 พันธุ์ เกษตรกรเข้าร่วมทดสอบไม่น้อยกว่า 5 ราย ไม่มีการวางแผนการทดลอง เลี้ยงไหมพันธุ์ละ 1 กล่องต่อแผ่น (1 กล่อง = 1 แผ่น มีปริมาณไข่ไหมไม่น้อยกว่า 20,000 ฟอง) ทดสอบทุกฤดูกาลไม่ต่ำกว่า 3 ปี ในกรณีขอเป็นพันธุ์รับรอง และไม่ต่ำกว่า 2 ปี ในกรณีขอเป็นพันธุ์แนะนำ
22
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
การทดสอบคุณลักษณะของไข่ไหม ลักษณะไข่ไหมประกอบด้วย สีของไข่ไหมหลังวางไข่ใหม่ (เหลือง ครีม ชมพู ขาว) สีของไข่ไหมหลังจากกลับสี (เทา ดำ) รูปร่างไข่ไหม (กลม รี) จำนวนไข่ไหมต่อแม่ = จำนวนไข่ไหมที่วางไข่ต่อแม่ อย่างน้อย 10 แม่ แล้วหาค่าเฉลี่ย เปอร์เซ็นต์การฟักออก = จำนวนไข่ไหมฟักออกเป็นตัว x จำนวนไข่ไหมทั้งหมด
23
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
การทดสอบคุณลักษณะของหนอนไหม ลักษณะหนอนไหมประกอบด้วย สีของหนอนไหมแรกฟัก สีของหนอนไหมโตเต็มที่ ลักษณะลายบนตัวหนอนไหม อธิบายลายบนตัวไหมที่โตเต็มที่ในวัย 5 อายุหนอนไหม อายุหนอนไหม = ระยะเวลาระหว่างวันที่เริ่มเลี้ยงไหม (brushing) ถึงวันไหมสุก 95 เปอร์เซ็นต์
24
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
น้ำหนักหนอนไหมโตเต็มที่ 10 ตัว (กรัม) คือค่าเฉลี่ยของน้ำหนักหนอนไหมที่โตเต็มที่ จากการชั่งน้ำหนักหนอนไหมครั้งละ 10 ตัว 2 ตัวอย่าง/กระด้ง โดยชั่งก่อนให้อาหารมื้อที่ 2 ของวัน (ประมาณวันที่ 3 – 5 ของหนอนไหมวัย 5) เปอร์เซ็นต์การเลี้ยงรอดวัยอ่อน = จำนวนหนอนไหมที่เลี้ยงรอดวัย 4 x จำนวนหนอนไหมที่เลี้ยงวัย 1
25
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
การทดสอบคุณลักษณะของรังดักแด้ เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ = จำนวนดักแด้สมบูรณ์ x 100 จำนวนหนอนไหมที่เริ่มเลี้ยงในวัย 4 เปอร์เซ็นต์การเข้าทำรัง = จำนวนรังไหม x 100
26
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
การทดสอบคุณลักษณะของรังไหม สีของรังไหม คือสีของเปลือกรัง (ขาวสด ขาวขุ่น เหลืองตุ่น ชมพู เขียว) รูปร่างรังไหม (เรียวยาว รูปไข่ รูปฝักถั่วลิสง) รอยย่นบนผิวรัง (หยาบ ปานกลาง ละเอียด) ความสม่ำเสมอของรัง (สม่ำเสมอดี แปรปรวน) จากสายตา จำนวนรังไหมต่อลิตร คือจำนวนรังไหมที่ตวงในปริมาณ 1 ลิตร ทำอย่างน้อย 2 ครั้ง เพื่อหาค่าเฉลี่ย น้ำหนักรังสด 1 รัง คือค่าเฉลี่ยน้ำหนักรังสดของรังไหมอย่างน้อย 50 รัง (เพศผู้ เพศเมีย อย่างละ 25 รัง)
27
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
น้ำหนักเปลือกรัง คือค่าเฉลี่ยของเปลือกรังเปล่า อย่างน้อย 50 รัง (เพศผู้ เพศเมียอย่างละ 25 รัง) เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง = น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง x 100 น้ำหนักรังสด 1 รัง เปอร์เซ็นต์รังปกติ = จำนวนรังปกติ x 100 จำนวนรังไหมทั้งหมด
28
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
เปอร์เซ็นต์รังเสีย (โดยปริมาณ) = จำนวนรังเสีย x 100 จำนวนรังไหมทั้งหมด (โดยน้ำหนัก) = น้ำหนักรังเสีย x 100 น้ำหนักรังไหมทั้งหมด เปอร์เซ็นต์รังแฝด = จำนวนรังแฝด x จำนวนรังไหมทั้งหมด
29
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
การทดสอบการสาวไหม ควรดำเนินการทดสอบรังไหมอย่างน้อย 100 รัง 2 ซ้ำ ความยาวเส้นใยต่อรัง หาได้จากการสาวทดสอบรังไหม บันทึกความยาวรวมแล้วหาค่าเฉลี่ย เปอร์เซ็นต์เส้นใยที่สาวได้ = น้ำหนักเส้นใยที่สาวได้ x 100 น้ำหนักรังไหมสด 100 รัง เปอร์เซ็นต์เศษไหม = น้ำหนักเศษไหมที่สาว 100 รัง x 100
30
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
เปอร์เซ็นต์การสาวง่าย = จำนวนครั้งที่ป้อนรังไหม x 100 จำนวนรังสดที่สาวได้ จำนวนที่สาวได้ = จำนวนรังที่ใช้สาว – จำนวนรังที่สาวไม่ออก – จำนวนรังที่ขึ้นเครื่องสาวไม่ได้ ขนาดของเส้นใย (ดีเนียร์) = น้ำหนักเส้นใยที่สาวได้ ( กรัม ) x 9,000 ความยาวเส้นใยที่สาวออกมาได้ (เมตร)
31
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
น้ำหนักเส้นใยต่อรัง = น้ำหนักเส้นใยที่สาวได้ จำนวนรังที่ใช้สาว น้ำหนักรังไหมต่อเส้นไหม 1 กิโลกรัม หมายถึง น้ำหนักของรังไหม (กิโลกรัม) ที่ทำให้สาวเส้นไหมได้หนัก 1 กิโลกรัม
32
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
การทดสอบประสิทธิภาพของสายพันธุ์แท้ ความสามารถในการรวมตัวทั่วไป (GCA) เป็นความสามารถของสายพันธุ์แท้ที่จะรวมตัวเป็นลูกผสม โดยให้ลูกผสมที่ดีกับพันธุ์อื่นๆ หลายพันธุ์ ความสามารถในการรวมตัวเฉพาะ(SCA) เป็นความสามารถของสายพันธุ์แท้ที่จะรวมตัวเป็นลูกผสม โดยให้ลูกผสมที่ดีกับพันธุ์ใดพันธุ์หนึ่งโดยเฉพาะ การทดสอบความดีเด่น (Heterosis analysis)
33
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
Heterosis (%) = เปอร์เซ็นต์ความดีเด่นเหนือค่าเฉลี่ยของพ่อ และแม่ = F1 – MP x 100 MP F = ค่าเฉลี่ยของลูกผสมเชิงเดี่ยวคู่ใดคู่หนึ่ง MP = ค่าเฉลี่ยของสายพันธุ์พ่อแม่ที่เกี่ยวข้อง (mid parent)
34
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
ค่าประเมินผลการทดสอบ เปอร์เซ็นต์การฟักออกไม่ต่ำกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์และผลผลิตรังไหมควรมากกว่าพันธุ์มาตรฐานที่ใช้เปรียบเทียบ Neatness : มากกว่า 90 คะแนน (neatness คือการตรวจเช็คคุณภาพ ของเส้นไหมที่เกิดปุ่มปม ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นภาพมาตรฐาน) Reelability : มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ Sericin soluble : ต่ำกว่า 26 เปอร์เซ็นต์ (sericin soluble คือ ปริมาณกาวที่ละลายได้ในน้ำ หมายถึง ปริมาณของ sericin ที่เกิดการละลายจากระบบการสาวไหม)
35
การคำนวณข้อมูลคุณลักษณะไหม
ประสิทธิภาพในการใช้อาหาร (Efficiency of convention ingested food: E.C.I.) E.C.I. ( % ) = ( น้ำหนักหนอนไหมโตเต็มที่ วัย 5 - น้ำหนักหนอนแรกฟัก ) x 100 น้ำหนักใบหม่อนที่ให้ – น้ำหนักใบหม่อนที่กินเหลือ(ไม่รวมมูลไหม)
36
พันธุ์ไหม Material เทคนิคการสร้างพันธุ์ไหม
ถ้าเลือกพันธุ์ไหมที่มีปริมาณและคุณภาพต่ำจะมีผลต่อรุ่นหลังๆ รวบรวมเกี่ยวกับไหมพันธุ์ที่เข้ามาผสมเพื่อคัดเลือกเอาลักษณะที่ต้องการ เช่นพันธุ์ที่เคยรับรองว่าต้านทานโรค นักปรับปรุงพันธุ์จำเป็นต้องสำรวจหาลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้ได้ลักษณะตามความต้องการ ปกตินักปรับปรุงพันธุ์จะต้องนำไหมมาเลี้ยง 1 – 3 รุ่นเพื่อทดสอบลักษณะต่างๆ ให้แน่นอนก่อนที่จะผสมเข้ากับไหมปรับปรุงพันธุ์
37
พันธุ์ไหม Selection การสร้างเป้าหมายจะต้องตั้งเป้าหมายการดำเนินการอย่างเด่นชัด การคัดเลือกมีทั้งการคัดเลือกรังเดี่ยวและการคัดเลือกรวม การคัดเลือกรังเดี่ยวให้ผลดีทางด้านการปรับปรุงคุณภาพรัง การคัดเลือกรวมมีผลในด้านการปรับปรุงลักษณะความแข็งแรงของหนอนไหม การเจริญเติบโตที่ดี
38
พันธุ์ไหม Environment
การปรับปรุงพันธุ์ไหมเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้ดีในสิ่งแวดล้อมหากมีการควบคุมให้สิ่งแวดล้อมมีสภาพคงที่ ทำให้การคัดเลือกกระทำได้ง่ายขึ้น การควบคุมทำได้หลายวิธี เช่น การปรับปรุงคุณภาพรังไหม หรืออาจมีการควบคุมใบหม่อนให้มีคุณค่าอาหารสูงโดยปลูกหม่อนในพื้นที่ที่เหมาะสม คือมีความอุดมสมบูรณ์ของดินสูงเมื่อควบคุมสภาพแวดล้อมได้
39
พันธุ์ไหม Data สังเกตการสำรวจลักษณะต่าง ๆ ควรกระทำอย่างต่อเนื่องทุกขั้นตอน ตั้งแต่รูปร่างลักษณะของหนอนไหม การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ความสัมพันธ์ของอายุหนอนไหมกับปริมาณไข่ที่ได้ อัตราการฟักออกเป็นตัว อัตราการเลี้ยงรอด
40
พันธุ์ไหม ไหมพันธุ์รับรองของกรมวิชาการเกษตร โคราช 1
ประวัติ ได้จากการผสมระหว่างพันธุ์ N124 กับพันธุ์ C124 ซึ่งเป็นพันธุ์จากประเทศญี่ปุ่น ไม่มีการกระจายพันธุ์ตามแบบพันธุ์แท้สายพันธุ์ญี่ปุ่น ลักษณะเด่น การเจริญเติบโตของหนอนไหมเป็นไปอย่าง สม่ำเสมอ เลี้ยงง่าย ในทุกสภาพพื้นที่ ปริมาณไข่ไหมมากกว่าพันธุ์พื้นเมือง 1 เท่า
41
พันธุ์ไหม ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
เป็นพันธุ์ไหมที่ฟักออกตามธรรมชาติ ปีละ 2 ครั้ง (bivoltine) ลำตัวมีลายดำ (marking) ตรงส่วนอกและส่วนท้อง สีของผิวเป็นสีขาวขุ่นอมเทา ลักษณะรังคอด เป็นรูปฝักถั่วลิสง (peanut shape) ลักษณะทางการเกษตร ระยะที่เป็นตัวหนอน วัน ขึ้นอยู่กับฤดูกาล ความยาวรัง 3.5 เซนติเมตร ความกว้างรัง 1.7 เซนติเมตร น้ำหนักรังสด 1 รัง กรัม น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง เซนติกรัม
42
พันธุ์ไหม ข้อจำกัด ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคที่เกิดกับไหมแทบทุกชนิด เช่น แฟลชเชอรี่ แอสเปอร์จิลลัส ฯลฯ ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงมักเน้นในทางป้องกันเป็นหลัก ศัตรูสำคัญได้แก่ แมลงวันก้นขน (tachinid flies) นอกจากนี้ยังมีมดหลายชนิด รวมทั้งสัตว์อื่น เช่น จิ้งจก หนู และตุ๊กแก เป็นต้น
43
พันธุ์ไหม โคราช 8 ประวัติ ได้จากการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ไหม
พันธุ์ C134 ซึ่งได้รับจากประเทศญี่ปุ่น ไม่มีการกระจายพันธุ์ตามแบบพันธุ์แท้สายพันธุ์จีน ลักษณะเด่น การเจริญเติบโตของหนอนไหมเป็นไปอย่างสม่ำเสมอ เลี้ยงง่าย ในทุกสภาพพื้นที่ ปริมาณไข่ไหมต่อแม่สูง 351 ฟอง ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา เป็นพันธุ์ไหมที่ฟักออกตามธรรมชาติ ปีละ 2 ครั้ง (bivoltine)
44
พันธุ์ไหม ลำตัวขาวปลอด (plain) เมื่อแก่เต็มที่ (ใกล้สุก) หนอนไหมค่อนข้างอ้วนสั้น สีของผิวจะเป็นสีขาวขุ่นอมเหลือง ลักษณะรัง เป็นรูปไข่ค่อนข้างกลม เปลือกรังสีขาว ลักษณะทางการเกษตร ระยะที่เป็นตัวหนอน วัน ขึ้นอยู่กับฤดูกาล ความยาวรัง 3.5 เซนติเมตร ความกว้างรัง 2.2 เซนติเมตร
45
พันธุ์ไหม น้ำหนักรังสด 1 รัง 1.61 กรัม
น้ำหนักรังสด 1 รัง กรัม น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง เซนติกรัม เปอร์เซ็นต์การเข้าทำรัง เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ เปอร์เซ็นต์ ปริมาณไข่ไหมต่อแม่ ฟอง
46
พันธุ์ไหม ข้อจำกัด ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคที่เกิดกับไหมแทบทุกชนิด เช่น แฟลชเชอรี่ แอสเปอร์จิลลัส ฯลฯ ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงมักเน้นในทางป้องกันเป็นหลัก ศัตรูสำคัญได้แก่ แมลงวันก้นขน (tachinid flies) นอกจากนี้ยังมีมดหลายชนิด รวมทั้งสัตว์อื่น เช่น จิ้งจก หนู และตุ๊กแก เป็นต้น
47
พันธุ์ไหม นครราชสีมาลูกผสม 1
ประวัติ เป็นพันธุ์ไหมลูกผสมได้จากการผสมพันธุ์ระหว่าง โคราช 1 กับ โคราช 8 หรือ K1 x K8 ลักษณะเด่น ผลผลิตรังสูง สามารถนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตไหมเส้นยืน เส้นใยยาว และมีความเรียบ ความสะอาด อยู่ในเกณฑ์ดี สาวออกได้ง่าย ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา เป็นพันธุ์ไหมที่ฟักออกตามธรรมชาติ ปีละ 2 ครั้ง (bivoltine) รังสีขาว
48
พันธุ์ไหม ลำตัวหนอนสีขาวขุ่นอมเทา มีจุดหรือแต้มบนลำตัวเห็นได้ชัด 3 จุด
ลักษณะรังเป็นรูปไข่ เนื้อรังแน่น ลักษณะทางการเกษตร ระยะที่เป็นตัวหนอน 21 วัน ขึ้นอยู่กับฤดูกาล ความยาวรัง 4.5 เซนติเมตร ความกว้างรัง 2.0 เซนติเมตร ผลผลิตรังเฉลี่ย กิโลกรัมต่อกล่อง ความยาวเส้นใยประมาณ 1,100 เมตรต่อรัง เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง เปอร์เซ็นต์
49
พันธุ์ไหม ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคที่เกิดกับหนอนไหมทุกโรค ข้อจำกัด
ไม่เหมาะที่จะเลี้ยงในอุณหภูมิสูงกว่า 35 องศาเซลเซียส หรือ ต่ำ กว่า 20 องศาเซลเซียส ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคที่เกิดกับหนอนไหมทุกโรค
50
พันธุ์ไหม นครราชสีมาลูกผสม 60 หรือ ลูกผสมเหลืองโคราช
ประวัติ เป็นไหมลูกผสมสามทาง ได้จากการผสมระหว่างลูกผสมเดี่ยวรังสีขาว K1 x K15 กับไหมพันธุ์แท้สายพันธุ์จีนรังสีเหลือง KYP ลักษณะเด่น ให้ผลผลิตรังไหมสูงกว่า 20 กิโลกรัมต่อกล่อง นำไปเป็นวัตถุดิบในการสาวเส้นยืนสีเหลืองหรือเส้นพุ่งสีเหลืองเหมือนไหมเส้นพุ่งในท้องตลาดทั่วไป ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา เป็นไหมพวกที่ฟักออกจากไข่ได้ 2 ครั้งต่อปีตามธรรมชาติ (bivoltine)
51
พันธุ์ไหม ลำตัวหนอนค่อนข้างคล้ำ เพราะมีจุดประกายกระจายอยู่ทั่วลำตัว มีจุดหรือแต้มบนลำตัวมองเห็นชัดเจน 3 จุด ในระยะตัวหนอนวัย 4 จะเป็นสีเหลืองปรากฏที่บริเวณขาของส่วนท้องอย่างชัดเจน ลักษณะทางการเกษตร ความยาวของรัง เซนติเมตร ความกว้างของรัง เซนติเมตร น้ำหนักรังสด 1 รัง กรัม น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง เซนติกรัม เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์การเข้าทำรังของหนอนไหม เปอร์เซ็นต์
52
พันธุ์ไหม เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ 89.20 เปอร์เซ็นต์
เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ เปอร์เซ็นต์ ปริมาณไข่ไหมใน 1 แม่เฉลี่ย ฟอง อายุหนอนไหมตั้งแต่ฟักออกจนถึงทำรังประมาณ วัน แล้วแต่ฤดูกาล ข้อจำกัด เป็นพันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า
53
พันธุ์ไหม นครราชสีมา 60-1
ประวัติ ไหมพันธุ์นครราชสีมา 60-1 หรือ ไหมพันธุ์แท้โคราช 1 ได้จากการผสมพันธุ์ไหมจากประเทศญี่ปุ่นระหว่างพันธุ์ N124 กับพันธุ์ C124 ในศูนย์วิจัยหม่อนไหมนครราชสีมา แล้วทำการคัดเลือกพันธุ์จนมีรูปร่างและลักษณะเป็นพันธุ์แท้คล้ายพันธุ์ญี่ปุ่น (Japanese Race) ลักษณะเด่น การเจริญเติบโตของหนอนไหมสม่ำเสมอ ไม่มีการกระจายตัวทุกลักษณะ ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้น เป็นพันธุ์แท้ที่มีปริมาณไข่ไหมมากกว่าพันธุ์พื้นเมืองเดิม เลี้ยงได้ทุกฤดูกาลและทุกสภาพท้องที่
54
พันธุ์ไหม ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
เป็นพันธุ์ไหมที่ฟักออกตามธรรมชาติปีละ 2 ครั้ง (bivoltine) ลำตัวมีลายดำ (marking) ตรงส่วนอกและส่วนท้อง สีของผิวเป็นสีขาวขุ่นอมเหลือง ลักษณะรังคอดเป็นรูปฝักถั่วลิสง (peanut shape) เปลือกรังสีขาว ขยายพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ วางไข่ แม่ผีเสื้อ 1 ตัว สามารถให้ไข่ประมาณ 395 ฟอง แต่ในฤดูกาลที่มีอุณหภูมิและความชื้นเหมาะสม จะได้ปริมาณไข่ถึง 500 ฟอง
55
พันธุ์ไหม ลักษณะทางการเกษตร ความยาวของรัง 3.50 เซนติเมตร
ความยาวของรัง เซนติเมตร ความกว้างของรัง เซนติเมตร น้ำหนักรังสด 1 รัง กรัม น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง เซนติกรัม เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ เปอร์เซ็นต์ ปริมาณไข่ไหมใน 1 แม่เฉลี่ย ฟอง เปอร์เซ็นต์การเข้าทำรังของหนอนไหม เปอร์เซ็นต์ อายุหนอนไหมตั้งแต่ฟักออกจนถึงทำรังประมาณ วัน แล้วแต่ฤดูกาล
56
พันธุ์ไหม นครราชสีมา 60-2 ข้อจำกัด
เป็นพันธุ์ใช้เลี้ยงสำหรับเป็นพ่อแม่พันธุ์ในการผลิตไข่ไหม นครราชสีมา 60-2 ประวัติ เกิดจากการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ C 132 ซึ่งได้รับมาจากประเทศญี่ปุ่น ไม่มีการกระจายตัว เหมาะในการใช้เป็นพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ในการผลิตพันธุ์ไหมลูกผสม ลักษณะเด่น ปริมาณไข่ไหมเฉลี่ย 416 ฟอง/แม่ สามารถเลี้ยงได้ทุกฤดูกาลและทุกสภาพท้องที่ ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองเกือบ 2 เท่า คือ มีน้ำหนักรังสด 1 รัง 1.33 กรัม น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง 25.1 เซนติกรัม
57
พันธุ์ไหม มีความแข็งแรงสูง คือ มีเปอร์เซ็นต์การเข้าทำรังสดของหนอนไหม 90.3 เปอร์เซ็นต์ ดักแด้สมบูรณ์ 89.2 เปอร์เซ็นต์ มีเส้นใยยาวกว่า 1,000 เมตร ในขณะที่ไหมพื้นเมืองมีความยาวเพียงไม่เกิน 350 เมตร (ค่าเฉลี่ยจากการทดลองในปี พ.ศ. 2538) ระยะเวลาในการเลี้ยงค่อนข้างสั้น ทำให้ประหยัดแรงงานและใบหม่อน ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา เป็นพันธุ์ไหมที่ฟักออกตามธรรมชาติ ปีละ 2 ครั้ง (bivoltine) เป็นลำตัวขาวปลอด (plain) เมื่อแก่เต็มที่ (ใกล้สุก) หนอนไหมค่อนข้างอ้วนสั้น สีของผิวจะเป็นสีขาวขุ่น
58
พันธุ์ไหม ลักษณะทางการเกษตร
ลักษณะรัง เป็นรูปไข่ค่อนข้างกลม (rounded oval shape) เปลือกรังสีขาว ขยายพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ วางไข่ แม่ผีเสื้อไหม 1 ตัว สามารถให้ไข่ประมาณ 416 ฟอง ซึ่งจะเป็นตัวอ่อนและเลี้ยงเป็นหนอนต่อไปได้ประมาณ ตัว ความยาวของหนอนไหมโตเต็มที่ 5.5 – 7.0 เซนติเมตร น้ำหนักเฉลี่ยประมาณ 3 กรัม ความยาวของเส้นใยใน 1 รัง ประมาณ 1,000 เมตร ความสามารถในการสาวออก 81 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะทางการเกษตร พื้นที่สำหรับการเลี้ยง ขณะโตเต็มที่ 1,500 – 1,600 ตัว/ตารางเมตร
59
พันธุ์ไหม ระยะที่เป็นตัวหนอน วัน อายุการเก็บ วัน ( นับจากเริ่มเลี้ยง ) จำนวนรัง/1 กิโลกรัม ประมาณ 740 รัง ผลผลิตเฉลี่ยต่อ 1 กล่องไข่ไหม กิโลกรัม ข้อจำกัด ไม่เหมาะสมที่จะเลี้ยงในอุณหภูมิสูงกว่า 35 องศาเซลเซียส หรือต่ำกว่า 20องศาเซลเซียส โรค ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคที่เกิดกับไหมแทบทุกชนิด เช่น แฟลชเชอรี่ แอสเปอร์จิลลัส ฯลฯ ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงมักเน้นในทางป้องกันเป็นหลั ศัตรูสำคัญได้แก่ แมลงวันก้นขน (tachinid flies) นอกจากนี้ยังมีมดหลายชนิดรวมทั้งสัตว์อื่น เช่น จิ้งจก หนู และตุ๊กแก เป็นต้น
60
พันธุ์ไหม อุบลราชธานี 60
ประวัติ ไหมพันธุ์ลูกผสมของสาธารณรัฐประชาชนจีน กวางนองเบอร์ 3 (Guang Nong No.3) ซึ่งเป็นพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง กันยายน สถานีทดลองหม่อนไหมอุบลราชธานี ได้นำมาคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์จนได้ไหมพันธุ์แท้ UB1 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่เหมาะสมในการใช้เป็นพ่อ-แม่พันธุ์ กรมวิชาการเกษตรมีมติรับรองพันธุ์ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2531 ลักษณะเด่น มีความแข็งแรง เลี้ยงง่าย เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้น ระยะหนอนไหมรวมกับระยะดักแด้ วัน รูปร่างหนอนและรังมีความสม่ำเสมอ ไม่มีการกระจายพันธุ์
61
พันธุ์ไหม ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
เป็นพันธุ์ไหมที่ฟักออกตามธรรมชาติ ปีละ 2 ครั้ง (bivoltine) ลักษณะลำตัวหนอนไหมสีขาวปลอด รูปร่างรังไหมคอดกลาง สีของรังสีขาว ลักษณะทางการเกษตร ระยะเวลาการเลี้ยง วัน จำนวนไข่ไหมต่อแม่ ฟอง ลำตัวหนอนไหมยาว เซนติเมตร
62
พันธุ์ไหม ความยาวรังไหม 3 เซนติเมตร ความกว้าง 1.4 เซนติเมตร
น้ำหนักรังสด 1 รัง กรัม น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง เซนติกรัม ข้อจำกัด เหมาะกับการใช้เป็นพ่อ-แม่พันธุ์ในการผลิตไข่ไหมเท่านั้น
63
พันธุ์ไหม นางน้อยศรีสะเกษ 1
ประวัติ จากการสำรวจและรวบรวมพันธุ์ไหมจากหมู่บ้านเกษตรกรของสถานีทดลองหม่อนไหมบุรีรัมย์ แล้วนำมาเลี้ยงคัดเลือกเฉพาะพันธุ์ที่สามารถเลี้ยงรอดได้ในสภาพอากาศร้อนจัด พบว่า เป็นพันธุ์ที่มีเปอร์เซ็นต์การเลี้ยงรอดสูง จึงนำมาปรับปรุงพันธุ์เรื่อยมา ศูนย์วิจัยหม่อนไหมศรีสะเกษได้ดำเนินศึกษาและปรับปรุงพันธุ์ต่อจนถึงชั่วที่ 96 จึงขอมติรับรองพันธุ์จากกรมวิชาการเกษตร เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2531 ลักษณะเด่น เป็นไหมพันธุ์แท้สายพันธุ์ไทย มีความแข็งแรง เลี้ยงง่าย จำนวนไข่ไหมต่อแม่สูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองที่เกษตรกรนิยมเลี้ยง
64
พันธุ์ไหม สามารถเลี้ยงได้ในที่มีอุณหภูมิสูง (33-35 องศาเซลเซียส)
รูปร่างหนอนไหม รังไหม มีความสม่ำเสมอ ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา เป็นไหมพันธุ์แท้สายพันธุ์ไทย ชนิดฟักออกตลอดปี ลำตัวหนอนไหมมีสีขาวนวล รูปร่างรังไหม หัวรังป้าน ท้ายรังค่อนข้างแหลม ลักษณะทางการเกษตร ระยะเวลาการเลี้ยง วัน ในฤดูร้อนและฤดูหนาว
65
พันธุ์ไหม จำนวนไข่ไหมต่อแม่ 378 ฟอง
จำนวนไข่ไหมต่อแม่ ฟอง ความยาวรังไหม 3 เซนติเมตร ความกว้าง 1.5 เซนติเมตร น้ำหนักรังสด 1 รัง กรัม น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง เซนติกรัม ความยาวเส้นใยต่อรัง เมตร
66
พันธุ์ไหม อุบลราชธานี 60-35 (ดอกบัว)
ประวัติ ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างไหมพันธุ์แท้อุบลราชธานี 60 กับ พันธุ์นางน้อยศรีสะเกษ 1 ลักษณะเด่น เลี้ยงง่าย มีความแข็งแรงสูง เหมาะกับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย อายุหนอนไหมสั้นประมาณ 18 วัน จึงลดต้นทุนการผลิต และความเสี่ยงต่อการเกิดโรคก็ลดลงเช่นกัน ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์
67
พันธุ์ไหม ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
- ลำตัวของหนอนไหมสีขาวปลอด - รังไหมรูปร่างหัวท้ายป้านค่อนข้างกลม - สีของรังและเส้นไหมเป็นสีเหลือง ลักษณะทางการเกษตร - จำนวนไข่ไหมต่อแม่ ฟอง - อายุของหนอนไหม วัน - น้ำหนักรังสด 1 รัง กรัม - น้ำหนักเปลือกรัง 1 รัง เซนติกรัม - ความยาวเส้นใยต่อรัง เมตร
68
พันธุ์ไหม ไหมพันธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตร ไหมพันธุ์ไทยลูกผสมสกลนคร
ประกาศเป็นพันธุ์แนะนำเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ โดยเป็นพันธุ์ลูกผสมระหว่างพันธุ์ SP1 x SB2 ลักษณะเด่น มีความแข็งแรง เลี้ยงได้ตลอดปี ให้ผลผลิตสูง จำนวนไข่ไหมต่อแม่สูง ความยาวเส้นใยยาวและสาวง่ายกว่าพันธุ์อุบลราชธานี 60-35
69
พันธุ์ไหม ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
หนอนไหมเพศเมียตัวลาย เพศผู้ตัวสีขาวปลอด รูปร่างรังยาวรี ลักษณะทางการเกษตร จำนวนไข่ไหมต่อแม่ 540 ฟอง อายุหนอนไหม 19 วัน เปอร์เซ็นต์การเลี้ยงรอดวัยอ่อน เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักรังสด กรัม/รัง
70
พันธุ์ไหม น้ำหนักเปลือกรัง 28.33 เซนติกรัม/รัง
น้ำหนักเปลือกรัง เซนติกรัม/รัง ขนาดรัง x เซนติเมตร ความยาวเฉลี่ยเส้นใยต่อรัง เมตร ขนาดของเส้นไหม ดีเนียร์ เปอร์เซ็นต์การสาวง่าย เปอร์เซ็นต์ ผลผลิตรังสดต่อแผ่นไข่ไหม กิโลกรัม
71
พันธุ์ไหม ไหมพันธุ์ไทยลูกผสมอุดรธานี
ประกาศเป็นพันธุ์รับรองแนะนำเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ โดยเป็นพันธุ์ลูกผสมระหว่างพันธุ์ SKN1 กับเขียวสกล ลักษณะเด่น มีความแข็งแรง เลี้ยงได้ตลอดปี ไม่มีการกระจายตัว จำนวนไข่ไหมต่อแม่สูง ต้านทานต่อเชื้อ Nuclear Polyhedrosis Virus (NPV)
72
พันธุ์ไหม ลักษณะประจำพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
- ไข่ไหมมีสีขาวอมเหลือง - ลำตัวหนอนไหมสีเหลืองอ่อน - รังไหมรูปร่างยาวรี ลักษณะทางการเกษตร - จำนวนไข่ไหมต่อแม่ ฟอง - อายุหนอนไหม วัน - เปอร์เซ็นต์การเลี้ยงรอดวัยอ่อน เปอร์เซ็นต์ - เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ เปอร์เซ็นต์
73
พันธุ์ไหม น้ำหนักรังสด 1.47 กรัม/รัง
น้ำหนักรังสด กรัม/รัง น้ำหนักเปลือกรัง เซนติกรัม/รัง ความยาวเฉลี่ยเส้นใยต่อรัง เมตร ขนาดของเส้นไหม ดีเนียร์ เปอร์เซ็นต์การสาวง่าย เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักหนอนไหมโตเต็มที่เฉลี่ย 10 ตัว กรัม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.