งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 11 มกราคม 2561

2 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

3 ประเด็น : แผนงานโครงการ คปสอ.เมืองอ่างทอง
ประเด็น : แผนงานโครงการ คปสอ.เมืองอ่างทอง แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 หน่วยงาน จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ (PP) บำรุง ระบุ โรงพยาบาลอ่างทอง 62 8 1,777,775.00 253,000 - 1,175,775.00 349,000.00 144,450 4,250 0.24 สสอ.เมืองอ่างทอง 10 1,427,730 398,810 14,000 225,760 รพ.สต (เฉพาะ PP) 33 606,185 รวม 72 3,205,505.00 859,185 14,000.00 370,210 0.13 *จัดทำกิจกรรมส่งเสริม 859,185 บาท รพ. 253,000 บาท สสอ. + รพสต. 1,004,995 บ. (ได้รับจัดสรร 6.3 แสน) ประชุม คปสอ.เมือง วันที่ 5 ม.ค. 61 รับงบ pp ปี จำนวน 1,589, บาท มติจัดสรรดังนี้ โครงการร่วมในภาพเครือข่าย 30 % 476,935.28 จัดซื้อวัสดุ ยา ให้ รพ.สต สสอ. + รพ.สต. 40 % 635,913.70

4 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา แผนงานโครงการ โครงการได้รับอนุมัติน้อยมาก โครงการที่อนุมัติแล้วอยู่ในระหว่างดำเนินการ มีโปรแกรมการรายงานงบประมาณแผนงาน โครงการของ รพ มีโครงการจำนวนมาก เนื่องจากนำกิจกรรมทำเป็นโครงการ (รพ) ผู้รับผิดชอบ ได้งบถึงเขียนโครงการ (เช่นงบอื่น งบเทศบาล) ผู้รับผิดชอบต้องได้วันจัดแน่นอนถึงจะทำโครงการเสนอ -ทบทวนวิธีการจัดทำแผนงานโครงการ -ควรรวมโครงการเล็กๆเป็นโครงการใหญ่ (ปรับแผน 6 เดือน หรือ ทำแผนปีต่อไป) -ผู้รับผิดชอบโครงการเร่งรัดจัดทำโครงการ -นำเรื่องเข้าเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล

5 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

6 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 1. การดูแลโปรแกรม บันทึกข้อมูลสุขภาพ(HOSxP, HOMC) - การบำรุงรักษา สำรอข้อมูล - การบันทึกข้อมูล และ ส่งออกข้อมูล สภาพเครื่องที่ใช้งานในการบันทึกข้อมูล เครื่อง HOMC ประมาณ 300 เครื่อง การบันทึก ข้อมูลไม่ครบถ้วน ติดตามผลงานจาก HDC ในที่ประชุม ของ รพ.

7 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 2. การดำเนินงานในบทบาทคณะกรรมการคุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - ทีมพัฒนาคุณภาพ ข้อมูล Health Data Center (HDC) ทีมคุณภาพข้อมูล คำสั่งคณะกรรมการ สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ (IM) คณะกรรมการตรวจสอบการบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม คณะกรรมการพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารเครือข่ายอ.เมือง IM มีแผนประชุม12 ม.ค. 61 คณะกรรมการ 43 แฟ้ม จะนัดประชุมเมื่อมีประเด็น - ควรรวบรวมประเด็นปัญหา เข้าประชุมคณะกรรมการคุณภาพข้อมูล 3. คุณภาพข้อมูล ตามตัวชี้วัดการ ตรวจราชการ - ข้อมูลสาเหตุการตายที่ไม่ทราบสาเหตุ ( ill-defined error) ข้อมูล เดือน ตค. พย.60 ตายทั้งหมด 81 คน Ill error คน ร้อยละ - ยังไม่มีการติดตามข้อมูลสาเหตุการตาย ของของการตาย นอก รพ. ประสานข้อมูลกับที่ว่าการอำเภอ ใช้ข้อมูล จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข

8 พื้นที่รับผิดชอบของ รพ.อ่างทอง

9 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 4.รูปแบบการใช้ประโยชน์จากศูนย์ข้อมูลอำเภอ มีเว็บไซต์ ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร - การใช้งาน DataExchange น้อย

10 กลุ่มงานควบคุมโรค

11 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้องรับ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง Primary Prevention 1 ผลการคัดกรอง DM ร้อยละ 87.5 HT ร้อยละ 90 กลุ่มเสี่ยง -DM 865 ราย ร้อยละ 4.7 -HT 4,339 ราย ร้อยละ 24.5 2. มีโครงการปรับเปลี่ยนพหติกรรมกลุ่มเสี่ยงทุก รพ.สต. ตำบลตลาดกรวด นำร่องกิจกรรมเข้าค่าย 2 วัน ติดตามทุกเดือน 6 เดือน 1.ผลการคัดกรอง DM HT ต่ำกว่าเป้าหมายคือรพ.อ่างทอง / อ่างทอง 2 DM = ร้อยละ 35.37 HT = ร้อยละ 32.37 2.การควบคุมกลุ่มเสี่ยง ข้อสังเกต 2.1 DM พบกลุ่มเสี่ยงน้อยมาก มี 8 รพ.สต. 2.2 HT พบกลุ่มเสี่ยงสูงมา 92 % ที่ รพ.สต. ป่างิ้ว 70 % ที่ รพ.สต. ตลาดกรวด 60 % ที่ รพ.สต. หัวไผ่ 45% ที่ รพ.อ่างทอง 1.วางแผนการคัดกรองให้ผ่านเกณฑ์ภายในเดือน มกราคม 2561 2.NCD manager ทบทวนข้อมูลที่สูง / ต่ำผิดปกติ

12 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา Secondary Prevention 1 การควบคุมระดับน้ำตาล ร้อยละ 19.2 การควบคุมระดับความดัน ร้อยละ 21 2. ผลการคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน - CVD Risk ร้อยละ 66.4 - จอประสาทตา ร้อยละ 10.7 - ไต ร้อยละ 17 - เท้า ร้อยละ 32.5 3. รพท. เปิด NCD คลินิกในพื้นที่อำเภอเมือง 9 แห่ง ได้แก่ คลองวัว จำปาหล่อ บ้านแห มหาดไทย โพสะ ศาลาแดง บ้านรี อ่างทอง 2 อ่างทอง 3 4. มีกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยที่ควบคุมน้ำตาล ความดันไม่ได้ ชัดเจนในกิจกรรม ของ รพ.อ่างทอง -ยังไม่ได้มีการประชุม NCD Board -ขาดแผนการดูแลผู้ป่วย DM HT ในการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้เป็นแนวทางเดียวกันทั้งเครือข่าย -จัดประชุมNCD Board อำเภอเพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ให้ชัดเจน -การวางแผนการเยี่ยม -รายละเอียดแนวทางปรับเปลี่ยน -การตรวจสอบ -นำผลงานมาแก้ไข

13 171 88 การรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอด (TB) เขตสุขภาพที่ 4 ปี 2564
ต่อแสน ปชก. เป้าหมายระดับประเทศ อุบัติการณ์วัณโรคลดลง ร้อยละ12.5 ต่อปี อัตราความสำเร็จการรักษา วัณโรคทุกประเภท ร้อยละ 85 88 ต่อแสน ปชก.

14 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
โครงการควบคุมโรค 1.เป้าหมายผลการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 1 รพท. รับขึ้นทะเบียนรักษาทุกอำเภอการควบคุมการกินยาไม่ครอบคลุม แต่ได้แก้ปัญหาไปบางส่วนแล้ว 2.ผู้ป่วยวัณโรคใน รพ.ท. จากแผนกต่างแจ้งขึ้นทะเบียนกับคลินิกวัณโรคช้า 1. ส่งข้อมูลให้เครือข่ายอำเภอลงเยี่ยมผู้ป่วย และติดตามผู้สัมผัสร่วมบ้านไป X-ray รพช. ในพื้นที่ 2.รพท. ประชุมจัดทำแนวทางปฏิบัติให้ชัดเจน เป้า ผลงาน ร้อยละ 1 ผู้สัมผัส TB 38 20 52.6 2 HIV 18 100 3 DM รายใหม่ DM คุมน้ำตาลไม่ได้ 282 4 แรงงานต่างดาว 5385 - 5 สูงอาย 65 ปีขึ้นไป COPD 959 6 บุคลการการแพทย์ 1500

15 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรค 2. อัตราอุบัติการณ์วัณโรค ปี 58 = : แสน ปี 59 = : แสน ปี 60 = : แสน 3. อัตรารักษาสำเร็จ ปี 58 = 86.1 % ปี 59 = 89.6% ปี 60 =97.4% 4. ปี (ต.ค. – ธ.ค.60 ) ผู้ป่วยขึ้นทะเบียน 9 ราย - M ราย - M ราย -นอกปอด 1 ราย - Other 1 ราย

16 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

17 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา เด็กปฐมวัย (0-5) ปี เด็กวัยเรียน (6-14ปี ) สูงดีสมส่วน 1. มีแผนส่งเสริม /แก้ไขปัญหาสูงดีสมส่วยของอำเภอ 2.มีแผนอบรมครู Smart Kid Coacher ) 3.ผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนา -เด็ก 6-14 ปี = 6,248 -ชั่งน้ำหนัก วัดสัดส่วน 4,276 = ร้อยละ 68.43 -สูงดีสมส่วน ร้อยละ 69.5 -เด็กเตี้ย 69 คน ร้อยละ 1.62 -เด็กอ้วน 590 คน ร้อยละ 13.81 1. การดำเนินงานอบรมครูช้ากว่าแผน จะส่งผลต่อการประเมินไม่ทัน 2.รพ.สต. บางแห่งยังไม่มีข้อมูลการชั่ง น้ำหนักใน HDC 1.เร่งรัดการดำเนินการตามแผน 2.เร่งรัดบันทึกข้อมูลภายใน ม.ค.

18 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

19 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) HA ผ่านการประเมินขั้น 3 เมื่อวันที่ 14 พย 60 มีการจัดทำ Time line การธำรง สภาพ มีแผนการเข้าร่วม QLN กับระดับจังหวัด -การถ่ายทอดตัวชี้วัดไปยังผู้ปฏิบัติยังไม่ชัดเจน - ดำเนินการถ่ายทอดตัวชีวัดHA ในการธำรงสภาพแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการนำ HA เช่น ทีมนำ หัวหน้ากลุ่มงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับ Time line

20 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) Home Ward การจัดทำข้อมูลในระดับอำเภอ มีผู้รับผิดชอบระดับ รพ อำเภอชัดเจน มีทีมสหวิชาชีพในการเยี่ยมบ้าน จากการสุ่มเยี่ยมบ้านมีการจัดทำ Chart ผู้ป่วยไว้ที่เตียง มีการจัดทำ Profile ผู้ป่วยรายบุคคล จัดทำทะเบียนอุปกรณ์รวมกันในภาพ CUP การรายงานผลการเยี่ยมผู้ป่วยจาก รพ.สต.มายัง รพ.อ่างทอง ยังล่าช้า ให้จัดทำทะเบียนอุปกรณ์ในภาพ CUP ให้ทำ Flow Chart แผ่นเดียว และระบุผู้รับผิดขอบในแต่ละเรื่อง

21 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) พชอ ทีมเลขาเข้ารับการอบรมเมื่อวันที่ 8-9 มกราคม 2561 -สรรหาคณะกรรกมารตามระเบียบสำนักนายก -อยู่ระหว่างดำเนินการ ดำเนินการจัดทำคำสั่งคณะกรรมการตามระเบียบสำนักนายก กำหนดวันประชุมคณะกรรการเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดประเด็นอย่างน้อย 2 เรื่อง

22 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) รพ.สต ติดดาว กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 2 แห่ง บ้านแห ศาลาแดง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการระดับอำเภอและกำหนดวันถ่ายทอด รพ.สต.ติดดาวในวันที่ 17 มค 2561 รพ.สต. ประเมินตามโดยศึกษาเกณฑ์จากคู่มือเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการ สรุปผลการประเมินตนเองพร้อมส่งให้ รพ.สต. แต่ละแห่งจัดทำแผนพัฒนา

23 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) PCC เปิดดำเนินการ 1 ทีมที่ รพ.สต.บ้านอิฐ มีการประชุมผู้เกี่ยวข้องในคปสอ. เมื่อวันที่ 5 ม.ค. 61 กำหนดแพทย์ผู้ปฏิบัติงาน ใน PCC เป็น พญ. รัตน์เกล้า อยู่ระหว่างดำเนินการ ให้ดำเนินการจัดทำแผนงานตามกลยุทธ์ 3 S กำหนดวันเปิดดำเนินการทีม รพ.สต. บ้านอิฐภายในวันที่ 1 มีนาคม 2561

24 กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

25 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) โครงการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ช่องปากใน รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 8 แห่งจาก 13 แห่ง ร้อยละ 90 จำนวน จพ.ทันตสาธารณสุขใน รพ.สต. ไม่เพียงพอ ให้บริหารจัดการ จพ.ทันตสาธารณตามเครือข่าย รพ.สต. การพัฒนาโรงพยาบาลเป็นหน่วยรับส่งต่อ รับส่งต่อให้บางสาขา ขาดทันแพทย์เฉพาะทางสาขาที่จำเป็น ขอรับทุนสาขาที่จำเป็นจากระดับเขต

26 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

27 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
1.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 1.ไม่มีแผนการดำเนินงานตรวจสอบคุณภาพและฉลากของผลิตภัณฑ์สุขภาพ เนื่องจากกำหนดเป็นงาน routine และมีผลการตรวจในไตรมาสที่ 1 แล้ว 2.มีแผนการออกตรวจประเมินสถานที่ผลิตตามเกณฑ์ GMP/Primary GMP 3.มีแผนการดำเนินการจัดซื้อชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ แต่อยู่ในขั้นตอนการขออนุมัติจากรพ.อ่างทอง ไม่มี ไม่มี่

28 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ไม่ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.) ขั้นที่ 2 1.ส่วนของ รพ. ตชว.ที่ยังไม่ผ่าน 4 ตชว.(HDC) คือ 1.1URI เกณฑ์≤20% ผลงาน 38.93% (HOMC 35.22%) 1.2 AD เกณฑ์≤20% ผลงาน 29.68% (HOMC 43.92%) 1.3แผลสด เกณฑ์≤40% ผลงาน 61.74% (HOMC 38.58%) 1.4 ญ.คลอด เกณฑ์≤10% ผลงาน 16.88% (HOMC 3.78%) 2. ข้อมูลรายงานจาก HDC และ HOMC มีผลแตกต่างกัน 1.1 จัดทำแนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะใน 4 โรค และทำ check list โดยทำร่วมกันในระดับจังหวัด อยู่ในระหว่างการหารือกับผู้เชียวชาญในโรคนั้นๆ 1.2 .ให้เป็นวาระประจำในที่ประชุม PTC ของรพ. 2. สสจ.ประสานการคิดผลงานกับ สบรส.

29 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ผ่าน RDU 2 (ระดับอำเภอ)ขั้นที่ 2 เกณฑ์ 60% ผลงาน 78.57% 1. ผลของ RDU 2 ผ่าน URI 100% AD 92.86% (รพ.สต.คลองวัวไม่ผ่าน 1 แห่ง) แต่ใน HDC สรุปว่าผ่าน ทั้ง 2 โรค 78.57% เนื่องจาก บาง รพ.สต.รายงานcase เป็น 0 1. แจ้งให้รพ.สต.ที่มีจำนวน case เป็น 0 ตรวจสอบข้อมูล(รพ.สตบ้านยางและรพ.อ่างทอง2)

30 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีระบบการจัดการเชื้อดื้อยาอย่างบูรณาการ 1.มีคำสั่งคณะกรรมการรับผิดชอบกำหนดนโยบายกลไกดำเนินงานและระบบข้อมูลในการติดตาม AMR 2.มีระบบ Lab Alert 3.มีระบบดูแลกำกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 4.มีระบบป้องกันควบคุมการแพร่กระจายการติดเชื้อดื้อยา ไม่มี

31 กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

32 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ
แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการ GREEN CLEAN Hospital โรงพยาบาลอ่างทอง ๑.ขยะ ติดเชื้อ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย   ในโรงพยาบาล มีการบริหาร จัดการโดยให้บริษัทเอกชนเข้ามารับใน วันจันทร์ พุธ ศุกร์ นำไปกำจัดขยะ อำเภอบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ในชุมชน (Home Word) และ รพ.สต. ดำเนินการกำจัดเองยังไม่มีมาตรการในการ กำจัดอย่างถูกวิธี -- ในคลินิก/โรงพยาบาลสัตว์ กำลังอยู่ในช่วงดำเนินการ ขายนำเงินเข้าโรงพยาบาล ส่ง เทศบาล /บริษัทเอกชน ยังไม่มีมาตรการ กำจัดอย่างถูกวิธี -ยังไม่ได้ตามเกณฑ์ -ประสานงานกับ โรงพยาบาลอ่างทอง เพื่อกำหนดแผนและหาแนวทางในการกำจัดอย่างถูกวิธี ( ในภาพของ คปสอ.) -ประสานงานข้อมูล ในคลินิก/โรงพยาบาลสัตว์ (ปศุสัตว์จังหวัด)

33 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ
แนวทางการแก้ไขปัญหา ๒.ส้วม OPD ทำความสะอาด ทุกชั่วโมง IPD ( ตึกรวมศัลยชาย – หญิง) ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ยังไม่ผ่านเกณฑ์ -แนะนำให้ปรับปรุงให้ได้ตามเกณฑ์ ๓.สิ่งแวดล้อม เก็บตัวอย่างน้ำเพื่อส่งตรวจ ทุกไตรมาส น้ำดื่ม ( ตึกศัลยชายและ ตึกพิเศษ ชั้ น ๘) พบเชื้อ น้ำเสีย ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ( โดยส่งตัวอย่างตรวจทุกไตรมาส) ไส้กรองน้ำไม่ได้เปลี่ยนตามกำหนดเวลา - แนะนำให้มีการปรับปรุงและกำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน

34 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ
แนวทางการแก้ไขปัญหา ๔.พลังงาน ทางโรงพยาบาล มีมาตรการที่ชัดเจนจัดในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดย จัดทำแผน ล้างแผ่นกรองอากาศแอร์ทุกตัว โดยบริษัทควบคู่กับงานช่างของโรงพยาบาล เพื่อที่จะได้ดำเนินการเองได้ ในเวลาต่อไป -นำผ้าปูตียงที่เหลือใช้มาเย็บเป็นถุงใส่ของ(เครื่องช่วยหายใจ) เพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก และรีไซเคิล -เปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่มีอายุการใช้งานนาน เช่น หลอดไฟฟ้า คาดว่าจะสามารถลดการใช้พลังงานลงได้ - ๕.อาหาร มีการตรวจอาหาร -ในโรงครัวของโรงพยาบาล ทุกเดือน -ร้านค้าในโรงพยาบาล ตรวจทุกไตรมาส -พบเชื้อแบคทีเรียที่มือผู้ปรุง พบเชื้อแบคทีเรียที่ภาชนะใส่อาหาร -มีการแนะนำเพื่อปรับปรุงและแก้ไขให้ได้ตามมาตรฐาน - เสนอเครื่องอบภาชนะใส่อาหาร

35 กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล

36 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
การดำเนินการงานถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคลของหน่วยงาน กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัด -มีการประชุมชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัดผู้บริหารกับ ผอ.รพ.สต -ผอ.รพ.สต. ถ่ายทอดตัวชี้วัดให้กับผู้ปฏิบัติงานใน รพ.สต. บางหน่วยงานขาดการแตกกิจกรรมตัวชี้วัดของ หัวหน้าลงสู่ผู้ปฏิบัติ -ทบทวนการถ่ายตัวชี้วัดลงสู่ผู้ปฏิบัติ ทุกคนและรวมกลุ่มกันกำหนดตัวชี้วัด

37 ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2561 (รอบที่ 1)
ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ (รอบที่ 1) ของสาธารณสุขอำเภอ ลำดับที่ ตัวชี้วัด น้ำ หนัก กลุ่มงานที่รับผิดชอบ 1 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) 10 ก.ควบคุมโรค 2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานส่งเสริมเด็กปฐมวัยและ เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ก.ส่งเสริมสุขภาพ 3 ระดับความสำเร็จของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB)ที่มีประสิทธิภาพ ก.พัฒนาคุณภาพ 4 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว 5 ความสำเร็จการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ ก.คุ้มครองฯ 6 ตัวชี้วัดตามภารกิจ ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ (งบดำเนินงาน )ที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ก.พัฒนายุทธศาสตร์ 7 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพข้อมูลของเครือข่ายอำเภอ

38 1.ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
ลำดับที่ รายละเอียด 1 มีการประชุม NCD Board อำเภอ 2 ครั้ง (0.5 คะแนน) 2 - มีการประเมินตนเองตามเกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ และหาปัญหาส่วนขาดได้ (0.5 คะแนน) - มีการจัดทำแผนพัฒนาส่วนขาด (0.5 คะแนน) 3 ผลการคัดกรอง (1.5 คะแนน) ผลงาน เกณฑ์การให้คะแนน 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 1.ร้อยละการคัดกรอง DM รายใหม่ 70 75 80 85 90 2.ร้อยละการคัดกรอง HT รายใหม่ 3.ร้อยละการประเมินโอกาสเสี่ยง CVD Risk 60 65

39 ผลงาน 1.ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
ลำ ดับที่ รายละเอียด 4 5 มีการนำกระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) หรือ นวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหา ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันไม่ได้ ในเครือข่ายอำเภอ (1 คะแนน) ผลงาน เกณฑ์การให้คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 ร้อยละของตำบลที่มีการจัดตั้งภาคีเครือข่าย “ลดเสี่ยง ลดโรค” และมีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 10 20 30 40 50

40 งานการเงินและบัญชี

41 คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
(แผนยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาลGovernance Excellence) โครงการที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบปัญหาวิกฤตทางการเงิน สรุปนิเทศโรงพยาบาลอ่างทอง วันที่ 11 มกราคม 2561

42 ประเด็นการตรวจ 1.การบริหารแผนทางการเงินและการกำกับติดตาม 1.1การจัดทำแผนทางการเงินการทำแผนทางการเงิน ครบถ้วน 7 แผน ผ่านการอนุมัติจากนพ.สสจ. และผู้ตรวจราชการตามกำหนดเวลา 1.1.1การทำแผน planfinรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) จำนวน 630,969,840 บาท ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อม) จำนวน 610,689,990 บาท ทำแผนแบบสมดุล EBITDA = 20,279,850 บาท วงเงินที่ลงทุนได้ (ร้อยละ 20%ของ EBITDA = 4,055,970 บาท ทำแผนลงทุนด้วยเงินบำรุง 2,500,000 บาท งบลงทุนด้วยเงินบำรุงเปรียบเทียบEBITDA>20% = 1,555,970 บาท NI = 6,486,836 บาท รายได้งบลงทุน = 36,964,986 บาท (งบค่าเสื่อมรพ.และรพสต = 7,821,986 บาท เงินงบประมาณ = 29,514,300 บาท 1.1.2.แผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จำนวน จำนวน 166,300,000 บาท 1.1.3.แผนจัดซื้อวัสดุอื่น จำนวน 19,710,000 บาท 1.1.4.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ จำนวน 384,800,000 บาท 1.1.5.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ จำนวน 368,608,700 บาท 1.1.6.แผนงบลงทุน จำนวน 39,836,286 บาท 7.แผนสนับสนุนรพสต.จำนวน 7,917, บาท

43 1.งบค่าเสื่อม ทำแผนในแผนงบลงทุนรวมรพสต. =7,821,986 บาท
ปัญหาที่พบ 1.งบค่าเสื่อม ทำแผนในแผนงบลงทุนรวมรพสต. =7,821,986 บาท แนวทางการแก้ไขปัญหา 1 งบค่าเสื่อมทำแผนเฉพาะของรพ.ส่วนของรพสต.จัดทำในแผนสนับสนุนรพสต. โดยให้ปรับแผนในรอบ 6 เดือนหลังประมาณเดือนเมษายน 2561 2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนทางการเงินทั้ง 7 แผนในวาระการประชุม กรรมการบริหารรพ.อย่างน้อยรายไตรมาส

44 มาตรการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน ปี 2561
1.การเพิ่มรายได้โรงพยาบาลมีเป้าหมายและผู้รับผิดชอบชัดเจน 2.การจัดทำแผนบริหารเจ้าหนี้ มีการกำหนดแนวทางในการชำระหนี้การค้าเรียงตามลำดับอายุหนี้ (ฝ่ายบัญชี) และมีแผนชำระหนี้ปี จำนวน 384,800,000 ค้างจ่ายฉบับ 12 (มค59-กย59) และมค.60-ธค60) มีแผนจะจ่ายเดือน มค59-มีค 59 ในเดือนมค.61) 3.การจัดทำแผนบริหารลูกหนี้ มีผู้รับผิดชอบในการเรียกเก็บหนี้ค่ารักษาพยาบาลในแต่ละสิทธิ ที่มีการเรียกเก็บ มีทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามนโยบายกระทรวง (ฝ่ายสวัสดิการสังคมและการเงิน รับผิดชอบในส่วนของlab) 4.การจัดทำแผนงบลงทุน ในส่วนของรพ.พัสดุดำเนินการจัดหา และส่วนรพ.สต.ให้รพ.สต.เป็นผู้จัดหา โดยทางรพ.โอนเงินให้ครบแล้วเมื่อเดือนธ.ค.60 5.การจัดทำแผนสนับสนุนรพ.สต. โอน fixcost ให้รพ.สตล่วงหน้า 6 เดือนแล้วในเดือนมกราคม 2561

45 ประเด็นการตรวจ 1.2 การกำกับติดตาม planfin (เป้าหมาย : ผลต่างแผนและผลไม่เกินร้อยละ 5%) (ผลการดำเนินงานเดือนพ.ย.60) ด้านรายได้ มากกว่า 8,158, บาท (ร้อยละ %) ด้านค่าใช้จ่าย น้อยกว่าแผน -6,134, บาท (ร้อยละ -5.56%) ปัญหาที่พบ ด้านรายได้ 1.มากกว่าแผนเกินร้อยละ 5 -รายได้ uc เป็นการจัดสรรล่วงหน้า 6 เดือน ทำให้มากกว่า 8,996, (ร้อยละ 46.73%) 2.น้อยกว่าแผน เกินร้อยละ 5 มีดังนี้ -รายได้ EMS จำนวน -286, (-100%))เนื่องจากยังไม่ได้รับจัดสรร -รายได้ เบิกต้นสังกัด จำนวน -162, (-33.44%) รายได้แรงงานต่างด้าว จำนวน -269, บาท (-51.53%) รายได้อื่น จำนวน -1,887, บาท (-34.85%) แนวทางการแก้ไข รพ.ควรวิเคราะห์แต่ละรายการเพื่อจะได้เป็นไปตามแผนที่ประมาณการ รายงานผลการดำเนินงานในวาระการประชุมคณะกรรมการบริหารรพ.ทุกเดือน (รพ.ดำเนินการแล้ว) ทบทวนแผนประมาณการรายได้ในรอบ 6 เดือน หลัง เดือนเมษายน 2561โดยวิเคราะห์และวางแผน จากผลงาน 6 เดือนแรก

46 ด้านค่าใช้จ่าย น้อยกว่าแผน -6,134,500.72 บาท (ร้อยละ -5.56%)
ปัญหาที่พบ 1.มากกว่าแผน - ต้นทุนยา จำนวน 788, บาท 4.64% 2.น้อยกว่าแผน - ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ -1,093, บาท (-15.15%) - ต้นทุนวัสดุทันตกรรม จำนวน -143, บาท ( %) - ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวน -769, บาท ( %) - ค่าจ้างชั่วคราว จำนวน -452, บาท (-5.98%) - ค่าตอบแทน จำนวน -2,196, บาท (-16.64%) - ค่าใช้สอย จำนวน -1,473, (-31.94%) - ค่าสาธารณูปโภค จำนวน -1,148, บาท ( %) - หนี้สงสัยจะสูญ จำนวน ,222.21บาท ( %) แนวทางแก้ไข ควบคุม กำกับ ติดตามให้เป็นไปตามแผนเพื่อให้การจัดทำแผนมีประสิทธิภาพ รายงานผลการดำเนินงานในวาระการประชุมคณะกรรมการบริหารรพ.ทุกเดือน ทบทวนปรับแผน 6 เดือนหลังภายในเมษายน 2561 โดยวิเคราะห์และวางแผนจากผลงาน 6 เดือนแรก

47 ประเด็นการตรวจ 2.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว)
ผลการดำเนินงานไตรมาส 4/60 ผ่าน ตัว ไม่ผ่าน ตัว ดังนี้ ปัญหา อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เกณฑ์มากกว่าค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม รพช/รพท. S <= 400 ค่ากลางกลุ่มรพ.=3.43 ผลการดำเนินงานของรพ.=0.87 การจ่ายชำระเจ้าหนี้การค้า เกณฑ์ cash มากกว่า 0.80 จ่ายภายใน 90 วัน cash น้อยกว่า 0.80 จ่ายภายใน 180 วัน ผลการดำเนินงาน รพ cash = 0.57 จ่ายชำระหนี้ วัน ระยะเวลาเรียกเก็บลูกหนี้ Uc เกณฑ์ภายใน 60 วัน ผลการดำเนินงาน = วัน

48 ประเด็นการตรวจ แนวทางแก้ไข
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เกณฑ์มากกว่าค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม 1. -การใช้สินทรัพย์เดิมให้สร้างมูลค่าโดยการเพิ่ม productivity การจ่ายชำระเจ้าหนี้ - มีแผนบริหารเจ้าหนี้ - จัดซื้อตามแผน - บริหารคงคลัง ระยะเวลาเรียกเก็บลูกหนี้ Uc เกณฑ์ภายใน 60 วัน - มีแผนบริหารลูกหนี้ - มีการติดตามทวงถาม

49 ประเด็นการตรวจ 3.คะแนนการประเมิน FAI (เป้าหมาย : คะแนนผลการประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมการควบคุมภายใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง การบริหารต้นทุน ผลการดำเนินงานไตรมาส 4 /60 คะแนนการประเมิน FAI ได้ร้อยละ 92 ปัญหาที่พบ -กิจกรรมควบคุมภายในได้ 3 คะแนน โดยการดำเนินงานเรื่องการควบคุมภายในส่งรายงานการประเมินแบบ 5 มิติไม่ทันภายในกำหนดเวลา แนวทางแก้ไข ทบทวนคณะทำงานแต่ละกิจกรรมให้เป็นปัจจุบัน เพื่อดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนด คณะทำงานมีการประเมินตนเองและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยรายไตรมาสตลอดจนนำผลการประเมินไปใช้เพื่อวางแผนและแก้ไขในแต่ละประเด็น และมีการติดตามการแก้ไขตามแนวทางที่กำหนด นำเสนอผลการประเมินรายไตรมาสให้คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลรายไตรมาส

50 กลุ่มงานประกันสุขภาพ

51 ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม
ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา -มีการกำหนดเป้าหมายร้อยละ 10 ทุกกิจกรรม -มาตรการของแต่ลุกิจกรรมไม่ชัดเจน -ผู้รับผิดขอบงานตามกิจกรรมยังไม่เข้าใจนโยบายการเพิ่มรายได้ ไม่ชัดเจน -ข้อมูลผลงานมีความคาดเคลื่อนเนื่องจากระบบการดึงข้อมูลไม่ถูกต้อง -ชี้แจงผู้รับผิดชอบทุกกิจกรรมให้เข้าใจนโยบายและมาตรการ -เสนอผลการดำเนินการรายกิจกรรมในที่ประชุม คกบ. ทุกเดือน -กลุ่มงานผู้เกี่ยวข้องทบทวนการดึงข้อมูลผลงานให้ตรงกับเป้าหมาย ลำดับ กิจกรรม ผลงาน เฉลี่ยเป้าหมายรายเดือน เพิ่มขึ้น ผลงานปี 2561จำแนกรายเดือน ปี 2560 เป้าหมายปี 2561 เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 10% ตุลาคม พฤศจิกายน 2 เดือน 1 ฟิสเนต+กายภาพ 2,097,900 2,307,700.00 200,000 209,800 282,538 217,596 500,134 2 กายภาพ 1,249,240 1,374,164.00 114,514 124,924 196,201 121,141 317,342 3 ทันตกรรม 4,158,858 4,574,000.00 381,167 415,142 679562 335028 1,188,830 4 แพทย์แผนไทย 2,980,027 3,278,000.00 273,167 297,973 245,950 328,557 574,507 5 ห้องพิเศษ 15,979,383 17,577,321.00 1,464,777 1,597,938 1,753,818 384,307 2,138,125 รวม 26,465,408 29,111,185 2,433,624 2,645,777 3,093,737 1,625,201 4,718,938

52 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google