ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวิภา ตั้งตระกูล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 4 มกราคม 2561
2
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ โรงพยาบาลโพธิ์ทอง แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 แผนการดำเนินการ จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย (PP) บำรุง ระบุ แผนสุขภาพจังหวัด ( NCD สิ่งแวดล้อม R2R ) 6 4 2,465,000 2,400,000 - 65,000 818,325 627,462 แผนตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข นอกเหนือแผนสุขภาพจังหวัด 18 15 1,937,886 1,115,501 140,000 495,185 187,200 989,012 165,066 แผนภารกิจประจำ 7 5 815,899 111,899 5,000 699,000 171,399 รวม 31 24 5,218,785 3,627,400 145,000 1,259,185 1,978,736 792,528
3
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานควบคุมโรค ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา การควบคุมวัณโรค ประเด็น 1. บรรจุเรื่องวัณโรคในวาระการประชุม คปสอ. -มีแนวทางจะนำเรื่องวัณโรคและความก้าวหน้าในการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคแต่ละรายเข้าที่ประชุม คปสอ. ทุกครั้งหรือคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลทุกครั้ง - ยังไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากเพิ่งได้รับแนวทางจากจังหวัด -ให้เริ่มดำเนินการในเดือน ม.ค. 61 2.การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง -มีการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงได้แก่ ผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรค HIV แรงงานข้ามชาติแต่ยังไม่ครอบคลุมในกลุ่ม DM รายใหม่ หรือมีระดับ A1C>= 7และกลุ่มสูงอายุที่ป่วยด้วย COPD และ Asthma -มีค่าใช้จ่ายการเอกซเรย์และใช้บุคคลในการดำเนินงานมากขึ้น ควรนำเรื่องเข้าที่ประชุม คปสอ. -สำรวจจำนวนกลุ่มเป้าหมายเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
4
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานควบคุมโรค ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประเด็น 1.การกำหนดกลุ่มเป้าหมายและแผนการคัดกรอง กลุ่มเป้าหมาย DM 23,460 HT 18,864 CVD 3155 -ดำเนินการใน ต.ค. 60 – ธ.ค. 60 - ยังคัดกรองไม่ครบ -ขยายเวลาดำเนินการดำเนินการถึงสิ้นเดือน ม.ค. 61 - เร่งรัดการคัดกรอง 2.ผลการคัดกรอง ผลการคัดกรอง DM HT CVD 3.แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -มีการกำหนดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเดือน ก.พ. 61 -การเฝ้าระวังภาระแทรกซ้อนทางไต เนื่องจากนาง รพ.สต. ไม่มีพยาบาลประจำ - ให้มีพยาบาลใน CUP ไปช่วยดำเนินการ
5
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา สูงดี สมวัย สมส่วน 1. มีแผนส่งเสริมปัญหาภาวะโภชนาการเด็กของอำเภอ 2.มี Project Manager ระดับอำเภอ 3 มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรครูศูนย์เด็กเล็ก ครูประถมศึกษา 4. มีข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย + วัยเรียน ทุก รร. และศูนย์เด็กเล็กทั้งหมด เป้าหมาย ร้อยละ 68 ภาพรวม ร้อยละ HDC ร้อยละ 67.8 ข้อมูลจากโปรแกรม HosXp กับ HDC ประเมินผลไม่เท่ากัน 1. ให้ใช้ข้อมูลจาก HDC เป็นหลัก 2.ทีม HDC จะคืนข้อมูลใน DATA Exchange
6
สรุปผลการนิเทศงานบูรณาการ รอบที่ 1 (4 ม. ค
สรุปผลการนิเทศงานบูรณาการ รอบที่ 1 (4 ม.ค.61) เครือข่ายสุขภาพอำเภอโพธิ์ทอง กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
7
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (HA) มีการพัฒนาตามข้อเสนอแนะของ สรพ. มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน รพ. มีการติดตามผลการทบทวนทุก 1 เดือน -รพ.โพธิ์ทอง เป็นขนาด 60 เตียงต้องผ่าน LA ของสภาเทคนิคด้วย ซึ่งได้รับการเยี่ยมประเมินแล้วเมื่อ 8 พ.ย. 60 ต้องแก้ไขภายใน 2 เดือน -ยังแก้ไขไม่เรียบร้อยต้องส่งภายใน 24 มค 61 -รพช.อื่น (แสวงหา ป่าโมก วิเศษ) ช่วยแก้ไข -ผอ.ช่วยกระตุ้นติดตาม
8
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา Home Ward มีการจัดทำข้อมูล ผู้ป่วยติดเตียงในภาพ CUP และข้อมูลอุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยไว้ยืมได้ -มีผู้รับผิดชอบระดับ CUP ในการประสานการส่งต่อมา รพ.โพธิ์ทอง คือกลุ่มงานเวชปฏิบัติ -ผู้ป่วยติดเตียงทุกคนมีผู้ดูแล -มีการจัดทำแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยที่เหมือนกันในภาพ CUP รวมทั้งมีการบันทึกการเยี่ยมผู้ป่วยตามแบบบันทึกทึ่กำหนด ข้อมูลผู้ป่วยยังไม่ได้แยกโรคและการจัดบริการ - การ D/C ผู้ป่วย - จัดทำข้อมูลแยกโรคตามที่แพทย์ Dx และวางแผนการจัดบริการตามแนวทางตามระยะของโรค เช่น SIMC PC LTC -การ D/C วางแผนติดต่อ รพ.สต. ตั้งแต่วันแรกที่ Admit รพ.สต. จะได้เตรียมบ้าน /อุปกรณ์
9
ผู้รับผิดชอบดำเนินการ
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา (ใครทำอะไร อย่างไร) ผู้รับผิดชอบดำเนินการ 1.งานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) ดำเนินการได้ตาม Small success ระดับผู้บริหารติดภารกิจมอบหมายผู้รับมาประชุมแทน -นำเสนอข้อมูลปัญหาที่พบในการดำเนินงานพชอ.ให้รายงานความก้าวหน้า หาแนวทางแก้ไขปัญหาและกำหนดผู้รับผิดชอบในที่ประชุม และสรุปรายงานการประขุมและนำเสนอกรรมการทราบทุกครั้ง คป.สอ.โพธิ์ทอง
10
ผู้รับผิดชอบดำเนินการ
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา (ใครทำอะไร อย่างไร) ผู้รับผิดชอบดำเนินการ 2.งานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(5ดาว5ดี) -กำหนดทีมในการพัฒนาคุณภาพ -ได้รับการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามเกณฑ์พัฒนากม.พัฒนาและประเมินผลระดับจังหวัด และระดับอำเภอ -อยู่ระหว่างการประเมินตนเอง และการวางแผนพัฒนาตามเกณฑ์ในพื้นที่ รพ.สต.เป้าหมายเสนอส่ง 5 แห่ง - อยู่ระหว่างการประเมินตนเอง -กำหนดวันถ่ายทอดเกณฑ์ รพ.สต.ติดาวถ่ายทอดสู่รพ.สต. -กำหนดส่งการประเมินตนเองของรพ.สต. และสรุปผลการประเมินตนเองภาพอำเภอ คปสอ.โพธิ์ทอง
11
3.งานพัฒนาพื้นที่ให้มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster:PCC)
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา (ใครทำอะไร อย่างไร) 3.งานพัฒนาพื้นที่ให้มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster:PCC) แผนพัฒนารพ.สต.เป้าหมายเตรียมความพร้อมทีมทีมสหวิชาชีพ 1 ทีม -อยู่ระหว่างดำเนินการ -กำหนดวันประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อ เตรียมวางตามกลยุทธ 3 S (Staff Service Structure)เพื่อเปิดปฏิบัติพื้นที่ PCCที่ สอน. เฉลิมพระเกียรติฯ -กำหนดวันเปิดดำเนินการ ภายในวันที่ 1 มีนาคม 2561
12
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค มีแผน และโครงการคุ้มครองผู้บริโภคที่จัดทำโดยโรงพยาบาลโพธิ์ทอง 1.การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการประสานงานภายในคปสอ.ไม่เป็นไปตามระบบที่เหมาะสมทำให้ การรายงานผลงานไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด 1. สสอ.ควรเป็นแกนนำในการทำแผน ติดตามการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ
13
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.)ขั้นที่ 2 ผ่าน RDU 2 (ระดับอำเภอ)ขั้นที่ 2 1.ข้อมูลรายงานจาก HDC และ HosXp ไม่ตรงกัน 1.ให้ใช้ข้อมูลจาก HDC ในการรายงาน 6 ตชว. ส่วนข้อมูลอีก14 ตชว.ให้ใช้ข้อมูลจาก HosXp 2.การวิเคราะห์ผลของ RDU 2 ผ่านURI 100% AD 100% แต่ใน HDC สรุปว่าผ่าน ทั้ง 2 โรค 94.12% 2.สสจ.ประสานการคิดผลงานกับ สบรส.
14
สรุปนิเทศงานระดับจังหวัด
รอบ 1 ปี 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง
15
แผนการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital
1. กำหนดนโยบาย ปี 2561 จากระดับดี เป็นระดับดีมาก 2. ปรับปรุงระบบน้ำเสีย และส่งตรวจ 3 ครั้ง 3. นำน้ำประปา ส่งตรวจ 2 ครั้ง 4. ปรับปรุงส้วม 5. จัดทำระบบกำจัดขยะอินทรีย์ 6. จัดทำนวตกรรมสวนแขวน 7. นำเรื่องนวตกรรมเข้าที่ปะชุม คปสอ. 8. ตรวจโรงอาหาร ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ใน รพ.
16
ผลการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital
กำจัดศัตรูพืช
17
ปัญหาอุปสรรค GREEN & CLEAN Hospital
1. น้ำเสียยังไม่ผ่านเกณฑ์ แนวทางแก้ไข 1. ปรึกษานักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม 2. ลอกบ่อบำบัด และเอาผักตบชวาออก 3. ร่างแบบแปลนปรับปรุงระบบบ่อบำบัดใหม่ 4. ประสานงานขอความช่วยเหลือจากศูนย์อนามัย ที่ 4 เข้ามาตรวจแนะนำ
18
แผนการดำเนินงานส้วมมาตรฐาน
1. ปรับปรุงส้วม รพ.สต.ให้ผ่านเกณฑ์ส้วมสะอาดทุกแห่ง 2. ระหว่างดำเนินการก่อสร้างส้วมผู้สูงอายุผู้พิการ ผลการดำเนินงาน ส้วม รพ.สต. มีพัดลมและพัดลมดูดอากาศครบทุกแห่ง ปัญหาอุปสรรค 1. รพ.สต. ยังไม่สามารถแยกส้วมชาย หญิง เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ HAS ได้ครบทุกแห่ง 2. ยังไม่มีผู้ประมูลเพื่อก่อสร้างส้วมผู้สูงอายุผู้พิการ
19
แผนการดำเนินงานประหยัดพลังงาน
1. คณะกรรมการตรวจติดตามมาตรการประหยัดพลังงาน ทุกหน่วยงาน 2. วางแผนจัดอบรม จนท. เดือน มกราคม 2561 3. แก้ไขพื้นที่ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่พบข้อบกพร่อง 4. ติดตามประเมินผล
20
ค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 19902.39 บาท เปรียบเทียบการใช้
ผลการดำเนินงาน ค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้น บาท เปรียบเทียบการใช้ ระยะเวลา 3 เดือนแรก ปี2560 และ ปี2561 ปัญหาอุปสรรค 1. ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น เช่น เครื่องปรับอากาศ 2. มีจำนวนการใช้ห้องประชุมโดยหน่วยงานภายนอก มากขึ้น 3. มีการปรับปรุงอาคาร สิ่งก่อสร้างภายใน รพ. เช่น ห้องน้ำ
21
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา การดำเนินการงานถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคลของหน่วยงาน -กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัดที่ขัดเจน โรงพยาบาล -นำตัวชี้วัดของ ผอ. เป็นตัวตั้ง และแตกกิจกรรมให้กับ หัวหน้ากลุ่มงานที่รับผิดชอบ หัวหน้ากลุ่มงานไปมอบหมายตัวชี้วัดให้ผู้ปฏิบัติต่อตามหน้าที่ความรับผิดชอบ สสอ. -มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดให้กับทุกคนและรวมกลุ่มกันกำหนดตัวชี้วัด
22
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
(แผนยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาลGovernance Excellence) โครงการที่ ๑๓ การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบปัญหาวิกฤตทางการเงิน
23
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพโครงการที่ ๑๓ การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1การบริหารแผนทางการเงินและการกำกับติดตาม 1.1การจัดทำแผนทางการเงิน (แผนเกินดุล /ขาดดุล/สมดุลจำนวน ) การทำแผนทางการเงิน ครบถ้วน 7 แผน ผ่านการอนุมัติจากนพ.สสจ.และผู้ตรวจราชการตามกำหนดเวลา 1.การทำแผน planfin รายได้(ไม่รวมงบลงทุน) จำนวน 120,089,917 บาท ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อม) จำนวน 120,089,917 บาท ทำแผนแบบ..สมดุล EBITDA = 0 ทำแผนลงทุนด้วยเงินบำรุง 710,200 บาท เปรียบเทียบ EBITDA>20% NI = 0 มีงบลงทุน = …2,540, (งบค่าเสื่อม = บาท (เงินบำรุง 710,200 บาท) งบประมาณ 2.แผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จำนวน 18,509,031.12บาท 3.แผนจัดซื้อวัสดุอื่น จำนวน 3,609,000 บาท 4.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ จำนวน 40,000,000 บาท 5.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ จำนวน 44,340,000 บาท 6.แผนงบลงทุน จำนวน 2,540,000 บาท 7.แผนสนับสนุนรพสต.จำนวน 6,128,225 บาท 1.ทำแผนรายได้(ไม่รวมงบลงทุน)ในภาพรวมลดลง2,242, (1.83%) เนื่องจากรายได้ UC ลดลง 2.ลงทุนด้วยเงินบำรุงเกิน Ebitda ด้านรายได้ -มาตรการมาตรการเพิ่มรายได้ -มีผู้รับผิดชอบในเรื่องการจัดเก็บรายได้ (หัวหน้าฝ่ายและงานประกัน) ด้านค่าใช้จ่าย -มาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย (หัวหน้าฝ่ายและงานประกัน) -แผนจัดซื้อมีผู้รับผิดชอบ(หน่วยจัดซื้อ)และควบคุมกำกับและรายงานโดยฝ่ายบริหาร) -แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้มีผู้รับผิดชอบ(ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการบริหารรพ.) -แผนบริหารจัดการลูกหนี้ ผู้รับผิดชอบ(งานประกัน,ตึกผู้ป่วย,เวชระเบียน,บริหาร)มีการตรวจสอบข้อมูลก่อนบันทึกบัญชี -แผนงบลงทุนมีผู้รับผิดชอบดำเนินการตามแผน(ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการบริหารรพ.) -แผนสนับสนุนรพสต.มีผู้รับผิดชอบ(คณะกรรมการบริหารรพ.และคปสอ) 2.ผลการดำเนินงานตามPlanfin ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 เดือนพย 60 ด้านรายได้ มากกว่า 8,704, บาท (ร้อยละ 42.03) ด้านรายจ่าย น้อยกว่าแผน -1,089, บาท (ร้อยละ-5.06) -รายได้ uc เป็นการจัดสรรล่วงหน้า 6 เดือน -ยังมีบางรายการที่ดำเนินการในไตรมาส 1 มากกว่าแผน วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ (27.78)เนื่องจากเป็นช่วงของการคัดกรอง -วัสดุทันตกรรมมากกว่าแผน (18.99) มีผู้ป่วยมารับบริการเพิ่ม -กำกับให้มีการดำเนินงานตามแผนโดยผู้รับผิดชอบ
24
การบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลังสุขภาพ
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) ไตรมาส 4/60 ผ่าน ตัว ไม่ผ่าน ตัว 1ประสิทธิภาพในการทำกำไร (เกณฑ์มากกว่าหรือเท่ากับค่ากลางตามระดับกลุ่มรพ. ค่ากลาง -1.76 ผล -3.28 2.ระยะเวลาชำระหนี้ ผล วัน (cash =1.18)เกณฑ์ชำระไม่เกิน 90 วัน ไม่ผ่านเกณฑ์ 2 ตัว ประสิทธิภาพในการทำกำไร ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ เกณฑ์การประเมิน -การชำระเจ้าหนี้การค้า (Cash >0.80 ชำระไม่เกิน 90 วัน Cash<0.80 ชำระไม่เกิน 180 วัน) -การเก็บหนี้ Uc (เรียกเก็บ) -การเก็บหนี้ สิทธิข้าราชการ ไม่เกิน 60 วัน -การเก็บหนี้สิทธิประกันสังคมไม่เกิน 60 วัน -การบริหารสินค้าคงคลังไม่เกิน 60 วัน (ยา วัสดุเภสัชกรรม วัสดุการแพทย์ทั่วไป วัสดุวิทยาศาสตร์ วัสดุทันตกรรม วัสดุเอกซเรย์) แนวทางการแก้ไข/การดำเนินการปี61 -จัดทำแผนบริหารเจ้าหนี้ -มีแผนการจัดซื้อและดำเนินการตามแผน -มีการจัดทำรายงานเจ้าหนี้เป็นปัจจุบันตามนโยบาย -การเรียกเก็บหนี้แต่ละประเภทมีผู้รับผิดชอบและกำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน
25
การบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลังสุขภาพ
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 4..คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ประกอบด้วย 4กิจกรรม กิจกรรมการควบคุมภายใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง การบริหารต้นทุน ไตรมาส 4 /60 คะแนนการประเมิน FAI ได้ร้อยละ 96 -กิจกรรมควบคุมภายในได้ 4 คะแนน การดำเนินงานเรื่องการควบคุมภายในไม่ส่งรายงานการประเมินแบบ 5 มิติภายในกำหนดเวลา มีผู้รับผิดชอบในการกำกับติดตามตามเกณฑ์ที่กำหนด
26
สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานประกันสุขภาพ ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม -มีการกำหนดเป้าหมายและมาตรการเพิ่มรายได้ 3 กิจกรรม 1. Fitness เพิ่มขึ้นจากปี ,000 บาท 2. กายภาพ เพิ่มขึ้นจากปี ,080,000 บาท 3. แพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้นจากปี ,020,000 บาท -สำหรับกิจกรรมที่ไม่เพิ่มเป้าหมายคือ ทันตกรรมและห้องพิเศษ -ภาพรวมเป้าหมายเพิ่มรายได้ คือ 2,820,000 บาท/ ปี เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ พบปัญหาเรื่องกิจกรรมทันตกรรม ยังมีมาตรการไม่ชัดเจน และรายได้ไม่เพิ่มขึ้น อยู่ระหว่างการกำหนดมาตรการร่วมกันระหว่าง ผอ. กลุ่มงานทันตกรรม และผู้ที่เกี่ยวข้อง
27
ประเด็น/ตัวชี้วัดคุณภาพ การดำเนินงานที่มุ่งตรวจสอบ
1. การดูแลโปรแกรมบันทึกข้อมูลสุขภาพ(HOSxP, HOMC) ผลการดำเนินงาน : รพ.โพธิ์ทอง ได้ดำเนินงานเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยงบค่าเสื่อม จำนวน 14 เครื่อง ส่วน รพ.สต. มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงพอต่อการใช้งาน และมีสภาพที่ทันสมัย และมีการสำรองข้อมูลอย่างต่อเนื่องทุกวัน 2. การดำเนินงานในบทบาทคณะกรรมการคุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ ผลการดำเนินงาน : มีแผนการดำเนินงาน มีการทบทวนคำสั่งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพข้อมูล และจัดประชุมคณะทำงานพัฒนาข้อมูลข่าวสารอำเภอโพธิ์ทอง เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2560 และจะชี้แจงการพัฒนาคุณภาพข้อมูลตามตัวชี้วัดคุณภาพข้อมูลของ ผอ. และ สสอ. ในครั้งต่อไป
28
ประเด็น/ตัวชี้วัดคุณภาพ การดำเนินงานที่มุ่งตรวจสอบ
3. คุณภาพข้อมูลตามตัวชี้วัดการตรวจราชการ - ข้อมูลสาเหตุการตายที่ไม่ทราบสาเหตุ ( ill-defined error) ผลการดำเนินงาน : ประชุมชี้แจงองค์กรแพทย์ผ่านคณะกรรมการสารสนเทศและเวชระเบียนของโรงพยาบาล และชี้แจงผ่านการประชุม คปสอ. และผสานกับ ที่ว่าการอำเภอเรื่องการระบุสาเหตุการตาย ในใบ มรณบัตร ill error ตายนอกสถานพยาบาล 95.65% ill error ตายในสถานพยาบาล % ปัญหา : 1. ข้อมูลการตายในแต่ละเดือนล่าช้า ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันเวลา 2. กรณีสาเหตุที่ไม่ชัดเจนที่ตายจากนอกสถานพยาบาล แพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สามารถกำหนดรหัสสาเหตุการตายได้ เพราะรหัสสาเหตุการตายในใบมรณบัตร มาจากระทรวงมหาดไทย
29
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.