ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
สถาณการณ์การขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค กลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย ปีพ.ศ.2560 (ราย) ผลการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2560 (ราย) ปีพ.ศ.2561 (ราย) ผลการดำเนินงาน ไตรมาส ( 1ต.ค.31ธ.ค.60) ปี พ.ศ (ราย) หมายเหตุ คัดกรอง ร้อยละ อาการน่าสงสัย เป็นวัณโรค 1.ผู้สัมผัส 1,422 1,248 87.76 565 467 2,487 689 27.70 30 18 2.HIV 2,959 1,848 62.45 95 74 2,098 286 13.63 2 1 3.DM 28,741 3,555 12.36 752 617 30,297 3,082 10.17 31 22 4.ผู้สูงอายุ 110,581 2,156 1.94 326 187 1,800 - ดำเนินการมี.ค.61 5.เรือนจำ 1,500 1,500 100 15 8 130 35 26.92 6.แรงงานข้ามชาติ 570 1 0.17 - 0 87,679 4,456 16 7.บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข 4,488 4,488 15 9 5,032 230 3.57 คัดกรอง CXR 2,200 รายคิดเป็นร้อยละ 43.72 8.ครูศูนย์เด็กเล็ก 856 4 - 1,146 กำลังดำเนินการ 9.COPD/ASTHMA N/A 3,053/3,459 10..อื่นๆ ได้แก่ SLE, ผู้ติดสุรา,โรคไต 650 0.49 24 15 รวม 110,000 14,783 13.43 1,768 1,362 130,123 9,428 7.24 149 74 1.Structure มีศูนย์ปฏิบัติการศูนย์ยุติวัณโรค ครบ 13 แห่ง คลินิกวัณโรค เปิดให้บริการจำนวน 11 รพ. รอดำเนินการประเมิน ขึ้นทะเบียน สปสช. 2 แห่ง / รพ.สุทธาเวช 1รพ. และรพ.เอกชน 1 แห่ง 1.1 บุคลากรรับผิดชอบงานวัณโรค แพทย์ 13 ท่าน เภสัชกร 13 ท่านเทคนิคการแพทย์ 13ท่าน Manager TB 13 ท่าน เป็นพยาบาลวิชาชีพ มีผู้รับผิดชอบรองพยาบาลวิชาชีพ และ นวก.สาธารณสุข ร่วมกับ ทีม SRRT ทีม MCATT 1.2 สถานที่คลินิกวัณโรคแยกสถานที่ออกจากอาคารผู้ป่วยนอก ชัดเจน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ 7 ในการประเมินคลินิกวัณโรค จาก สคร.7 จำนวน 11 แห่ง I1 Information สถานการณ์การดำเนินงานวัณโรค จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ พบอัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (Success Rate) เป้าหมาย ≥ 85 พ.ศ ,2559 ,2560 Success Rate คิดเป็นร้อยละ ,79.38 ,84.94 ซึ่งไม่สูงพอที่จะลดปัญหาวัณโรคตามเป้าหมายที่กำหนดได้ เนื่องจากปัจจัยสำคัญ 3 ประการ ปัจจัยที่หนึ่งผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต พบว่าพ.ศ ,2559 ,2560 ผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน 1,090 ,1,265 ,1,152 ราย เสียชีวิตระหว่างการรักษา 112 ,123, 85 ราย อัตราตาย(Death Rate) คิดเป็นร้อยละ , 9.72, ปัจจัยที่สองการขาดนัดรับยาต่อเนื่อง พ.ศ ,2559 ,2560 จำนวน 50 , 41, 30 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.59, 3.24 ,2.60 และปัจจัยที่สามไม่มีการติดตามประเมินผลการรักษา พ.ศ ,2559 ,2560จำนวน 34 ,44,30 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.12 ,3.48 ,2.60 ตามลำดับ ปี 2558,2559,25560 อัตราป่วยต่อแสนประชากรคนเท่ากับ 118,131 และ 119 ตามลำดับ อัตราการค้นพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2560 ต่ำกว่าเป้าคาดการณ์ 171//แสน 1,657 คน Incident case 1,152 ราย ทำให้ จำนวน ผู้ป่วยวัณโรคที่ต้องค้นหาเพิ่มเติมจำนวน 505 รายในปี 2561 เน้นมาตรการเร่งรัดการค้นหาในกลุ่มเสี่ยง 8 กลุ่ม I 3 Integrate ผสมผสาน,รวบรวม เน้นการทำงานแบบบูรณาการ ร่วมกันทุกฝ่าย เน้น Team Work การพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) กรณี พบผู้ป่วยวัณโรคประสบปัญหาทางฐานะเศรษฐกิจ ประสาน หน่วยงานราชการอื่น ในการของบประมาณเงินอุดหนุน ผู้มีรายได้มาช่วยเหลือ ค่ายานพาหนะในการมาพบแพทย์ทุก 1 เดือน ที่รพ.มหาสารคาม ดำเนินการ 20 รายในปี 2560 I 4 Innovation นวัตกรรม เน้น ให้พื้นที่ มีการคิดสร้างสรรค์ งานนวัตกรรม หรือ งานวิจัย ที่ช่วย ในการพัฒนางานให้ บรรลุวัตถุประสงค์ เน้น คุณภาพชีวิตผู้ป่วย และ ประชาชน ให้มีสุขภาพดี เช่น การจัดยาวันโด๊ส,การคัดกรองร่วมงานอื่น,การบูรณาการDOTS I 2 = IT (information technology) โปรแกรม TBCM On Line ประเทศไทย กำหนดตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม 2561 ใช้ระบบ TBCM Online ระบบเดียว สถานบริการ 13 แห่ง ใน จังหวัดมหาสารคามสามารถลงทะเบียนในระบบ TBCM Onlineได้ 100% และ มีแผนปฏิบัติการ ให้ รพ.สต 175 แห่ง ขอ Username pass word ในการลงข้อมูล ที่ติดตาม DOT และ ค้นหากลุ่มเสี่ยง 8 กลุ่ม ในการคัดกรอง Verbal screening ให้แล้วเสร็จสิ้นภายใน 31 มีนาคม 2561 M :Monitor กำกับติดตาม เทียบเคียง Success Rate ปี 2558 กับปี 2559 1.เทียบเคียง Success Rate Cohort 1/2559 กับ Cohort 1/ Key Success คืออะไร ถอดบทเรียน นำมาปรับปรุงพัฒนา 2. ค้นหา ปัจจัยที่ที่ทำให้ Success Rate ต่ำกว่าเป้าหมาย แก้ GAP และ วางแผนเป็น Action Plan3 3. การประชุมติดตามในเวที noc-tb ,กวป,นิเทศ,ประเมิน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.