ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
พรทิพย์ บุญเรือง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ปากบางภูมี
2
คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity Clinic : DPAC)
คลินิกที่ดำเนินการเพื่อให้เกิดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและมีการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลัง พร้อมทั้งสนับสนุนให้เกิดผลการปฏิบัติตามแนวทางมาตรฐานที่กำหนดไว้แต่ละกลุ่มวัยอย่างถูกต้อง สนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนในการปฏิบัติ ที่มา : คู่มือการดำเนินงานในคลินิก DPAC สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
3
กิจกรรมบริการในคลินิกไร้พุง
ซักประวัติ ให้บริการตรวจวิเคราะห์สุขภาพ การให้บริการด้านสุขภาพ การให้คำปรึกษา การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม การจัดการบรรยายพิเศษ การจัดนิทรรศการ การเผยแพร่ความรู้ด้วยสื่อ การส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง มอบสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ผู้รับบริการ นัดและติดตามประเมินผล
4
องค์ประกอบหลัก DPAC คุณภาพ
1.การนำองค์กร 2.การวางแผนและบริหารเชิงกลยุทธ์ 3.การมุ่งเน้นผู้รับบริการและประชาชน 4.การวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้ 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6.การจัดการกระบวนการ 7.ผลลัพธ์การดำเนินงาน
5
ประเด็น หรือ สิ่งที่ผู้ปฏิบัติ ต้องรู้
1. คลินิกไร้พุง 2. กลุ่มเป้าหมายและเป้าหมายของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พุง 4. เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
6
กระบวนงานและขั้นตอนการให้บริการ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เจ้าหน้าที่แนะนำบริการ ความจำเป็นที่ต้องลดน้ำหนัก ความสำคัญของการกิน/ออกกำลังกาย ภาวะอ้วนกับสุขภาพที่เป็นปัญหา ผู้รับบริการ/ผู้ที่สนใจ เข้ามาที่คลินิก พูดคุย ซักถาม ใช้แบบประเมินสุขภาพพฤติกรรมการกิน และการใช้แรงกาย ดัชนีชี้วัดสุขภาพ ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว พร้อม ประเมินความพร้อมที่ จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ยังไม่พร้อม สนใจเข้ารับบริการ ให้เอกสารความรู้เรื่องสุขภาพ โทรติดตามพูดคุยเพื่อให้มาตามนัด เข้าเป็นสมาชิกคลินิก ทำทะเบียนบันทึกประวัติ พูดคุยตั้งเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว จัดโปรแกรมการกิน/ออกกำลังกาย รับปฏิทิน/เอกสารการบันทึก นัดติดตามการดูแลต่อเนื่อง การติดตาม นัดหมาย 1-2 สัปดาห์ (แล้วแต่บริบทของผู้รับบริการ) เพื่อเข้ามารับความรู้เพิ่มเติม พูดคุยเกี่ยวกับอุปสรรค การตั้งเป้าหมายเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและชั่งน้ำหนัก ติดตามทางโทรศัพท์ (กรณีไม่มาตามนัด โทรนัดติดตามใหม่ 2 ครั้ง) ประเมินสุขภาพและพฤติกรรม นัดพบเป็นระยะทุก 1-2 เดือน บันทึกดัชนีชี้วัดทางสุขภาพ ดัชนีมวลกายและเส้นรอบเอว
7
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องเข้าคลินิค DPAC
1. BMI 30 ขึ้นไป 2. รอบเอวในผู้หญิงมากกว่า 88 ซม. ผู้ชายมากกว่า 102 ซม. 3. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือ ความดันโลหิตสูงรายใหม่ 4. มีภาวะ Pre DM ( 100 – 125 mg%) 5. มีภาวะ Pre HT (BPมากกว่า 120/80 – 139/99) 6 ผู้ป่วย NCD ที่ควบคุมโรคไม่ได้
8
กลุ่มเป้าหมาย ได้จากการคัดกรองประชาชน และทะเบียนการรักษาในรพ.สต.
กลุ่มเป้าหมายของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในคลินิกไร้พุง รพ.สต.ปากบางภูมี ปีงบประมาณ 2559 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวานPre DMและเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูงPre HT จำนวน ราย ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน ราย ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้จำนวน ราย อ้วน (BMI 25 กก./ม2) จำนวน ราย อ้วนลงพุงที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง (รอบเอว ชาย 102 ซม. และหญิง 88 ซม.) จำนวน ราย กลุ่มเป้าหมาย ได้จากการคัดกรองประชาชน และทะเบียนการรักษาในรพ.สต.
9
1.ตกลงบริการ ให้ความรู้ เพื่อสร้างความตระหนัก แรงจูงใจ และความเชื่อมั่น ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยง -อันตราย/โรคที่เกิดจากภาวะอ้วนลงพุง ความรุนแรงของโรค เช่น อัมพาต อัมพฤกษ์ ภาวะแทรกซ้อน จากเบาหวาน 3 ต(ตา ไต ตีน) -ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และหลอดเลือดหัวใจ -การลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคด้วยการลดน้ำหนัก/รอบเอว กรณีไม่เข้ารับบริการในคลินิก DPAC ให้เอกสารแผ่นพับ และนัดหมายตรวจตามแผนการรักษา กรณีเข้ารับบริการในคลินิก DPAC ดำเนินการตามขั้นตอนต่อไป
10
2.ประเมินปัญหา สรุปปัญหา/สาเหตุ
2.ประเมินปัญหา สรุปปัญหา/สาเหตุ ซักประวัติ ตามแบบบันทึกข้อมูลคลินิก DPAC ประกอบด้วย ประวัติส่วนบุคคล ประวัติการเจ็บป่วย ประวัติครอบครัว ประวัติพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย ประวัติการลดน้ำหนัก
11
ประเมินปัญหา (ต่อ) ประเมินความรู้ /พฤติกรรมสุขภาพ
- แบบประเมินความรู้ ภาวะอ้วนลงพุง - แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ - ก้างปลาวิเคราะห์ปัญหา ภาวะอ้วนลงพุง - แบบบันทึกการบริโภคอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (กรณีที่ไม่สามารถค้นหาปัญหาได้)
12
3.ก้างปลาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมการบริโภค ดื่มน้ำน้อยกว่า 8 แก้ว/วัน ไม่มีเพื่อน ไม่กินอาหารมื้อเช้า กินขนมหวาน/ขบเคี้ยว/เบเกอรี/ผลไม้หวานๆ/ข้าวเหนียว ไม่มีเวลา ไม่ชอบ กินเร็ว (รู้สึกอิ่มตื้อบ่อยๆ) กินอาหารประเภททอด ผัด กะทิ เนื้อติดมัน ข้าวมันไก่ ข้าวขาหมูบ่อยๆ กินอาหารปริมาณมากในแต่ละมื้อ ไม่ออกกำลังกาย ไม่ชอบ ผัก /ผลไม้จืดๆ กินอาหารทะเล เช่น หอยนางรม ปลาหมึก/ ไข่แดง/เครื่องในสัตว์/ ของหมักดอง ทำงานนั่งโต๊ะ เสียดายของ อิ่มแล้วกินต่อ ชอบนอนดูTV ชอบกินบุฟเฟ่ ดื่มน้ำอัดลม /กาแฟเย็น/น้ำหวานทุกวัน ไม่(ชอบ)ทำงานบ้าน กินจุบจิบ/กินไปดู TV ไป ชอบปรุงอาหารด้วยน้ำตาลทราย/ ผงชูรส ใช้ลิฟต์มากกว่าใช้บันได กินก่อนนอน < 4 ชม. ใช้น้ำมันสัตว์ปรุงอาหาร ซื้ออาหารตุน(โซนสีแดง)ในตู้เย็น ดื่มสุรา/เบียร์ประจำ อ้วน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ครอบครัวชอบทำอาหารทอดผัด เพราะทำง่าย,ชอบ คิดว่าเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก คนในครอบครัว/เพื่อนชวนกันกิน (อาหารนอกบ้าน,พิซซ่า,ไอศกรีม,KFC,โดนัส) ถ้าเครียดจะกินมากขึ้น เพื่อนชอบแบ่งอาหารให้ เพราะเห็นว่าชอบกิน กินเพราะอยาก แม้ไม่หิว ทานอาหารนอกบ้านบ่อย/งานเลี้ยง/ประชุม มักมีแต่อาหารหวาน/มัน/เค็ม/ทอด/ผัด อ้วนแต่ก็แข็งแรง ภาวะจิตใจ แรงสนับสนุนทางสังคม
13
4.เลือกปัญหา+หาแนวทางแก้ไข
-ให้ผู้รับบริการรับทราบปัญหาของตนเอง -เลือกปัญหา/สาเหตุของภาวะอ้วนลงพุง - ปัญหาที่ทำสำเร็จ/เห็นการเปลี่ยนแปลงง่าย -ร่วมกันหาแนวทางแก้ไข - ให้การปรึกษาเน้นพฤติกรรม 3 อ.ที่เป็นไปได้ในวิถีชีวิต - ผู้รับบริการตัดสินใจเลือกวิธีการที่เหมาะสมปฏิบัติ -สร้างความเป็นกันเอง และให้กำลังใจ ไม่เร่งรัด -สรุปปัญหาที่เลือก แนวทางแก้ไขปัญหา แบบบันทันทึกการปรับพฤติกรรม และแนะนำวิธีการบันทึก
14
การสนับสนุนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การสื่อสารความเสี่ยงเพื่อสร้างความตระหนักให้รู้ถึงอันตรายของโรค ทักษะการสอนสาธิตเพื่อให้เกิดการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ทักษะให้ผู้เสี่ยงสามารถเฝ้าระวังตนเองในการดูแลพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถบันทึกพฤติกรรมของตนเองได้ ทักษะในการสนับสนุนให้ชุมชน/ครอบครัว/เพื่อนบ้าน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ทักษะการทำงานเป็นทีม โดยพยาบาลเป็นแกนกลางในการเชื่อมประสานแผน
15
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stages of change theory)
Prochaska and DiClimente. 1970 Transtheoretical Model : TTM ขั้นไม่สนใจปัญหา (Pre-contemplation) ขั้นลังเลใจ(Contemplation) ขั้นตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation) ขั้นลงมือปฏิบัติ(Action) ขั้นกระทำต่อเนื่อง (Maintenance)
16
ขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
18
เทคนิค 5R เทคนิคการให้ คำปรึกษา(Counseling) และวิธีการจูงใจ(Motivation)
1. Relevance ===> กิจกรรมในการจูงใจให้มีพฤติกรรมพึงประสงค์....ให้ตรงประเด็น ...และสอดคล้องกับสิ่งที่เป็นจุดสนใจของผู้เสี่ยง โดยการสอน...บอก..แนะนำ.... 2. Risks ===> ให้ข้อมูลเสี่ยง ... กับผู้เสี่ยง + ผู้ใกล้ชิด + ญาติ + แฟน + ผู้เกี่ยวข้อง ถึงความเสี่ยง .... ข้อเสีย ... ภัยอันตราย ... โรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง 3. Rewards ===> บอกข้อดีที่จะได้รับ ....จากการ มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์.. เป็นรางวัล...สำหรับตนเอง บุคคลใกล้ชิดอันเป็นที่รักคุณและผู้ที่ห่วงใยคุณค่ะ (รักนะคะ...ถึงห่วงใย...จากใจจริง) 4. Road blocks ===> ค้นอุปสรรค/ปัญหา หรือ สิ่งที่เป็นข้อขัดขวาง ....รวมถึง... การให้คำแนะนำ + วิธีการแก้ไขสำหรับช่วยเหลือ 5. Repetition ===> การกระทำซ้ำๆ ในทุกๆ ครั้งของการมาที่ รพ.สต.ปากบางภูมี….มาตามนัด...ปฎิบัติตามซ้ำๆที่นัด..และทำตามที่แนะนำ
19
เทคนิค 5D การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Behavior Change)
Delay ===> อย่ากินทันที ...ที่อยากกิน โดยให้ นับ 1-10 และ นับ นับไปเรื่อยเป็นวิธี Delay ให้ตัวเองไม่นึกถึง ==> การกินอาหาร Deep Breath === > การหายใจเข้า-ออกลึกๆ และทำบ่อยๆ จำนวน 5 – 10 ครั้ง คล้ายๆ กับทำสมาธิ.... เพื่อเอาชนะใจตนเอง.....และ... เอาใจช่วยตนเอง (ตน ... ชนะใจตน) Drink Water ===> การดื่มน้ำช้า ๆหรือการจิบน้ำหรือ อมน้ำปล่อยๆๆ สลับกับการดื่มน้ำ...ให้หายหิว Do something else ===> การหาสิ่งอื่นแทน เช่น.....ทำกิจกรรมที่ท่านชอบม๊าก มาก เช่น ..เดินShopping Destination ===> การให้คิดถึงผลดีของการไม่เป็นโรค
20
หลักในการควบคุมอารมณ์และความรู้สึกขณะลดน้ำหนัก
พยายามหลีกเลี่ยงการไปศูนย์อาหาร หรือจุดที่มีอาหาร เพื่อจะได้ไม่กระตุ้นให้เราหิว หรืออยากชิมอาหารหากหลีกเลี่ยงไม่ได้ อย่าพยายามนึกถึงความอร่อยหรือรสชาติของอาหารเหล่านั้น เมื่อพบเห็นอาหารต้องพยายามสะกดอารมณ์ของตัวเองไม่ให้อยากลองหรือบริโภคมากเกิน โดยต้องมีสติพร้อมทั้งต้องระลึกไว้เสมอว่าหากบริโภคอาหารจะทำให้เราอ้วนขึ้น ต้องทำความเข้าใจกับครอบครัวและคนรอบข้างถึงความจำเป็นในการลดน้ำหนัก เพื่อคอยช่วยเหลือและเป็นกำลังใจขณะลดน้ำหนัก รวมทั้งไม่ซ้ำเติมหรือยั่วให้เราบริโภคอาหารเกิน ที่มา : สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
21
หลักการกินอาหารเพื่อควบคุมพลังงาน
1. กินอาหารครบ 3 มื้อ ( หนักเช้า เบาเที่ยง เลี่ยงเย็น เว้นดึก ) 2. ลดปริมาณอาหารทุกมื้อที่กิน 3. กินอาหารพลังงานต่ำ 4. กินผัก ผลไม้ในมื้ออาหารให้มากขึ้น 5. เคี้ยวอาหารช้า ๆ 6. อดทน ถ้ารู้สึกหิว ทั้งๆ ที่เพิ่งกินไป
23
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและกำหนดเป้าหมาย
1. เป้าหมายของการลดน้ำหนักที่ควรจะเป็น : ร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวปัจจุบัน หรือ ลด กก./สัปดาห์ช่วงระยะเวลา 6 เดือน 2. เป้าหมายการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ขึ้นอยู่กับการตกลงระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้รับบริการ) 2.1 อาหาร : ลดพลังงานโดยรวมลง 500-1,000 กิโลแคลอรี/วัน 2.2 กิจกรรมประจำวันและการออกกำลังกาย : เริ่มจาก ออกกำลังกายขนาดหนักปานกลาง 3-5 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ 30 นาที หรือสะสมอย่างน้อยครั้งละ 10 นาที และพัฒนาเป็นมากกว่าหรือเท่ากับ 60 นาที ทุกวัน 3. ควบคุมพฤติกรรม โดยมีทีมงานคลินิกดูแล เป็นไปตามเป้าหมาย ประเมินผล ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ตั้งเป้าหมายใหม่ วิเคราะห์หาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ปฏิบัติซ้ำและประเมินผลเป็นระยะๆ ทบทวนและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง น้ำหนักให้คงที่ กระตุ้นเรื่องการกินอาหารและออกกำลังกาย ชั่งน้ำหนัก BMI เส้นรอบเอว ทุก 1-2 ปี ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย เป็นไปตามเป้าหมาย ประชุมทีมงานคลินิกเพื่อวางแผนและ แก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน
24
70.5 69.5 70 69 1 แก้ว 1-2 แก้ว 2 อึก 1-2 ถ้วย 2 คำ 10 นาที
แผนและผลการปรับพฤติกรรมการกินอาหารและการออกกำลังกาย คลินิกคนไทยไร้พุง รพ.สต.ปากบางภูมี ชื่อ-สกุล คุณ DPAC No / ครั้งที่. 1./ ด..1 คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย หากมีการปฏิบัติได้ และทำเครื่องหมาย หากไม่ได้ปฏิบัติ และกรอกข้อมูลตามความเป็นจริง รายการ แนวทางปฎิบัติ / วัน–เดือน-ปี น้ำหนักตัว (กก.) ชั่งน้ำหนักทุกวัน ช่วงเวลาเดียวกัน 70.5 69.5 70 69 พฤติกรรม การกินอาหาร ลด-งดกาแฟเย็น 1 แก้ว 1-2 แก้ว 2 อึก ลด-งดขนมหวาน 1-2 ถ้วย 2 คำ เพิ่มผัก/ผลไม้ไม่หวาน คอหมูย่าง การออกกำลังกาย เดิน 10 นาที 15 นาที 20นาที บริหารลดหน้าท้อง 5 นาที 5 นาที 10 นาที เหตุผล ระบุเหตุผลกรณีไม่ได้ปฏิบัติ ไปงานเลี้ยง ฝนตก/เลี้ยงญาติ 21 กค.57 22ก.ค 57 23 กค 57 24 กค.57 25 กค 57 26 กค 57 27 กค 57 วัดรอบเอวในท่ายืนในขณะหายใจออก ให้สายวัดแนบเนื้อ รอบลำตัว ผ่านสะดือในแนวขนานกับพื้น ไม่รัดแน่น วันที่ รอบเอว = ซม.
25
ตั้งเป้าหมายเฝ้ารอ สอบถามเป้าหมายน้ำหนักที่ผู้รับบริการต้องการ บันทึกไว้ ร่วมกำหนดเป้าหมายระยะสั้น และระยะเวลาที่ใช้ในการลดน้ำหนัก ให้ความรู้เกี่ยวกับอัตราการลดน้ำหนักที่เป็นผลดี/ไม่เกิดผลเสียต่อสุขภาพ การลดน้ำหนักเพื่อสุขภาพ ควรลดลง 5-10 % ของน้ำหนักตัว อัตราการลดที่เหมาะสม กก./สัปดาห์ ค่าดัชนีมวลกายปกติ < 23 กก./ม.2 ถ้าน้ำหนักตัวลดลง รอบเอวก็ลดลงด้วย ลดน้ำหนักลงร้อยละ 5-10 % ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆลงได้ /ลดรอบเองทุก 5 ซม. ลดโอกาสเกิดเบาหวาน 3-5 เท่า
26
ตั้งเป้า เฝ้ารอ ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้
ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้ (HbA1C น้อยกว่าร้อยละ 7 หรือระดับ FBS 70 - 130 mg/dl. 3 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน) ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้ (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีระดับ BP 140/90 mmHg อย่างน้อย 3 ครั้งติดต่อกัน)
27
(Fasting Plasma Glucose : FPG, Fasting Capillary blood Glucose : FCG)
ตั้งเป้า เฝ้ารอ กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน (FPG or FCG = mg/dl. กลายเป็น กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน (อยู่เหมือนเดิม) หรือ กลุ่มปกติ (FPG or FCG 100 mg/dl. ) กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง (SBP mmHg และ/หรือ DBP mmHg) กลายเป็น กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (อยู่เหมือนเดิม) หรือ กลุ่มปกติ (BP 120/80 mmHg) (Fasting Plasma Glucose : FPG, Fasting Capillary blood Glucose : FCG)
28
ตั้งเป้า เฝ้ารอ อ้วนอันตราย (BMI 30 กก./ม2)
(หลักเกณฑ์ของ International Obesity Task Force : IOTF)
29
ตั้งเป้า เฝ้ารอ ผู้ชาย ผู้หญิง เสี่ยงสูง (รอบเอว 102 ซม.)
เสี่ยง (รอบเอว ซม.) ปกติ (น้อยกว่า 90 ซม.) ผู้หญิง เสี่ยงสูง (รอบเอว 88 ซม.) เสี่ยง (รอบเอว ซม.) ปกติ (น้อยกว่า 80 ซม.) กัลยา กิจบุญชู. ข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับคนอ้วน.
30
นัดติดตามประเมินผล ใบนัด
นัดติดตามประเมินผล ใบนัด นัดติดตามผล เดือนละ 1 ครั้ง หรือมากกว่า แต่ไม่เกิน 6 สัปดาห์/ครั้ง ขึ้นกับความต้องการของผู้รับบริการ
31
Empowerment ให้การปรึกษา สอน-สาธิต มุมเรียนรู้ กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
32
ประเมินผลการลดน้ำหนัก/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กราฟแสดงน้ำหนัก ประเมินผลการลดน้ำหนัก-รอบเอว กับผลลัพธ์ตามเป้าหมาย ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. ปัญหาและอุปสรรคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประเมินความต้องการของผู้รับบริการ
34
ปัจจัยความสำเร็จ 1. ความตั้งใจของผู้ใช้บริการ 2. ความร่วมมือของทีมงาน
3. มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 4. มีรูปแบบการให้บริการที่ดี 5. การสนับสนุนจากผู้บริหาร
35
ขอบคุณ....ค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.