งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หมู่บ้านไอโอดีนทั่วไทย เทิดไท้เจ้าฟ้านักโภชนาการ: ก้าวผ่านความท้าทายสู่ความยั่งยืน วันที่ 25 มิถุนายน 2558.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หมู่บ้านไอโอดีนทั่วไทย เทิดไท้เจ้าฟ้านักโภชนาการ: ก้าวผ่านความท้าทายสู่ความยั่งยืน วันที่ 25 มิถุนายน 2558."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หมู่บ้านไอโอดีนทั่วไทย เทิดไท้เจ้าฟ้านักโภชนาการ: ก้าวผ่านความท้าทายสู่ความยั่งยืน
วันที่ 25 มิถุนายน 2558

2 การควบคุมและป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน ทุกกลุ่มวัย
กรอบการควบคุมและป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การขับเคลื่อนในระดับนโยบาย เพื่อให้การดำเนินงานทุกยุทธศาสตร์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า ยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 7 : มาตรการเสริม ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ระบบเฝ้าระวัง และติดตาม สถานการณ์ในกลุ่มเสี่ยง ยุทธศาสตร์ที่ 6 : ศึกษา วิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 : ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ การควบคุมและป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน ทุกกลุ่มวัย คุณภาพชีวิต กระทรวงสาธารณสุข ดำเนินโครงการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ตั้งแต่ปี 2532 และมีคณะกรรมการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติ ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธาน ทั้งนี้ได้ดำเนินงานภายใต้กรอบการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ตาม 7 ยุทธศาสตร์ โดยมาตรการหลักคือ เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization: USI)

3 นโยบายเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า Universal Salt Iodization
เกลือบริโภค เกลือในอุตสาหกรรมอาหาร เกลือในการปศุสัตว์ จากการประเมินความก้าวหน้าโครงการขจัดโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย โดยทีมผู้เชี่ยวชาญภายนอก ICCIDD ครั้งล่าสุดเมื่อ พ.ศ.2556 พบว่าประเทศไทยมีความก้าวหน้าการดำเนินการอย่างมาก โดยผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ตัวชี้วัด จาก 10 ตัวชี้วัด แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีความท้าทายที่ต้องดำเนินการต่อในเรื่องการมุ่งสู่เป้าหมายเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (USI) ทั้งการหาข้อมูลการใช้เกลือเสริมไอโอดีนในเกลือบริโภคสำหรับคนและสัตว์ และกฎหมาย กฎระเบียบว่าด้วย USI เป็นเกลือเสริมไอโอดีน

4 มาตรการเสริม ยาเม็ดเสริมสารอาหาร Triferdine ประกอบด้วย
ไอโอดีน ไมโครกรัม ธาตุเหล็ก มิลลิกรัม (Ferrous fumarate 185มก.) กรดโฟลิก 400 ไมโครกรัม ความต้องการ 7.5 ล้านขวด ประมาณการผลิตปี ล้านขวด Market share ของ Triferdine ร้อยละ 43 Iodine GPO 150 ปีงบประมาณ 58 -สปสช. earmark เรื่องยาเม็ดเสริมไอโอดีน องค์การเภสัชกรรม ยืนยันสามารถผลิตยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้เพียงพอต่อความต้องการ มาตรการเสริม คือ ยาเม็ดเสริมไอโอดีน ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้นมบุตร 6 เดือน ที่มีความต้องการสารไอโอดีน มากกว่าคนทั่วไป ปัจจุบันองค์การเภสัชกรรม ยืนยันสามารถผลิตยา Triferdine ซึ่งประกอบด้วยไอโอดีน 150 ไมโครกรัม ธาตุเหล็ก 60 มิลลิกรัม และกรดโฟลิก 400 ไมโครกรัม ได้เพียงพอต่อความต้องการ และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ earmark เรื่องยาเม็ดเสริมไอโอดีน เรียบร้อยแล้ว มาตรการหลัก : USI มาตรการเสริม : ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ให้นมบุตร 6 เดือน

5 หญิงตั้งครรภ์ที่มาคลอดทั้งหมด* 33,341 คน
หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน กรดโฟลิก และเหล็ก (มกราคม-เมษายน 2558) หญิงตั้งครรภ์ที่มาคลอดทั้งหมด* 33,341 คน ร้อยละ ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ ได้กินยาเม็ดเสริมไอโอดีนทุกวัน สาเหตุที่ไม่ได้กินยาเม็ดเสริมไอโอดีน กลัวลูกตัวโต อาเจียน ไม่ได้รับยาจากคลินิก/รพ.เอกชน จากผลการสุ่มสำรวจหญิงตั้งครรภ์ที่มาคลอดในสถานพยาบาลของรัฐ ณ เดือนมกราคม 2558 จำนวน 33,341 คน พบว่า ร้อยละ 94.6 ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน และร้อยละ 83.6 ได้กินยาเม็ดเสริมไอโอดีนทุกวัน *ข้อมูลจากศูนย์อนามัย 10 แห่ง 61 จังหวัด

6 ค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะใน หญิงตั้งครรภ์จากระบบเฝ้าระวังไอโอดีนในปี (หญิงตั้งครรภ์จังหวัดละ 300 คน) µg/l 155.7* การเฝ้าระวังไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญของปัญหาการขาดสารไอโอดีน พบว่า สถานการณ์มีแนวโน้มดีขึ้น ในปี พ.ศ.2557 ค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เท่ากับ ไมโครกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ไม่ขาดสารไอโอดีน (ตามเกณฑ์องค์การอนามัยโลก พื้นที่ขาดสารไอโอดีน คือ พื้นที่ที่มีค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะ ต่ำกว่า 150 ไมโครกรัมต่อลิตร) พ.ศ. ค่าปกติ, ก่อนปี = 100 µg/l ตั้งแต่ปี = 150 µg/l *ข้อมูล 74 จังหวัด สำนักโภชนาการ กรมอนามัย 6

7 ค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2554 - 2557
2555 2556 2557 MUI = µg/l MUI = µg/l MUI = µg/l MUI = 155.7* µg/l แม้สถานการณ์ไอโอดีนในภาพรวมของประเทศไทยดีขึ้น แต่ยังคงพบปัญหาการขาดสารไอโอดีนส่วนใหญ่ในพื้นที่แถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลางบางแห่ง สถานการณ์ระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ระดับพื้นที่ ขาด (Deficiency) < ug/l เพียงพอ (Adequate) ug/l เกินพอ(More than) ug/l เกินขนาด (Excessive) > ug/l หมายเหตุ *ข้อมูลปี 2557 จาก 74 จังหวัด รวมข้อมูลกรมวิทย์ ฯ

8 คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ในครัวเรือน
คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ในครัวเรือน ร้อยละคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน >20ppm =84.6 20-40ppm =60.3 > 20 ppm = 91.9 20-40 ppm =82.5 >20ppm =91.5 = 83.5 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 เป้าหมาย ความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนระดับครัวเรือน > ร้อยละ 90 จากผลสำรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน พบเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข (20-40 พีพีเอ็ม) เพิ่มขึ้น จากร้อยละ 60.3 ในปี 2555 เป็นร้อยละ 83.5 ในปี 2557

9 ผลไตเตรทเกลือ พ.ศ. 2554 - 2557 ร้อยละ
ผลการสุ่มไตเตรทเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน พบว่า เกลือเสริมไอโอดีนในระดับครัวเรือน มีคุณภาพตามมาตรฐาน (20-40 พีพีเอ็ม) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 15.1 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 73 ในปี 2557 แต่อย่างไรก็ตามยังคงพบเกลือเสริมไอโอดีนที่คุณภาพต่ำกว่ามาตรฐาน (<20 พีพีเอ็ม) มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี และพบถึงร้อยละ 13.8 ในปี 2557 สุ่มตรวจเกลือในครัวเรือน ร้อยละ 10 เพื่อส่งตรวจโดยวิธีไตเตรชั่น แหล่งข้อมูล: โครงการเฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีนแบบบูรณาการ กรมอนามัย

10 เปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรส ปี 2555และ 2557
ชนิดตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง ไม่เข้ามาตรฐาน (ร้อยละ) ปี 2555 ปี 2557 น้ำปลาผสม 43 48 35 (81.4) 19 (39.6) น้ำปลาแท้ 44 26 26 (59.1) 10 (38.5) ซีอิ๊วขาว 20 15 13 (65) 4 (26.7) ซอสปรุงรส ซอสถั่วเหลือง 19 12 15 (79) 4 (33.3) รวม 126 101 89 (71) 37 (36.6) จากการสุ่มตรวจผลิตภัณฑ์ปรุงรสเสริมไอโอดีนเปรียบเทียบ ใน ปี 2555 และ ปี 2557 พบว่า ผลิตภัณฑ์ปรุงรสเสริมไอโอดีน มีคุณภาพตามมาตรฐานเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ยังคงพบถึง ร้อยละ 37 ที่ไม่เข้ามาตรฐาน ในปี 2557 แหล่งข้อมูล: สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557

11 การใช้เกลือในผลิตภัณฑ์อาหาร
การใช้เกลือในผลิตภัณฑ์อาหารที่แจ้งสูตรส่วนประกอบในการขออนุญาต อย.และสสจ. การใช้เกลือในผลิตภัณฑ์อาหาร รวมทั้งสิ้น (ผลิตภัณฑ์) ใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ใช้เกลือบริโภคไม่เสริมไอโอดีน เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 156 18 174 วัตถุเจือปนอาหาร 58 21 79 อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 158 97 255 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 10 อาหารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ 7

12 การใช้เกลือในผลิตภัณฑ์อาหาร
การใช้เกลือในผลิตภัณฑ์อาหาร รวมทั้งสิ้น (ผลิตภัณฑ์) ใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ใช้เกลือบริโภคไม่เสริมไอโอดีน กาแฟ 1 ขนมปัง 68 69 ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 2 นมปรุงแต่ง ผลิตภัณฑ์ของนม 5 4 9 อาหารพร้อมปรุงและอาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที 16 ไอศกรีม  รวมทั้งสิ้น 484 (77.44% ) 141 ( 22.56% ) 625

13 Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว

14 มุ่งสู่เป้าหมาย “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนถ้วนทั่วเมืองไทย”
มุ่งสู่เป้าหมาย “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนถ้วนทั่วเมืองไทย” ประเทศไทย ปลอดโรคขาดสารไอโอดีน เสริมสร้างสติปัญญา และสุขภาวะที่ดีของทุกกลุ่มวัย การมีระบบเกลือเสริมไอโอดีนที่ต่อเนื่อง ร่วมกับการดำเนินการผ่านชุมชน หมู่บ้านไอโอดีนถ้วนทั่วเมืองไทย เป็นหลักประกันได้ว่าประชาชนไทยทุกคน จะได้รับสารไอโอดีนเพียงพอในแต่ละวัน และสามารถขจัดโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดไปจากประเทศไทยอย่างยั่งยืน ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt หมู่บ้านไอโอดีนทั่วไทย เทิดไท้เจ้าฟ้านักโภชนาการ: ก้าวผ่านความท้าทายสู่ความยั่งยืน วันที่ 25 มิถุนายน 2558.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google