ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยธนาพร หงสกุล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน บทเรียนเรื่อง “ความรู้และการสร้างองค์ความรู้” ภาคต้น ปีการศึกษา 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนวย พิรุณสาร ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
2
ประเด็นในการบรรยาย แนะนำวัตถุประสงค์ ขอบเขตและเนื้อหาในการเรียนรู้
เนื้อหาสำคัญของการเรียนรู้ ซักถาม และร่วมกันอภิปรายประเด็นข้อสงสัยต่าง ๆ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
3
วัตถุประสงค์ ขอบเขตและเนื้อหาในการเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียน 1 เข้าใจ และอภิปรายถึงมุมมองของนักปรัชญา ตลอดจนสามารถเข้าใจและให้คำตอบว่า “ความรู้ คือ อะไร” ในบริบทต่าง ๆ ได้ 2 เข้าใจถึงพื้นฐาน แนวคิดเป็นที่มาของ ความรู้ รวมทั้งอธิบาย วิเคราะห์ สังเคราะห์ การสร้างความรู้ ในมิติทางปรัชญาต่าง ๆ ได้ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
4
วัตถุประสงค์ ขอบเขตและเนื้อหาในการเรียนรู้
ตอนที่ 1 ความรู้ คือ อะไร เรื่องที่ 1 ที่มาของความรู้ (ตามแนวคิดนักปรัชญา) ตอนที่ 2 การสร้างความรู้ เรื่องที่ 1 การจัดการความรู้ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
5
“ความรู้” ต้องสร้างขึ้นมาหรือไม่
เครื่องมือที่ทำให้เกิด ความรู้ คือ อะไร การคิด ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
6
การคิด ความคิด ความรู้
สิ่งเร้า Information Personal Background การคิด ความคิด หรือ ความรู้ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
7
Plato; Greek Philosopher
Knowledge that a statement must meet three criteria in order to be considered knowledge: it must be justified, true, and believed. Picture from ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
8
ความรู้ คือ ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือ สิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึง ความสามารถในการนำสิ่งนั้น ๆ ไปใช้ เพื่อเป้าหมายบางประการ มีประโยชน์ต่อมนุษย์ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
9
การแบ่งประเภทของ “ความรู้”
ส่วนบุคคล ทางสังคม ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
10
การแบ่งประเภทของ “ความรู้”
ทั่วไป เฉพาะ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
11
การแบ่งประเภทของ “ความรู้”
ชัดแจ้ง ฝังลึก ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
12
ความรู้ชัดแจ้ง Explicit Knowledge
ความรู้ ที่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม อาจพบได้ตามคัมภีร์ หนังสือ ส่วนใหญ่ มักผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือกระบวนการพิสูจน์ เช่น การวิจัย ทดลอง ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
13
ความรู้ฝังลึก Tacit Knowledge
เป็นสิ่งที่เห็นได้ไม่ชัดเจน อาจฝังลึกในตัวบุคคล ซึ่งมักได้จากการปฏิบัติ ฝึกฝน เทคนิคต่าง ๆ มาจนมีความชำนาญ เป็นสิ่งที่ได้จากการใช้ปฏิภาณไหวพริบ และเทคนิคในการปฏิบัติ จนเป็นเคล็ดวิชา หรือ ภูมิปัญญา มีส่วนช่วยให้เกิดความสำเร็จในงานหรืองค์กรได้ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
14
ภาพจาก http://www.gotoknow.org/posts/486214
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
15
Explicit knowledge คือ ความรู้ที่เห็นได้ชัดแจ้ง เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และรายงานต่างๆ สามารถเข้าถึงได้ง่าย Tacit knowledge คือ ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ ถ่ายทอดออกมาเป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรได้ยาก สามารถแบ่งปันกันได้ จาก ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
16
ขณะนี้ เรามีความรู้อะไร
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
17
ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน
เข้าใจความรู้ เป็นบัณฑิต ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน หาความรู้ วิธีการหาความรู้ มีปัญญา ไม่รู้ สงสัย ไม่มีความรู้ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
18
วงจรของความรู้ ความรู้ นำมาใช้ การสร้าง / ค้นหา รวบรวม / จัดการ
แลกเปลี่ยน / แบ่งปัน นำมาใช้ วงจรของความรู้ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
19
มีประโยชน์ต่อมนุษย์ การจัดการความรู้ คือ
ความรู้ คือ ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือ สิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจไปถึง ความสามารถในการนำสิ่งนั้น ๆ ไปใช้ เพื่อเป้าหมายบางประการ การจัดการความรู้ คือ กระการบวนการในการเปลี่ยนหรือสร้างสิ่งที่เรารู้ สิ่งที่เราเข้าใจ แล้วนำไปใช้ประโยชน์ มีประโยชน์ต่อมนุษย์ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
20
ภาพจาก กีรติ ยศยิ่งยง “การจัดการความรู้ในองค์การและกรณีศึกษา หน้า 7
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
21
จะใช้เทคนิคใดได้บ้าง
จากวงจรของความรู้ จะใช้เทคนิคใดได้บ้าง ความรู้ การสร้าง / ค้นหา รวบรวม / จัดการ แลกเปลี่ยน / แบ่งปัน นำมาใช้ ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
22
ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
23
หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะสำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
24
ที่มา http://www.p21.org/about-us/p21-framework
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน ภาคต้น ปี กศ โดย ผศ.อำนวย พิรุณสาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.