ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
นายแพทย์ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ (ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
2
Content: Objective of product Champion survey. Product champion survey
Lesson Learn A2IM กับ Assess/Surveillance/Survey What Next in 2561 The detail of each product Champion
3
1.ดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรฐาน PMQA องคประกอบที่ 3 Customer focus
วัตถุประสงค์ 1.ดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรฐาน PMQA องคประกอบที่ 3 Customer focus Who are our customers and stakeholder ? What are the customer needs ? What are the products to satisfy the customer needs 2.นำ Customer voice มาปรับปรุงและพัฒนา Products ของกรมอนามัย 3.สร้างทีม และเครือข่ายในการหาความต้องการของลูกค้า หรือ Survey output / Outcome ต่างๆ Network ของ ส่วนกลาง กับ ศูนย์เขต (กองแผนเป็น Focal Point) Network ระหว่างศูนย์เขต กับ จังหวัด (กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และกำลังของ ศูนย์อนามัยเป็น Focal Point)
5
จัดทำแผนการสำรวจผลิตภัณฑ์
จัดสรรงบประมาณเพื่อการสำรวจผลิตภัณฑ์ แจ้งรายชื่อคณะทำงานเครือข่ายระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังระดับพื้น 5 คน ประกอบด้วย 1. ผู้แทนกลุ่มวัย (งานส่งเสริมสุขภาพ) 2. ผู้แทนปฏิบัติงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. ผู้แทนกลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 4. ผู้แทนปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 5. ผู้แทนปฏิบัติงานการบริหารการเปลี่ยนแปลง) จัดประชุมร่วมคณะทำงานเครือข่ายระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังระดับพื้น โดยให้เจ้าภาพผลิตภัณฑ์หารือ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางการสำรวจความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ จัดประชุมจัดทำแบบสำรวจ/สุ่มกลุ่มตัวอย่าง (2 จังหวัด คือ 1.จังหวัดที่ตั้ง 2. จังหวัดที่สุ่ม) จัดทำแบบสำรวจการประเมินผลผลิตภัณฑ์ เพื่อให้พื้นที่เก็บผลสำรวจและส่งข้อมูลแบบออนไลน์ (Google form) คืนข้อมูลให้เจ้าภาพผลิตภัณฑ์ นำไปวิเคราะห์ผลสำรวจความพึงพอใจ จัดประชุมวิพากษ์ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละผลิตภัณฑ์ ถอดบทเรียนผลการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละผลิตภัณฑ์
6
ประเภทของ Product champion
สมุดบันทึกต่างๆ (2 products) (1) สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก, (2) สมุดบันทึกสุขภาพ ผู้สูงอายุ มาตรฐาน (5 Products) (3) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ , (4) YFHS , (5) รพ.ส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ,(6) Healthy Work Place (7) EHA คู่มือ/ แนวทาง /หลักสูตร (3 products) (8) คู่มือแนวทางการป้องกันและแก้ไข การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นสำหรับ อปท. (9) Care Manager (10) อสธ.จ
7
การสำรวจผลิตภัณฑ์กรมอนามัย
(10 Product Champion)
9
สรุปเกี่ยวกับ Product Champion
ความพึงพอใจของ Products ของกรมอนามัยอยู่ในเกณฑ์ 85-89% ความไม่พึงพอใจ อยู่ในช่วง ผู้ที่รับผิดชอบ Products ได้นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ (Customer voice) ไปสู่การปรับปรุงและพัฒนา มาตรฐาน 50 % ของ Product Champion อยู่ในกลุ่ม Product Class มาตรฐาน (Product เมื่อ 10 ปีที่แล้ว หรือตาม Jarkata Declaration ) พื้นที่ต้องการให้กรมอนามัย มาเป็นผู้พัฒนา มากกว่าผู้ประเมิน ถ้าไม่ได้เป็นเครื่องชี้วัดของ กสธ. ร้อยละของ รพ.ต้องการทำมากกว่า ผู้ประเมิน บทบาทกรมในระบบคุณภาพ 1.Standard Body 2.Accreditation Body 3.Certified Body การบูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ จะไปได้ดีกว่า เช่น รร.ส่งเสริมสุขภาพ กับ ศธ. รพ.ส่งเสริมสุขภาพ กับ สรพ (HA) EHA กับ อปท.
13
วัตุประสงค์ของ สมุดบันทึกสุขภาพ
เป็น continuity care ในกรณีที่ไปรับบริการที่หลากหลายสถานบริการ เช่น ไปฝากครรภ์ ในสถานบริการ A ไปคลอดที่สถานบริการ B พาเด็กไป Well baby ที่สถานบริการ C ให้ผู้ป่วย/ผู้รับบริการทราบผลการตรวจร่างกาย / lab เพื่อจะนำไปสู่การรับทราบปัญหา ร่วมกัน ซึ่งจะส่งผลต่อความร่วมมือในการให้บริการ และการนัดมาตรวจตามนัด เป็นการให้ข้อมูล ความรู้ที่สำคัญที่ประชาชนควรทราบ ซึ่งส่วนนี้มีจำนวนหน้ามากขึ้น เรื่อยๆ ซึ่งสวนทางกับพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ ที่ไม่ชอบอ่านหนังสือจำนวนมาก และ เปลี่ยนมาใช่สื่อ electronic มากกว่าสื่อกระดาษ
14
Future Product Attribute
การกำหนดกลุ่มเป้าหมายควรชัดเจน และแนวโน้มการให้บริการจะเป็นแบบ Personalized Medicine คือ เจาะจงเฉพาะราย เฉพาะกลุ่ม ไม่สามารถใช้รูปแบบ เดียว เพื่อใช้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย การออกแบบ Product Attribute ของกรมอนามัยน่าจะต้องเปลี่ยนไปตามความต้องการของตลาดและผู้บริโภค การส่งมอบ Products จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค (Logistic) เปลี่ยนไป จาก Pipe line มาเป็นแบบ plateform เดิม products จากส่วนกลาง จะเริ่มจากกรมวิชาการผลิต ส่งไปที่ศูนย์เขต ไปจังหวัด ไปอำเภอ ไปตำบล (Pipe line) จะเปลี่ยนไป Products นั้นไม่ได้ผูกขาดว่าจากกรมวิชาการของกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น หน่วยงาน/สถาบัน/บุคคลใด ก็ สามารถผลิต Products ขึ้นมาได้ และระบบ IT จะเป็นตัวกลางที่จะ Matching ระหว่าง Demand side และ supply side นั่นหมายถึง ตัวกลางแบบ Pipe line จะลดความสำคัญลงเรื่อยๆ โดยถูกแทนที่ด้วยตัวกลางแบบ Plateform. DOH Products Champion ต้องมี Product Line ให้ครอบคลุมทั้ง Promote ,Prevent , Protect
17
A2IM Assess the Advocate for what to do.
Demand for Health Health Outcome/Impact ,Determinant of health ,Health Need and Customers need. Supply for health. Health Providers ,infrastructure ,Supply /Technology ,Finance ,Logistic .Process - policy. Advocate for what to do. Intervention to find how to do. Management for System governance and support providers , Regulator and Purchaser ,Non Health Sectors . With PIRAB
18
What Next in 2561 ปี 2561Assess/Surveillance/Survey เรื่องอะไร การบูรณาการระหว่าง กอง/สำนัก/ ศูนย์เขต เพื่อ Assess/Surveillance/Survey แผนงาน/แผนเงิน/แผนคน เพื่อ Assess/Surveillance/Survey
19
iรายละเอียด Product champion
20
1. สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider 60 34 56.67 2. End User - End User 1 (บุคลากรทางการแพทย์/สาธารณสุข) - End User 2 (แม่/ผู้เลี้ยงดูเด็ก) 720 4,800 444 2,801 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ Provider End User 1 End User 2 70.46% 70.64% 79.21% ความไม่พึงพอใจ Provider 29.53% 29.36% 20.79% โครงการที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น 1. โครงการวิจัยเชิงคุณภาพสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ปี 2559 1. เพื่อศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 2. พัฒนาเนื้อหาและรูปแบบที่สอดคล้องต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 2. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 1. ปัจจุบันเทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน จึงพัฒนาแอปพลิเคชั่นสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงข้อมูลและตระหนักต่อการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
21
2. สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider - ทุกศูนย์อนามัย - ทุกสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 89 42 47.1 2. End User กลุ่มตัวอย่างในตำบล LTC - อาสาสมัครสาธารณสุขและCG - ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและติดบ้าน - ญาติผู้สูงอายุ 355 194 54.6 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ - Provider - End User 82.20 92.79 ความไม่พึงพอใจ 17.80 7.21 กิจกรรมที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น ศึกษาการใช้ประโยชนสมุดบันทึกสุขภาพ ศึกษากลุ่มที่ใช้และไม่ใช้สมุดบันทึกสุขภาพต่อการเปลี่ยนแปลง Health Output/Outcome ศึกษาการใช้ประโยชนของสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุในกรณีที่เป็นผู้ปฏิบัติงานผู้สูงอายุ ญาติผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ
22
3 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider - บุคลากรที่รับผิดชอบงานสุขภาพเด็กวัยเรียนของ สธ.และศธ. (สสจ, สสอ, รพสต, สพป, สพม) 585 319 54.5 2. End User - บุคลากรฝ่ายการศึกษา (ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการ, ครูอนามัย) 2,094 797 38.1 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ Provider End User 78.6 89.2 ความไม่พึงพอใจ Provider 21.4 10.8 โครงการที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น ก) การขับเคลื่อนงาน 1. ขับเคลื่อนเชิงนโยบายการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบร่วมมือกันทุกภาคส่วน สานพลังระดมแนวคิด กำหนดทิศทางและกลไกการขับเคลื่อนระดับชาติเพื่อส่งเสริมเด็กวัยเรียนสุขภาพดีแบบความร่วมมือกันกับ กศธ.และทุกภาคส่วน 2. จัดทาแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน (Healthy & Smart Child 4.0) เป็นการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนระดับชาติ ภาพรวมทุกมิติด้านสุขภาพ โดยกาหนดกลยุทธ์และแนวทางการดาเนินงาน ตามบทบาทหน้าที่ กระบวนการทางาน และการจัดการข้อมูลให้เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้แบบActive Learning"คิดเป็นทาเป็นโครงงานสุขภาพ" ตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ด้านสุขภาพ ปรับเปลี่ยนวิธีคิดมุ่งสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กวัยเรียน ให้เกิดการเรียนรู้ด้วยการลงมือทา รู้จัก คิดเป็น วิเคราะห์ วางแผน ประเมิน และแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง มีความกระตือรือร้น และสนใจทากิจกรรมต่างๆอย่างหลากหลาย ตามแนวทาง 4 H ข) แนวทางการพัฒนา 1.พัฒนากระบวนการประเมินและรับรองHPS ปรับปรุงขั้นตอนและกระบวนการทางาน (Lean)ช่วยให้การดาเนินงาน HPS มีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของโรงเรียนเป้าหมาย/ผู้รับบริการ ลดงานที่ไม่จาเป็น มุ่งขยายผลHPSเพชร ให้ครอบคลุมมากขึ้น 2. พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทีมประเมิน HPS ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ * เสริมสร้างสมรรถนะ ปรับMindset ทีมประเมิน HPS ระดับจังหวัดและอำเภอ โดยศูนย์อนามัย ให้มีมุมมองแบบกัลยาณมิตร เสริมพลัง สร้างบรรยากาศที่ดีในกระบวนการ มีความเข้าใจ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 3. สัมมนายกระดับคุณภาพ HPSสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและเสริมแรงจูงใจในระดับพื้นที่* (* ศอ.ดาเนินการ) เพิ่มคุณภาพ HPS มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เป็นต้นแบบ เป็นศูนย์การเรียนรู้ อย่างเข้มแข็ง รวมถึงเสริมแรงจูงใจและขวัญกาลังใจ แก่โรงเรียนที่มีการพัฒนาด้านสุขภาพตามมาตรฐานอย่างยั่งยืน
23
4. มาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS)
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider - ทีมผู้ประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐานและทีมพัฒนาโรงพยาบาลสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 48 40 83.33 2. End User - ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหรือรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลหรือ รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลหรือผู้ที่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมอบหมาย - ผู้รับผิดชอบงานคลินิกวัยรุ่นของโรงพยาบาล จำนวน 2 คน - ผู้ให้บริการในคลินิกที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คลินิกให้คำปรึกษาและงานวางแผนครอบครัว 1790 528 29.50 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ Provider End User 92.50 85.91 ความไม่พึงพอใจ Provider 7.50 14.09 โครงการที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น แนวทางการประเมินซ้ำโรงพยาบาลตามมาตรฐานYFHS เพื่อการขับเคลื่อน พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.๒๕๕๙ เพื่อพัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตร การบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การให้บริการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูที่เกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ ตามสิทธิของวัยรุ่นในมาตรา ๕ วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมีสิทธิได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ ได้รับการบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว ได้รับการจัดสวัสดิการสังคม อย่างเสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัติ และได้รับสิทธิอื่นใดที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ
24
5. มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider - ทีมประเมินมาตรฐาน 65 34 52.3 2. End User - บุคลากรโรงพยาบาล - ทีมนำโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 625 256 40.9 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ - Provider - End User 91.2 86.7 ความไม่พึงพอใจ 8.8 13.3 กิจกรรมที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น 1. การกำหนดนโยบาย เพื่อกำหนดทิศทาง สร้างความชัดเจน ทั้งกับ Provider และ User 2. ปรับปรุงมาตรฐาน ง่ายต่อการนำไปใช้ การวัดผลควรชัดเจน 3. การพัฒนาศักยภาพ ทั้งทีมศูนย์อนามัยและโรงพยาบาลสร้างแรงจูงใจให้กับทีมศูนย์อนามัย 4. พัฒนาศูนย์อนามัย ให้เป็นต้นแบบกับโรงพยาบาลอื่น ๆ
25
6. สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน (Health Work Place)
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider - ผู้รับผิดชอบหลักในงาน HWP สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้รับผิดชอบหลักในงาน HWP ศูนย์อนามัย 39 23 58.97 2. End User - คณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน (Healthy Workplace) ทั้ง 5 เกณฑ์ - ทีมนำ (ประธาน หรือ เลขานุการ ของการดำเนินงานพัฒนา สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ทั้ง 5 เกณฑ์) 702 292 41.60 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ - Provider - End User 91.30 94.51 ความไม่พึงพอใจ - Provider 8.70 5.49 โครงการที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น โครงการสถานที่ทำงาน น่าอยู่ น่าทำงาน เสริมสร้างสมดุลชีวิตคนทำงาน (Healthy Workplace Work life balance) เพื่อสร้างความสุขของคนในองค์กร เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานของเจ้าหน้าที่และคนทำงานให้มีความเหมาะสม เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย และจิตใจ ตามแนวคิด ประชาชนมีสุขภาพดี ระบบสุขภาพยั่งยืน คนทำงานมีความสุขถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสม เอื้อต่อการมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน
26
7. คุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA)
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ - Provider - End User 89.4 79.2 ความไม่พึงพอใจ 10.6 20.8 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider - เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานอนามัย สิ่งแวดล้อมของ สสจ./สสอ. 196 132 67.35 2. End User - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 215 177 82.33 กิจกรรมที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อสร้างบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 2. พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อสร้างระบบฐานข้อมูล 3. พัฒนาคู่มือ/แนวทาง เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกย่องเชิดชูเกียรติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ อปท. อื่นๆ ได้ และยกย่องเชิดชูเกียรติให้กับหน่วยงานที่ดำเนินงานจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี
27
8. คู่มือแนวทางการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider - 2. End User 350 406 116 ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ 97.2 ความไม่พึงพอใจ 2.8 กิจกรรมที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น 1. จัดทำต้นฉบับแนวปฏิบัติในรูปแบบที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และสอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับการ จัดสรรซึ่งสามารถสรุปได้ใน 4 รูปแบบ คือ - รูปเล่ม - website - CD - Info-graphic ทางไลน์ 1. ความต้องการของผู้ใช้แตกต่างกัน จึงควรผลิตสินค้าที่แตกต่างเพื่อเป็นทางเลือก 2. เพิ่มความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ 2. สำรวจความพึงพอใจภายหลังส่งผลิตภัณฑ์ถึงมือผู้ใช้ไปแล้ว 3 เดือน พร้อมทั้งรับสมัครราชการส่วนท้องถิ่น ที่มีความตั้งใจในการดำเนินงานป้องกันและปัญหาการตั้งครรภ์ เพิ่มเติมจากที่สมัครไว้ในปี 2559 จำนวน แห่ง 1. เพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ์อีกครั้งก่อนเผยแพร่ในวงกว้าง 3. ส่งต่อผลิตภัณฑ์ถึงผู้ใช้ในช่องทางที่หลากหลาย - รูปเล่ม (ให้กลุ่มที่เป็นเครือข่ายเดิมและเครือข่ายใหม่ที่จะเปิดรับสมัครเพิ่มเติมในปี 2561) 1. งบประมาณมีจำกัด ไม่สามารถจะทำเป็นรูปเล่มได้ทั้งหมด 2. ลูกค้าเป้าหมายมีจำนวนมาก ( 7,800 แห่ง) 3. ลดภาระการกระจาย product ทั้งด้านงบประมาณและกำลังคนในการจัดส่ง 4. ลดการสูญเสีย product โดยไม่จำเป็น ลดการนำไปเก็บขึ้นหิ้งไม่นำไปใช้โดยให้สินค้า ต้นทุนสูงกับลูกค้าที่ต้องการจริงๆ 5. เพิ่มความครอบคลุมและความสามารถในการเข้าถึงผลิตภัณฑ์
28
9.หลักสูตร Care Manager ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ
Provider 220 283 >100 2. End User - ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ 88.38 ความไม่พึงพอใจ 11.62 กิจกรรมที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น สำรวจ ติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของ Care Manager / Caregiverในระดับพื้นที่เชิงนโยบาย เพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐานเป็นที่ยอมรับและตรงตามบริบทการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่
29
10. คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ผล ร้อยละ Provider 480 295 61.46 2. End User - ผลการสำรวจผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ความพึงพอใจ 82.5 ความไม่พึงพอใจ 17.5 กิจกรรมที่ต้องการยกระดับ Product Champion ปี 2561 เหตุผลความจำเป็น 1.จัดทำโปรแกรมการกำกับติดตามรายงานผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด แบบ Online เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการวางแผน ตัดสินใจในการแก้ปัญหาด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ทันต่อสถานการณการณ์ และมีฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับภาคีเครือข่ายทั่วประเทศ 2. จัดทำและจัดพิมพ์คู่มือแนวทางการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ผลิตภัณฑ์วิชาการ เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และสนับสนุนอปท.ให้มีการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ และเพื่อปรับปรุงองค์ความรู้ให้ทันสมัย ตรงต่อความต้องการของลูกค้า 3.พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) เพื่อขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ในระดับนโยบาย โดยการขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการสธ./คกกสธ.จังหวัด/คกกสธ.กทม./คณะอนุฯ ขับเคลื่อน 4. พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรฝึกอบรม ได้แก่ การบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข การยกร่างข้อบัญญัติของท้องถิ่น การจัดการเหตุรำคาญ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ผลิตภัณฑ์ทางวิชาการ หรือหลักเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาการ เพื่อเป็นเครื่องมือในการสนับสุนนการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.