ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การรับคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
โดย นางสาวสุลักษณา สุนทรวิภาต นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ กลุ่มสารบบและตรวจรับคำขอ กองสิทธิบัตร 02/09/2558
2
Content : ความหมายสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ประเภทของสิทธิบัตร
เงื่อนไขการขอรับสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร หลักเกณฑ์การพิจารณาตรวจรับคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ระบบสิทธิบัตร (e-patent) เอกสารประกอบการรับคำขอตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ การค้นหาสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558
3
02/09/2558
4
สิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
5
ความหมายสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
สิทธิบัตร หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 อนุสิทธิบัตร หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 02/09/2558
6
ประเภทของสิทธิบัตร รูปแบบหรือประเภทของสิทธิบัตรตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตรจะมีอยู่ 3 ประเภท คือ ประเภทที่หนึ่ง สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึง การคิดค้นเกี่ยวกับ กลไก โครงสร้างส่วนประกอบของสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น กลไกของกล้องถ่ายรูป กลไกของเครื่องยนต์ ยารักษาโรค เป็นต้น หรือการคิดค้นกรรมวิธีในการผลิตสิ่งของ เช่น วิธีการในการผลิตสินค้า วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น ประเภทที่สอง สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบรูปร่าง ลวดลายหรือสีสัน แบบผลิตภัณฑ์ หมายความถึง รูปร่างของแบบผลิตภัณฑ์ หรือองค์ประกอบของลวดลายหรือสีของแบบผลิตภัณฑ์ที่มองเห็นได้จากภายนอก อันมีลักษณะพิเศษ สำหรับผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถใช้เป็นแบบสำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรม เช่น การออกแบบแก้วน้ำให้มีรูปร่างเหมือนแจกัน เป็นต้น ประเภทที่สาม อนุสิทธิบัตร เป็นการให้ความคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์คิดค้น เช่นเดียวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ แต่แตกต่างกันตรงที่การประดิษฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบัตร นั้น เป็นการประดิษฐ์ที่มีการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย ต่อยอด หรือเพิ่มประโยชน์ใช้สอยให้มากขึ้น 02/09/2558
7
เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์
กฎหมายกำหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง 3 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1. เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจำหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสารสิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือในวิทยุ มาก่อน 2. มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น คือ ไม่เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถทำได้ง่าย โดยผู้มีความรู้ในระดับธรรมดา หรืออาจพูดได้ว่า มีการแก้ไขปัญหาทางเทคนิคของสิ่งประดิษฐ์ที่มีมาก่อน 3. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรมเกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ 02/09/2558
8
เงื่อนไขในการขอรับอนุสิทธิบัตร
การประดิษฐ์ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้ กฎหมายกำหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1. เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจำหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสารสิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือวิทยุ มาก่อน 2. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรมเกษตรกรรม พาณิชยกรรมได้ 02/09/2558
9
ประเภทคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
10
ประเภทคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (ต่อ)
02/09/2558
11
บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมของคำขอฯประเภทต่างๆ
02/09/2558
12
บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมของคำขอฯประเภทต่างๆ (ต่อ)
02/09/2558
13
อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมของคำขอฯประเภทต่างๆ (ต่อ) ค่าธรรมเนียมรายปีอนุสิทธิบัตร ปีที่ 5 750 ปีที่ 6 1,500 หรือชำระทั้งหมดในคราวเดียว 2,000 ค่าธรรมเนียมต่ออายุอนุสิทธิบัตร ครั้งที่ 1 6,000 ครั้งที่ 2 9,000 อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร - สิทธิบัตรการประดิษฐ์มีอายุ ๒๐ ปี - สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์มีอายุ ๑๐ ปี - อนุสิทธิบัตรมีอายุ ๖ ปี และอาจขอต่ออายุได้ ๒ คราวๆละ ๒ ปี รวม ๑๐ ปี 02/09/2558
14
หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (คำขอใหม่) หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร มาตรา ได้บัญญัติว่า การขอรับสิทธิบัตรให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดโดยกฎกระทรวง คำขอรับสิทธิบัตรให้มีรายการดังต่อไปนี้ (1) ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์ (2) ลักษณะและความมุ่งหมายของการประดิษฐ์ (3) รายละเอียดการประดิษฐ์ที่มีข้อความสมบูรณ์ รัดกุม และชัดแจ้งอันจะทำให้ ผู้มีความ ชำนาญในระดับสามัญในศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวข้องสามารถทำและปฏิบัติการตาม การประดิษฐ์นั้น ได้ และต้องระบุวิธีการในการประดิษฐ์ที่ดีที่สุดที่ผู้ประดิษฐ์จะพึงทราบได้ (4) ข้อถือสิทธิโดยชัดแจ้ง (5) รายการอื่นตามที่กำหนดโดยกฎกระทรวง.... 02/09/2558
15
การขอรับความคุ้มครองสิทธิบัตร /อนุสิทธิบัตร
การยื่นขอจดทะเบียนจะต้องมีเอกสาร ดังนี้ คำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ /อนุสิทธิบัตร ต้องประกอบด้วย - แบบพิมพ์คำขอ แบบสบ/สผ/อสป/001-ก - รายละเอียดการประดิษฐ์ (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 3) - ข้อถือสิทธิ (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 4 , ข้อ 5) - บทสรุปการประดิษฐ์ (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 6) - รูปเขียน (ถ้ามี) (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 7) เอกสารประกอบคำขอ ต้องประกอบด้วย - คำรับรองสิทธิเกี่ยวกับการขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (กรณีที่ผู้ขอเป็นบุคคล) - หนังสือโอนสิทธิ (กรณีที่ผู้ขอไม่ได้เป็นผู้ประดิษฐ์) - ต้นฉบับหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล ออกให้ไม่เกิน 6 เดือน(กรณีนิติบุคคล) - เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สัญญาการว่าจ้าง/เอกสารแสดงการเป็นนายจ้างของผู้ประดิษฐ์ หนังสือมอบอำนาจ หนังสือโอนสิทธิ (กรณีที่ผู้ขอไม่ได้เป็นผู้ประดิษฐ์) - สำเนาบัตรประชาชน (ผู้ประดิษฐ์/ผู้ขอรับสิทธิบัตร) 02/09/2558
16
ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
17
ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
18
ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
19
คำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
20
ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
21
ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
22
ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
23
ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
24
เอกสารสิทธิประกอบการขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
กรณีผู้ขอรับสิทธิบัตรเป็นบุคคลธรรมดา 1.คำรับรองเกี่ยวกับสิทธิ แบบ สป/สผ/๐๐๑-ก(พ) 2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ประดิษฐ์ ผู้ขอรับสิทธิบัตร พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง 02/09/2558
25
เอกสารประกอบคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
กรณีผู้ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรเป็นนิติบุคคล 1. สัญญาโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ต้นฉบับหรือสำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล ซึ่งออกให้ไม่เกิน 6 เดือน หรือเอกสารตาม กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งนิติบุคคล 2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ประดิษฐ์ (ผู้โอน) ผู้ขอรับสิทธิบัตร (ผู้รับโอน) (เช่น กรรมการบริษัท หัวหน้าส่วนราชการ ผู้ได้รับมอบ อำนาจให้ลงนามแทน อธิการบดี ประธานมูลนิธิ เป็นต้น) พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง 02/09/2558
26
เอกสารประกอบคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
02/09/2558
27
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
28
https://patentonline.ipthailand.go.th ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
29
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
30
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
31
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
32
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
33
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
34
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
35
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
36
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
37
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
38
การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ
เอกสารที่ใช้ในการตรวจรับคำขอฯ ตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ 1. Checklist 2. บันทึกข้อตกลง (เอกสารประกอบคำบรรยาย) 02/09/2558
39
การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ
เจ้าหน้าที่จะต้องตรวจอะไรบ้าง ? 1. การตรวจรับคำขอใหม่ คำขอรับสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตร ครบหรือไม่ ? ครบ √ คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ซึ่งประกอบด้วย - แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร - รายละเอียดการประดิษฐ์ - ข้อถือสิทธิ - รูปเขียน (ถ้ามี) - บทสรุปการประดิษฐ์ ไม่ครบ x (ถ้าองค์ประกอบของคำขอไม่ครบ ถือว่าไม่ถูกต้อง ให้คืนคำขอ) 02/09/2558
40
การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ
02/09/2558
41
การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ
กรณีเอกสารครบถ้วน (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล) ลำดับการตรวจเอกสาร 1.แบบพิมพ์คำขอ กรอกข้อมูลครบ 2.รายละเอียดการประดิษฐ์ มี 3.ข้อถือสิทธิ มี 4.รูปเขียน (ถ้ามี) (ถ้ามี) 5.บทสรุปการประดิษฐ์ มี เอกสารประกอบคำขอ บุคคลธรรมดา นิติบุคคล 1.คำรับรองเกี่ยวกับสิทธิ สัญญาโอนสิทธิ 2.สำเนาบัตรประชาชน หนังสือรับรองฯ - ผู้ประดิษฐ์/ผู้ขอฯ ไม่เกิน 6 เดือน 3.สำเนาบัตรฯ กรรมการผู้มีอำนาจ ลงนาม + ตราประทับ 26 ส.ค.58 02/09/2558
42
กรณีเอกสารไม่ครบถ้วน (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล)
ลำดับการตรวจเอกสาร 1.แบบพิมพ์คำขอ กรอกข้อมูลครบ 2.รายละเอียดการประดิษฐ์ มี 3.ข้อถือสิทธิ มี 4.รูปเขียน (ถ้ามี) (ถ้ามี) 5.บทสรุปการประดิษฐ์ มี เอกสารประกอบคำขอ (ขยายได้ไม่เกิน 90 วัน)****** บุคคลธรรมดา นิติบุคคล 1.คำรับรองเกี่ยวกับสิทธิ สัญญาโอนสิทธิ 2.สำเนาบัตรประชาชน หนังสือรับรองฯ - ผู้ประดิษฐ์/ผู้ขอฯ ไม่เกิน 6 เดือน 3.สำเนาบัตรฯ กรรมการผู้มีอำนาจ ลงนาม + ตราประทับ 26 ส.ค.58 02/09/2558
43
กรณีไม่เอกสารครบถ้วน (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล)
26 ส.ค. 58 24 พ.ย.2558 02/09/2558
44
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
45
ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent)
02/09/2558
46
Check List ตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ
1.การจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 2.การจดทะเบียนอนุสิทธิบัตร 3.การจดทะเบียนขอรับความคุ้มครองแบบผังภูมิวงจรรวม 4.การจดทะเบียนการอนุญาตให้ใช้สิทธิตามสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร 5.การจดทะเบียนโอนสิทธิตามสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร 6.คำขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลหลังรับจดทะเบียน (แก้ไข) 7.การต่ออายุอนุสิทธิบัตร 8.การจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดิษฐ์ระหว่างประเทศ (PCT) 9.การฟื้นสิทธิให้คำขอระหว่างประเทศ(PCT)ยังคงมีผลในประเทศไทย (อธิบายจากเอกสารประกอบการบรรยาย) 02/09/2558
47
สิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร
คำขอที่อยู่ในกระบวนงาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ทุกกระบวนงาน เมื่อ สนง.พณจ.รับคำขอไว้แล้ว 1. กรณีเอกสารครบถ้วนให้ส่งมาที่กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้เลย 2. แต่ถ้าเอกสารไม่ครบ ให้ สนง.พณจ.เก็บคำขอจนครบระยะเวลาผ่อนผัน (ไม่เกิน 90 วัน) เมื่อครบกำหนดระยะเวลาแล้ว จะมี 2 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 ผู้ขอฯนำมายื่นแก้ไข+เอกสารเพิ่มเติม+ชำระค่าธรรมเนียม 50 บาท ส่งกรม กรณีที่ 2 ผู้ขอฯไม่ส่งเอกสาร ให้ พณจ.คืนคำขอแก่ผู้ขอฯโดยทำหนังสือแจ้งคืนคำขอฯ และแจ้งมายังกรมฯถึงการคืนคำขอนั้นๆ 02/09/2558
48
หนังสือแจ้งคืนคำขอตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวกฯ
02/09/2558
49
รายชื่อหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้น
02/09/2558
50
รายชื่อหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้น
02/09/2558
51
รายชื่อหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมฯ
02/09/2558
52
การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก
02/09/2558
53
การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก
02/09/2558
54
การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก
02/09/2558
55
การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก
02/09/2558
56
การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก
02/09/2558
57
การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก
02/09/2558
58
การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก
02/09/2558
59
เบอร์โทร. 0-2547-4637 เบอร์โทร.ภายใน 1002
เบอร์โทร เบอร์โทร.ภายใน 1002 02/09/2558
60
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!
02/09/2558
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.