งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเสริมสร้าง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเสริมสร้าง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเสริมสร้าง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน

2 IQ : คืออะไร ไอคิว (IQ) ย่อมาจากคำว่า Intelligence Quotient คือความฉลาดทางสติปัญญา เป็นตัวเลขแสดงระดับเชาวน์ปัญญาหรือความสามารถในการเรียนรู้ วิเคราะห์ทำความเข้าใจ แยะแยก สร้างความคิดรวบยอดและจดจำข้อมูลต่างๆ ค่าไอคิว ได้มาจากการตรวจวัด ด้วยแบบทดสอบที่เน้นการคิด การใช้เหตุผล การเชื่อมโยง การคำนวณ คนที่มีความฉลาดทางสติปัญญามากจะยิ่งมีไอคิวสูง

3 EQ คืออะไร ยกตัวอย่างกิจกรรมที่คุณครูคิดว่าเป็นการส่งเสริม EQ ชั้นเรียน ???????

4 EQ คืออะไร EQ : Emotional Quotient คือ ความฉลาดทางอารมณ์ที่จะช่วยให้คนเรา - รู้จักและเข้าใจอารมณ์ทั้งของตนเองและผู้อื่น - รู้จักปรับใจและปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและมีความสุข - ยังไม่สามารถวัดออกมาเป็นคะแนนเป็นแค่การประเมินเพื่อให้ ผู้วัดมองเห็นความบกพร่องของความสามารถทางด้านอารมณ์ที่ต้องพัฒนาแก้ไขเท่านั้น

5 มีองค์ประกอบ 3 ด้าน 1. ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมตนเอง รักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม 2. เก่ง หมายถึง ความสามารถในการรู้จักตนเอง คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีแรงจูงใจในตนเองมุ่งมั่นทำให้สำเร็จ ตัดสินใจแก้ปัญหาและแสดงออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สุข หมายถึง ความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข

6 ดี ก่อนวัยเรียน วัยเรียน 3-5 ปี 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี
1. ควบคุมอารมณ์:ยับยั้งได้ รู้จักรอ 2. ใส่ใจและเข้าใจอารมณ์ผู้อื่น:รับฟัง เห็นอกเห็นใจ ใส่ใจ 3. ยอมรับผิด:รู้อะไรดี ไม่ดี ยอมรับถ้าทำไม่ดี ไม่ถูกต้อง 1. รู้จักอารมณ์:อารมณ์ตนเอง การแสดงออกอารมณ์ตนเองและผู้อื่น 2. มีน้ำใจ:สนใจ แบ่งปัน ช่วยเหลือ 3. รู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด 1. ควบคุมตนเอง:ความต้องการ และพฤติกรรม 2. เห็นใจผู้อื่น:ผูกพัน เข้าใจ เห็นใจ 3. รับผิดชอบ:ตนเอง ผู้อื่น ส่วนรวม ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี

7 เก่ง ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี
1. มุ่งมั่นพยายาม:มีสมาธิ มีความตั้งใจ 2. ปรับตัวต่อปัญหา:มีปัญหาหาทางออก หาข้อตกลง 3. กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม:แสดงความสามารถ กล้าถาม ให้ข้อคิดเห็น 1. กระตือรือร้น/สนใจใฝ่รู้:ซักถาม หาด้วยตนเอง 2. ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง: ยอมรับ ยืดหยุ่น 3. กล้าพูดกล้าบอก:ความรู้สึก ความต้องการ เรื่องราว 1. มีแรงจูงใจ:กระตุ้นตนเองให้ฝ่าฟันอุปสรรค ทำสิ่งต่างๆให้สำเร็จ 2. ตัดสินใจและแก้ไขปัญหา: กล้าตัดสินใจ จัดการปัญหาเหมาะสม 3. สัมพันธภาพ:สื่อสารทั้งบอกเล่าและโต้แย้ง ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี

8 สุข ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี
1. พอใจในตนเอง:ไม่อาย ไม่น้อยใจ บอกสิ่งที่ดี ภูมิใจ 2. รู้จักปรับใจ: อารมณ์เสีย น้อยใจ โกรธไม่นาน ยืดหยุ่น ไม่เรียกร้อง คร่ำครวญ 3. รื่นเริงเบิกบาน:สร้างความสนุกสนาน รู้จักผ่อนคลาย 1. มีความพอใจ:ที่ได้รับความรัก ความสนใจ ความชื่นชม 2. อบอุ่นใจ:ที่ได้รับการปกป้องคุ้มครอง 3. สนุกสนานร่าเริง:กับการเล่นตามลำพังและกับผู้อื่น 1. ภูมิใจในตนเอง:ตนเองมีคุณค่าเมื่อทำสำเร็จแม้ไม่มีใครชม 2. พอใจในชีวิต:ตั้งเป้าที่เหมาะสม คิดบวก 3. สุขสงบทางใจ:สุขเมื่อทำดี ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี

9 ความสำคัญของการพัฒนาEQ
ไอคิวและอีคิว มีบทบาทอย่างไรต่อความสำเร็จ ไอคิวและอีคิว เป็นความความฉลาดที่ เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน คนที่ไอคิวดี+อีคิวดี = มีโอกาสในการ ประสบความสำเร็จมากขึ้น การมีไอคิวดี จะช่วยให้เรียนรู้การ ควบคุมและจัดการอารมณ์ ได้เร็ว การมีอีคิวดี จะช่วยให้ใช้ ความสามารถทางสติปัญญาได้เต็มที่

10 ความสัมพันธ์ระหว่าง ไอคิวและอีคิว
สำเร็จในชีวิต เด็กที่ฉลาด ดี เก่ง สุข เด็กปรับตัวได้ดี รับมือกับปัญหาได้ จากการวิจัย พบว่า คนที่ประสบความสำเร็จในชีวิต อีคิวมักจะนำไอคิว จึงต้องควรพัฒนาไปพร้อมๆ กัน

11 การส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์
การรู้จักตนเอง มีเอกลักษณ์ในตนเอง มีความพึงพอใจ และเห็นคุณค่าในตนเอง การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น และการรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม แนวทางการส่งเสริม/ดูแลและช่วยเหลือเพื่อพัฒนา การจัดการกับอารมณ์ ความเครียด มีทักษะในการควบคุมอารมณ์ และการตัดสินใจแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวิธี สมาธสั้น ความสามารถในการสร้างวงจรชีวิตที่มีความสุข ให้มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และสามารถหาความสุขที่ไม่ทำร้ายตนเองและผู้อื่น

12 เป้าหมายการพัฒนาอีคิวเด็กนักเรียน
1. มุ่งมั่นพยายาม 2. ปรับตัวต่อปัญหา 3. กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 1. ควบคุมอารมณ์ตัวเองได้ 2. ใส่ใจและเข้าใจอารมณ์อารมณ์ผู้อื่น 3. ยอมรับผิด 1. พอใจในตนเอง 2. รู้จักปรับใจ 3. รื่นเริงเบิกบาน ดี เก่ง สุข

13 แนวทางการดูแลอีคิวเด็ก

14 กิจกรรมเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์
จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กทั้งในและนอกห้องเรียนที่นักเรียนทุกคนต้องทำ กิจกรรมในชั้นเรียนตามแผนการจัดกิจกรรม กิจกรรมบูรณาการ เป็นกิจกรรมนอกหลักสูตร สมาธสั้น

15 กิจกรรมการเสริมสร้างอีคิว

16 กิจกรรมการเสริมสร้างอีคิว

17 กิจกรรมการเสริมสร้างอีคิว

18 การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล

19 การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล
สมาธิและสติ เป็นเครื่องมือจัดการความเครียดความโกรธ ความวุ่นวายในใจที่มีประสิทธิภาพ สมาธิ - การระลึกรู้อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างต่อเนื่อง เช่น ลมหายใจ พุทโธ ท้องพองยุบ ดวงแก้ว พระผู้เป็นเจ้า บทสวด จะทำให้เกิดความสงบ สบาย ผ่อนคลาย จิตมีกำลัง สติ - การระลึกรู้ทันสิ่งที่เกิดขึ้นในใจในปัจจุบันขณะ เช่น อารมณ์ ความคิด

20 การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล

21 การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล
ฝึกรู้ลมหายใจโดยการนั่งหลับตาสบายๆ ผ่อนคลาย สังเกตร่างกายตัวเองกำลังหายใจ ท่านใดถนัดดูท้องพองยุบ ให้ดูท้องพองยุบ ท่านใดถนัดท่องพุทโธ ให้ท่องพุทโธ ท่านใดระลึกถึงพระผู้เป็นเจ้าแล้วใจสงบ ให้ระลึกถึงพระผู้เป็นเจ้า หากมีความคิดเกิดขึ้น ให้รู้เพียงว่ามีความคิดเกิดขึ้น แล้วกลับมา ระลึกรู้ลมหายใจ/ท้องพองยุบ/พุทโธ/พระผู้เป็นเจ้าตามเดิม ใช้เวลา 5 นาที

22


ดาวน์โหลด ppt การเสริมสร้าง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google