งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ด้านการประมง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ด้านการประมง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ด้านการประมง

2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง (กุ้งทะเล) ให้เป็นไปตามมาตรฐานการผลิตที่ใช้กระบวนการผลิตและเทคโนโลยีที่สะอาด 2. เพื่อผลักดันให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียวที่มีรูปแบบการผลิตสินค้าจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและอุตสาหกรรมประมงต่อเนื่องที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น และสามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้ และสินค้าจากเมืองเกษตรสีเขียวต้องสามารถจำแนกและตรวจสอบย้อนกลับได้

3 พื้นที่ดำเนินการ และจำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
จังหวัด จำนวนเกษตรกร ชนิดสัตว์น้ำ 1. เชียงใหม่ 250 สัตว์น้ำจืด 2. หนองคาย 3. ศรีสะเกษ 4. ราชบุรี 5. พัทลุง 6. จันทบุรี 1,500 กุ้งทะเล รวม 2,750

4 กิจกรรมโครงการ ปี 2558 จัดทำระบบตรวจสอบย้อนกลับ
จัดทำคาร์บอนฟุตปริ้นท์ในระดับฟาร์ม จัดทำจุดสาธิตระบบ Zero waste จัดการวัตถุดิบหลังการจับ ติดตามประเมินผลโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการฯ ประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ

5 หน่วยงานรับผิดชอบ สำนักงานประมงจังหวัด สำนักตรวจราชการกรม
กองวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กองพัฒนาอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ

6 แผนการดำเนินงานปี 2558 กิจกรรมการดำเนินงาน หน่วย เป้าหมาย กพจ. กพช.
กอส. ปจ. 1. จัดทำระบบตรวจสอบย้อนกลับ ฟาร์ม 2,750 1,250 1,500 2. จัดทำคาร์บอนฟรุตปริ้นท์ในระดับฟาร์ม 3. จัดทำจุดสาธิตระบบ Zero Waste จุด 60 10 50 4. จัดการวัตถุดิบหลังการจับ จังหวัด 6 5. ติดตามประเมินผลโครงการ ครั้ง 25 20 4 1 6. ประชาสัมพันธ์โครงการ 7. ประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ

7 1. จัดทำระบบตรวจสอบย้อนกลับ
วัตถุประสงค์ ควบคุมคุณภาพตลอดสายการผลิต ให้กลุ่มเกษตรกรสามารถ ยกระดับมาตรฐานคุณภาพของสินค้า สร้างความเชื่อมั่น ประกันคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้าให้แก่ผู้ผลิต ผู้ซื้อ ผู้ขาย ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก และผู้บริโภคด้วยระบบการตรวจสอบย้อนกลับ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ข้อมูลที่จัดเก็บ ทะเบียนเกษตรกร วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตต่างๆ การให้อาหาร ใช้ปุ๋ย แหล่งน้ำ วิธีการใช้สารเคมีต่างๆ วิธีการใช้เครื่องมือ การปฏิบัติหลังการใช้

8 วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการปล่อยคาร์บอนในระดับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
เก็บข้อมูลการลดการปล่อยคาร์บอนในกระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และประเมินผลการปล่อยคาร์บอน หลังการบริหารจัดการฟาร์ม เจ้าหน้าที่และเกษตรกรร่วมกันวางแผนการจัดการฟาร์มเพื่อเข้าสู่เมืองเกษตรสีเขียว เน้นการจัดการของเสีย ตามหลัก 3 Rs (Reduce Reuse Recycle) กพช. / กพจ. แจ้งผลการประเมินการปล่อยคาร์บอนในกระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในภาพรวม ให้เกษตรกรทราบ

9 ค่าเฉลี่ยการปล่อยคาร์บอนในระดับฟาร์ม ปี 2557
ผลการประเมินการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ จากการเลี้ยงกุ้ง จังหวัดจันทบุรี ปี 2557 พื้นที่ ค่าเฉลี่ยการปล่อยคาร์บอนในระดับฟาร์ม ปี 2557 อำเภอแหลมสิงห์ 10.26 kgCO2/kg อำเภอขลุง 12.84 kgCO2/kg อำเภอเมือง 9.91 kgCO2/kg อำเภอท่าใหม่ 9.78 kgCO2/kg อำเภอนายายอาม 8.12 kgCO2/kg ค่าเฉลี่ยการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการเลี้ยงกุ้ง จังหวัดจันทบุรี ปี 2557 เท่ากับ kgCO2/kg ค่าเฉลี่ยการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการเลี้ยงกุ้ง จังหวัดจันทบุรี ปี 2558 เท่ากับ 7.66 ± 5.81 kgCO2/kg (ปี 2558 จำนวนข้อมูลเกษตรกรที่รวบรวม 588 ราย จาก 1,500 ราย)

10 การปลูกต้นไม้ป่าชายเลน
หน่วยงาน จำนวนพื้นที่ (ไร่) จำนวนต้นไม้ที่ปลูก (ต้น) ศูนย์ฯคุ้งกระเบน 17.5 7200 ศพช.จันทบุรี 7 7000 สำนักงานประมงจังหวัดจันทบุรี 700 4000 รวม 724.5 18,200 ประเมินการกักเก็บคาร์บอนของการปลูกต้นไม้ป่าชายเลน 1 ไร่ สามารถ กักเก็บคาร์บอน ได้ 2.75 ตันคาร์บอน 18,200 ไร่ สามารถ กักเก็บคาร์บอน ได้ 50,050 ตันคาร์บอน

11 กิจกรรมการปลูกต้นไม้ป่าชายเลน

12 การเลี้ยงหอยนางรม ประเมินการกักเก็บคาร์บอนในเปลือกหอย
พื้นที่เลี้ยงหอยนางรม อ.ขลุง ไร่ อ.แหลมสิงห์ ไร่ รวม ไร่ ผลผลิตหอยนางรม ค่าเฉลี่ย 1,500 กก./ไร่ มีผลผลิตหอยนางรม 1,435, กก. CaCO3 น้ำหนักโมเลกุล = มีคาร์บอน 12 % น้ำหนักหอย 10 กก. ได้น้ำหนักเนื้อหอย 1 กก. มีเปลือกหอยทั้งหมด 1,292, กก. เป็นคาร์บอน 155, กก.

13 กิจกรรมการเลี้ยงหอยนางรม

14 3. จัดทำจุดสาธิตระบบ Zero waste (กพช. 50 ฟาร์ม)
การติดตั้งเครื่องควบคุมพลังงาน (Smart controller) โปรแกรมการให้อาหาร การเลี้ยงหอยนางรม การเลี้ยงสาหร่ายทะเล การใช้จุลินทรีย์ ปม 1 การปลูกต้นไม้ป่าชายเลน การทำปุ๋ยดินเลนนากุ้ง

15 แนวทางการเข้าสู่โครงการกุ้งทะเลสีเขียว
(ดูดซับสารอนินทรีย์) (กรองกินสารอินทรีย์) น้ำทิ้ง ไม้ชายเลน การเลี้ยงหอยสองฝา ใช้จุลินทรีย์ แทนการใช้สารเคมี การเลี้ยงสาหร่าย ถ่านไม้ ก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนไดออกไซด์, CO2) โลกร้อน ปล่อย CO2 จากการผลิต การกักเก็บ อาหาร พลังงาน ปัจจัยการผลิต ดินตะกอนพื้นบ่อ ปุ๋ย ผลผลิตกุ้ง

16 3. จัดทำจุดสาธิตระบบ Zero waste (กพจ. 10 ฟาร์ม)
นำน้ำที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำรดแปลงผัก สนับสนุนการใช้จุลินทรีย์ การปลูกหญ้าแฝกเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำบ่อเลี้ยงและบ่อบำบัดน้ำ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงและไฟฟ้า

17 4. จัดการวัตถุดิบหลังการจับ
วัตถุประสงค์ พัฒนาจังหวัดที่มีศักยภาพและความโดดเด่นในการผลิตสินค้าสัตว์น้ำให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว ที่มีรูปแบบการผลิตสินค้าและอุตสาหกรรมสัตว์น้ำที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสอดคล้องกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สำรวจข้อมูลพื้นฐาน คัดเลือกกลุ่มแม่บ้าน/ผู้ประกอบการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต / ให้คำแนะนำเพื่อเป็นจุดสาธิต ให้ความรู้ ติดตามผลการดำเนินงาน สุ่มตัวอย่างตรวจวิเคราะห์คุณภาพ

18 5. ติดตามประเมินผลโครงการ
วัตถุประสงค์ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการเมืองเกษตรสีเขียว กพจ. และ กพช. จัดประชุมติดตามผลการดำเนินงานโครงการ ร่วมกับสำนักงานประมงจังหวัด ปีละ 3 ครั้ง กอส. จัดประชุมติดตามผลการดำเนินงานโครงการ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปีละ 1 ครั้ง

19 6. ประชาสัมพันธ์โครงการ กพช. จัดประชาสัมพันธ์โครงการในภาพรวม 1 ครั้ง
วัตถุประสงค์ สร้างความรู้และความเข้าใจของสาธารณชน ต่อโครงการเมืองเกษตรสีเขียว โดยการเผยแพร่และชี้แจงผ่านสื่อต่างๆ เพื่อให้สาธารณชนได้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย วัตถุประสงค์ การดำเนินงาน และกิจกรรมต่างๆ กพช. จัดประชาสัมพันธ์โครงการในภาพรวม 1 ครั้ง

20 7. ประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
วัตถุประสงค์ ประเมินความพึงพอใจของเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ ต่อการดำเนินงานตามโครงการเกษตรสีเขียว กพช. /กพจ. จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของเกษตรกรในโครงการ สำนักงานประมงจังหวัด ประเมินความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถามที่กำหนด สำนักงานประมงจังหวัด ประมวลผล/สรุปผลการประเมิน ส่ง กพช./กพจ.


ดาวน์โหลด ppt โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ด้านการประมง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google