ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Learning Organization (Best Practices)
Chapter 3 Learning Organization (Best Practices)
2
The People Are the Company How to build your company around your people.
Chapter 3 SP (KMS)
3
Learning Organization
องค์กร คือ สิ่งมีชีวิต (organic) ไม่ใช่เครื่องจักร (machine) คน (people) คือพลังขับเคลื่อน คน ไม่ใช่ ต้นทุน แต่เป็น ทุนมนุษย์ (ประสบการณ์ ความรู้) Action Learning : บุคลากรในองค์กร มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ ทำไปปรับปรุงไป Knowledge Management : การจัดการความรู้เพื่อสร้างทรัพย์สิน สร้างนวัตกรรม สร้างฐานความรู้ (Knowledge Base) โดยสมัครใจ (ไม่ใช่สั่งการจากหัวหน้า) เน้นการตอบสนองความต้องการ ความคาดหวังของลูกค้า และการบริการของลูกค้า ใช้ Internet และ ใช้ Intranet Learning Organization : องค์กรแห่งการเรียนรู้ มีค่านิยม ความเชื่อของกลุ่มคนในองค์กร และบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ Chapter 3 SP (KMS)
4
แสดงความหมาย (Meaning) โดย แสดงความสัมพันธ์ (Correlation)
INFORMATION: แสดงความหมาย (Meaning) โดย แสดงความสัมพันธ์ (Correlation) แสดงรูปแบบ (Pattern) ซึ่งขึ้นอยู่กับเวลา อยู่ภายใต้บริบทที่แน่นอน KNOWLEDGE: ส่วนผสมของประสบการณ์ ค่านิยม ความเชี่ยวชาญ ซึ่งใช้เป็นกรอบในการตัดสินใจได้ คุณค่าของความรู้จึงวัดที่ผลของการกระทำ ข้อมูลดิบ (DATA) ข้อมูลสารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge) DATA: บันทึกที่แสดงถึงความเคลื่อนไหวในกิจกรรมประเภทต่างๆ เป็นบันทึก ที่ยังไม่มีความหมายในตัวของมันเอง คุณค่าอยู่ที่ ความทันการณ์,ความรวดเร็วและความจุ Chapter 3 SP (KMS)
5
ความรู้และการเรียนรู้ภายในองค์กร
“Knowledge means the capacity for effective action” ความรู้ หมายถึง ศักยภาพที่จะกระทำให้เกิดผลที่ต้องการ การเรียนรู้ในองค์กร คือ การทดสอบประสบการณ์ของคุณอย่างต่อเนื่อง ว่ามี “ศักยภาพที่จะกระทำให้เกิดผลที่ต้องการ” หรือไม่ เพียงไร เป็นประโยชน์ตรงกับเป้าหมายขององค์กร หรือไม่เพียงไร แล้วจึงเปลี่ยนประสบการณ์นั้นเป็นความรู้ ที่เข้าถึงได้โดยทุกคนในองค์กร ผลที่ได้ คือการเพิ่มศักยภาพขององค์กรในการบรรลุผลสัมฤทธิ์และ วิสัยทัศน์ที่คนในองค์กรมีร่วมกัน Chapter 3 SP (KMS)
6
Learning Organization Definition
A group or organization that is continuously enhancing and expanding its collective awareness and capabilities – groups of people that can create better results An organization that is continually improving its ability to get the results it truly wants องค์กรที่มีกระบวนการสั่งสม สร้างและใช้องค์ความรู้จากภายในและภายนอก องค์กร ขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ Chapter 3 SP (KMS)
7
Learning Organization
Hard Ware Soft Ware People Ware Socialization Externalization Combination Internalization Enabling conditions Knowledge from individual & group To be knowledge in organization Empowering Style Structure IT Infrastructure IT System-program Chapter 3 SP (KMS)
8
สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะ คือ คุณลักษณะของบุคคลที่ทำให้เกิดพฤติกรรมการทำงานที่มีประสิทธิภาพและเป็นคุณลักษณะที่สามารถวัดหรือประเมินได้ การกำหนดสมรรถนะ อาจแบ่งออกได้เป็นหลายระดับ เช่น สมรรถนะทั่วไปสำหรับการเป็นข้าราชการ สมรรถนะทั่วไปที่จำเป็นสำหรับข้าราชการในสังกัดส่วนราชการ สมรรถนะเฉพาะด้านสำหรับกลุ่มงาน สมรรถนะเฉพาะด้านสำหรับงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ Chapter 3 SP (KMS)
9
การกำหนดวิธีการประเมิน Competency
ดีเด่น: สูงกว่ามาตรฐาน/ปฏิบัติครบ-เป็นแบบอย่าง ดี: ปฏิบัติครบ(เปรียบเทียบกับดีเด่น) พอใช้: ทำได้บางตัวและมีข้อต้องปรับปรุง ปรับปรุง: ไม่แสดงให้เห็น Chapter 3 SP (KMS)
10
ประเมินแบบ 360 Degree Feedback
4 1 3 2 ผู้บังคับบัญชา ลูกค้าภายใน เพื่อน ร่วมงาน ลูกค้า ภายนอก อื่น ๆ ตนเอง ผู้ใต้ บังคับบัญชา ความใฝ่รู้ Chapter 3 SP (KMS)
11
องค์ประกอบของ Competency
Ability to perform in a certain mental or physical task “What the individual is able to do” “What the individual needs to be” Motive- The things that drive an individual to act Trait- Physical characteristics and consistent responses to situation or information Value- An individual’s attitude, self-concept and self-image Information the individual has in the specific content areas “What the individual needs to know” Chapter 3 SP (KMS)
12
Essence of the Learning Organization
Awareness and sensibilities Attitude and beliefs Skill and Capabilities Chapter 3 SP (KMS)
13
ประเภทของ Competency Core Competency Management Functional
Organizational Strategy Managerial Requirement Functional Requirement Chapter 3 SP (KMS)
14
แนวทางกำหนดระดับความชำนาญการ
(Proficiency Level) Level5: เป็นแบบอย่าง มักได้แก่ สามารถกำหนดแนวทางนโยบายใน เชิงรุกอันเนื่องมาจากการมองเห็นอนาคตล่วงหน้า Role model Level4:ขั้นชำนาญการพิเศษ มักได้แก่ สามารถลงมือแก้ไขปัญหาสำคัญที่มีความซับซ้อน ได้ Transition Level3: ขั้นประยุกต์ใช้ได้ตามสถานการณ์ มักได้แก่ สามารถประเมินทางเลือกเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสม ภายใต้ สถานการณ์แวดล้อมที่หลากหลายได้ Comprehensive application Level2: ขั้นลึกซึ้ง สามารถจับประเด็นสำคัญได้ มักได้แก่ สามารถอธิบายสาระสำคัญหรือระบุปัจจัยแห่งความสำเร็จได้ Minimum requirement Level1:ขั้นพื้นฐาน มักได้แก่ สามารถปฏิบัติได้ตามมาตรฐานกลางได้โดยไม่บกพร่อง/อธิบายข้อความรู้พื้นฐานได้ Chapter 3 SP (KMS)
15
Job - Competency Mapping
Chapter 3 SP (KMS)
16
การใช้ Competency เพื่อหา Needs ในการพัฒนา
พนักงานเป็น ระดับที่งานต้องการ Gap ความรับผิดชอบ ความเชี่ยวชาญในงาน การสื่อข้อความ การคิดเชิงวิเคราะห์ การบริหารงานบุคคล Chapter 3 SP (KMS)
17
Chapter 3 SP (KMS)
18
องค์ประกอบของ Competency
2 Competency Categories Core Competency Management Competency -Functional Competency 3 Competency Names and Definitions 1 Competency Model 4 Proficiency Level (1-5) 5 Behavioural Indicators Chapter 3 SP (KMS)
19
The Five Learning Disciplines
การเรียนรู้ จะเกิดขึ้นได้ดีเพียงใด ขึ้นอยู่กับ พฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมทางความคิด ของคน ประมวลเป็น วินัย 5 ประการคือ 1 Systems Thinking การคิดอย่างเป็นระบบ 2 Mental Modelsโมเดลความคิด 3 Personal Mastery ใฝ่เรียนใฝ่รู้ 4 Shared Vision การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน 5 Team Learning การเรียนรู้เป็นทีม Chapter 3 SP (KMS)
20
The Five Learning Disciplines
1. Systems Thinking การคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักความสัมพันธ์ ความเกี่ยวโยงของส่วนต่างๆ ในระบบ มองผลกระทบเป็นกระบวนการระยะยาว เน้นมุมมองแบบเป็นวงจร Chapter 3 SP (KMS)
21
attitudes + perception attitudes + perception
The Five Learning Disciplines 2. Mental Models แบบจำลองความคิด กรอบเดิมจะปฏิเสธสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย พยายามมองต่างมุม จากกลุ่มคนที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ไม่ตกเป็นทาสความคิดผิดๆ ตีตรา......”เป็นเมียทหารนับขวด เป็นเมียตำรวจนับแบงค์” attitudes + perception attitudes + perception รู้ทัศนคติและความเข้าใจ ของตัวเองและผู้ร่วมงาน เพื่อสื่อสาร และเข้าใจกันง่ายขึ้น เปิดใจ you those around you Chapter 3 SP (KMS)
22
The Five Learning Disciplines
3. Personal Mastery ใฝ่เรียนใฝ่รู้ บุคลากรต้องลิขิตชีวิตตนเองว่าจะไปสู่จุดไหนในอนาคต จะเป็นแรงบันดาลใจ แรงกระตุ้นที่จะพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายดังกล่าว results you most want to create in your life ขณะนี้ท่านอยู่ที่ไหน ต้องการไปถึงไหน realistic assessment of current reality of your life Chapter 3 SP (KMS)
23
The Five Learning Disciplines
4. Shared Vision การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ถ้าไม่ได้ร่วมคิดก็จะไม่เกิดการร่วมทำอย่างมุ่งมั่น No commitment No Involvement shared images of the future the group seeks to create principles & guiding practices the group uses เป้าหมายร่วมของกลุ่ม และวิธีการไปสู่เป้าหมายร่วม Chapter 3 SP (KMS)
24
The Five Learning Disciplines
5. Team Learning การเรียนรู้เป็นทีม Action Learning ทำไปปรับปรุงไป ร่วมปรึกษาหารือ แบบไม่เป็นทางการ collective thinking 1 + 1 = มากกว่า 2 การคิดร่วมกันของ 2 คนนำไปสู่ผลซึ่งมากกว่าผลของแต่ละคนรวมกัน Chapter 3 SP (KMS)
25
Core Learning Competencies
Aspiration มุ่งมาดปรารถนาที่จะเปลี่ยนตนเองไปสู่เป้าหมาย Dealing with Complexity /Conceptualization รู้การทำงานของระบบใหญ่ ซับซ้อน 3. Personal Mastery 4. Shared Vision 1. Systems Thinking Reflective Conversation คิดและโต้ตอบได้อย่างลึกซึ้ง 2. Mental Models 5. Team Learning / Dialogue Chapter 3 SP (KMS)
26
The Five Learning Disciplines
Ladder of Inference Left Hand Column 2 Personal Vision Mental Models Balancing Advocacy & Inquiry Collective Mental Models or Culture 4 1 Shared Vision 5 Systems Thinking Dialogue & Skillful Discussion Team Learning 3 Personal Mastery Suspension of Assumptions & Alignment not Agreement Loops & Archetypes Chapter 3 SP (KMS)
27
KM Tools ฐานความรู้บทเรียนและความสำเร็จ (Lessons Learned and Best Practices Databases ชุมชนแห่งการปฏิบัติ (Communities of Practice – CoP) การทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Reviews – AAR) แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence – CoE) การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Monitoring Programs) การเสวนา (Dialogue) การเล่าเรื่อง (Story Telling) เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) ฟอรัม ถาม-ตอบ (Forum) Chapter 3 SP (KMS)
28
ชุมชนปฏิบัติ (Communities of Practice – CoP)
Teams are task driven. Communities are interest driven. The role of an expert is to qualify and filter information. Chapter 3 SP (KMS)
29
ชุมชนปฏิบัติ CoP ชุมชน ชุมชนแห่งการปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา
แนวปฏิบัติ Domain ชุมชน ชุมชนแห่งการปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา Chapter 3 SP (KMS)
30
ชุมชนปฏิบัติ CoP Chapter 3 SP (KMS)
31
ตัวอย่างชุมชนปฏิบัติ CoP
ต้นไม้ สุนัข แมว CoP ด้านคุณภาพที่ Citibank จส. 100 ผู้ขายบัตรอวยพรที่ฮอลมาร์ก สบู่เหลวที่คอลเกต Chapter 3 SP (KMS)
32
Chapter 3 SP (KMS)
33
Chapter 3 SP (KMS)
34
Chapter 3 SP (KMS)
35
Domain : Pantip ต้นไม้ Chapter 3 SP (KMS)
36
Member : Community Chapter 3 SP (KMS)
37
แนวปฏิบัติ :TKC CoP Chapter 3 SP (KMS)
38
แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน
Chapter 3 SP (KMS)
39
แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ
Chapter 3 SP (KMS)
40
แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ
Chapter 3 SP (KMS)
41
CoP มีหลายรูปแบบ เล็ก หรือ ใหญ่ อายุยืน หรือ อายุสั้น
อยู่รวมกัน หรือ กระจายตัว เป็นเนื้อเดียว หรือ เป็นเนื้อผสม เกิดขึ้นเอง หรือ จงใจให้เกิด ไม่มีใครรู้จัก หรือ ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ Club ภายในขอบเขต หรือ ข้ามขอบเขต Chapter 3 SP (KMS)
42
หลัก 5 ประการในการดูแล CoP
1. ออกแบบให้เกิดวิวัฒนาการ 2. เชื้อเชิญสมาชิกให้เข้าร่วมในระดับที่ต่างกัน 3. พัฒนาพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว 4. มุ่งเน้นที่คุณค่า 5. ผสมผสานความคุ้นเคยและความตื่นเต้นเพื่อสร้างจังหวะให้ชุมชน Chapter 3 SP (KMS)
43
ออกแบบให้เกิดวิวัฒนาการ
วงจรชีวิต CoP การมีศักยภาพ ค้นหา จินตนาการ การรวมตัว บ่มตัว มอบคุณค่าในทันที การเติบใหญ่ มุ่งมั่น ขยาย การดูแล ความรู้สึกเป็นเจ้าของ เปิดเผย การปฏิรูป ปล่อยวาง คงไว้ การดูแล การเติบใหญ่ การปฏิรูป การรวมตัว การมีศักยภาพ Chapter 3 SP (KMS)
44
เชื้อเชิญสมาชิกให้เข้าร่วมในระดับที่ต่างกัน
กลุ่มแกนหลัก (ผู้ประสานงาน 5%) : นัดประชุม บันทึกข้อมูลต่างๆ กลุ่มประจำ (Expert 15%) : Post กระทู้ กลุ่มเปลือกนอก (80%) : อ่าน ดู website อย่างเดียว กลุ่มเปลือกนอก 80% 5% 15% กลุ่มประจำ กลุ่มแกนหลัก Chapter 3 SP (KMS)
45
ผสมผสานความคุ้นเคยและความตื่นเต้นเพื่อสร้างจังหวะให้ชุมชน
Web site Project Meeting Conversation Visit ประชุมประจำปี Chapter 3 SP (KMS)
46
Chapter 3 SP (KMS)
47
Chapter 3 SP (KMS)
48
Chapter 3 SP (KMS)
49
Community identification
Community assessment Community support strategies "The Knowledge Management/Community Practice (KM/CP) Team in Worldwide Services has experience with community facilitation designed for the company's new, more mobile, international workforce. Using advanced communication technologies based on the Worldwide Web, the KM/CP Team has provided new methods of interaction for communities composed of service sales and delivery associates. The team has also studied many of the non-technical, personal and interpersonal dimensions of communities and applies this knowledge in its work." Chapter 3 SP (KMS)
50
ขอบเขตของ CoP ภายในธุรกิจเดียวกัน ข้ามหน่วยธุรกิจ ข้ามองค์กร Chapter 3
SP (KMS)
51
CoP พัฒนาสู่ LO CoP1 Create Learn Share Use capture CoP1 CoP1 CoP1
Chapter 3 SP (KMS)
52
เอกสารอ้างอิง ดร.อรัญ โสติพันธุ์ ดร. นงเยาว์ เปรมกมลเนตร
Learning Organization ดร.อรัญ โสติพันธุ์ TKC (Thailand Knowledge Center) ดร. นงเยาว์ เปรมกมลเนตร ดร. ณรงค์สายัญ หาญณรงค์ Communities of Practice พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ Chapter 3 SP (KMS)
53
Good judgement come from experience.
Experience comes from bad judgement. Mark Twain
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.