งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
ประชุมคณะอนุกรรมการ รวบรวม ติดตาม วิเคราะห์ข้อมูลน้ำและภูมิอากาศ ครั้งที่ 1/2560 วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

2 ระเบียบวาระการประชุม
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 3/2559 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน 9 ด้าน วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา (เร่งด่วน) 4.1 ติดตามความก้าวหน้าโครงการภายใต้แผนแม่บทการพัฒนาระบบข้อมูล สนับสนุนการตัดสินใจ เพื่อเสนอต่อสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) 2

3 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
3

4 วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 3/2559
(ระเบียบวาระการประชุมหน้า 2 – 18) 4

5 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ (ระเบียบวาระการประชุมหน้า 19 – 39) 5

6 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน 9 ด้าน
วาระที่ 3.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน 9 ด้าน (ระเบียบวาระการประชุมหน้า 19 – 39 และเอกสารประกอบ) 6

7 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบูรณาการฐานข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ ตามคำสั่ง นรม. ที่ 189/2558
7

8 อำนาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการฯ ตามคำสั่งคณะกรรมการบูรณาการฐานข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ ที่ 1/2558

9 การใช้ข้อมูล 9 ด้าน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในประเทศ
ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ คณะกรรมการบูรณาการฐานข้อมูล น้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ คณะอนุกรรมการวิเคราะห์ติดตามสถานการณ์และแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำ ประธาน: รมว.วท. เลขาฯ: สสนก., สรอ. ประธาน: รมว.มท เลขาฯ: ปภ. ข้อมูล 9 ด้าน เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการน้ำ รายงานวิเคราะห์ ฉบับกลาง Data Warehouse High Performance Computers รวบรวมและวิเคราะห์ความพอเพียงของข้อมูล รายงานวิเคราะห์ข้อมูล 9 ด้าน ประกาศสถานการณ์ แจ้งเตือนภัย บริหารจัดการในภาวะปกติ บริหารจัดการในภาวะวิกฤต 34 หน่วยงานรัฐบาล Distributed functions, Integrated use 1 การคาดการณ์ลักษณะอากาศ พื้นที่ในเขตชลประทาน 2 3 พื้นที่นอกเขตชลประทาน 4 น้ำอุปโภค บริโภค อุตสาหกรรม 5 ระบบนิเวศและคุณภาพน้ำ 6 การบริหารจัดการภัยพิบัติ 7 น้ำเพื่อการผลิตพลังงานไฟฟ้า 8 การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ/สังคม 9 โครงสร้างพื้นฐานระบบข้อมูล 9

10 ด้านที่ 1 การคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
10

11 ด้านที่ 2 การบริหารจัดการน้ำพื้นที่ในเขตชลประทาน
11

12 ด้านที่ 3 การบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่นอกเขตชลประทาน
12

13 ด้านที่ 3 การบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่นอกเขตชลประทาน (ต่อ)
13

14 ด้านที่ 4 การบริหารจัดการน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และอุตสาหกรรม
14

15 ด้านที่ 5 การรักษาระบบนิเวศและคุณภาพน้ำ
15

16 ด้านที่ 6 การเตือนภัยและบริหารจัดการภัยพิบัติ
16

17 ด้านที่ 7 ปริมาณน้ำเพื่อการผลิตพลังงานไฟฟ้า
17

18 ด้านที่ 8 กรอบการวางแผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม
18

19 ด้านที่ 9 ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบข้อมูล
19

20 การดำเนินงานเมื่อแต่งตั้งคณะทำงานทั้ง 9 ด้าน
การดำเนินงานเมื่อแต่งตั้งคณะทำงานทั้ง 9 ด้าน หน้าที่ของหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เรื่องพัฒนาการใช้ข้อมูล 9 ด้าน รวบรวมและจัดทำบัญชีข้อมูล และระบบวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุน PMOC และ คณะกรรมการ ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ฉบับกลาง (Single report) ประสานกับ สสนก. ในการออกแบบและจัดทำระบบรายงานข้อวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ ในแต่ละด้าน วิเคราะห์ ความเชื่อมโยง ความพอเพียงของข้อมูลและระบบวิเคราะห์ 20

21 ประเด็นเสนอที่ประชุม
เพื่อทราบ 21

22 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา (เร่งด่วน)
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา (เร่งด่วน) (ระเบียบวาระการประชุมหน้า 40 – 43) 22

23 (ระเบียบวาระการประชุมหน้า 40 – 43 และเอกสารประกอบ)
วาระที่ 4.1 ติดตามความก้าวหน้าโครงการภายใต้แผนแม่บท การพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ เพื่อเสนอต่อสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (ระเบียบวาระการประชุมหน้า 40 – 43 และเอกสารประกอบ) 23

24 หนังสือ สบน. ด่วนที่สุด ที่ กค 0909/ว40 ลงวันที่ 9 มี.ค. 2560
กรณีที่ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันแล้ว หรือเป็นงานที่ดำเนินการเอง ขอให้แจ้งยืนยันมายัง สบน. และขอให้เร่งรัดการดำเนินโครงการและการเบิกจ่ายเงินให้แล้วเสร็จโดยเร็ว พร้อมทั้งรายงานผลการดำเนินงานและจัดทำประมาณการเบิกจ่ายเงินกู้เป็นรายเดือนให้สอดคล้องกับความต้องการเบิกจ่ายเงินกู้ กรณีที่ยังไม่ดำเนินการก่อหนี้ผูกพัน ขอให้เร่งดำเนินการก่อนหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม 2560 พร้อมทั้งจัดส่งเอกสารหลักฐานการก่อหนี้ผูกพันมายัง สบน. ทั้งนี้ หากไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันได้ทันภายในกำหนดเวลา เห็นควรให้ใช้เงินจากแหล่งอื่นเพื่อดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จต่อไป จัดส่งข้อมูลภายในวันที่ 3 เมษายน 2560 เพื่อให้ สบน. ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป 24

25 สรุปความก้าวหน้าโครงการเงินกู้ ฯ
ลำดับ หน่วยงานผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการ จำนวนโครงการ จำนวนโครงการแล้วเสร็จ กรอบวงเงินอนุมัติ กรอบวงเงินจัดสรร ก่อหนี้แล้ว % งบประมาณ ในทุกงบรายจ่าย ที่ไม่สามารถดำเนินการได้ ภายในวันที่ 31 มี.ค. 60 กรณีดำเนินการเอง กรณีจัดซื้อ จัดจ้าง 1 กรมชลประทาน - 1,571.07 1, 64.02 2 กรมทรัพยากรน้ำ 6 115.00 100.00 3 กรมอุตุนิยมวิทยา 258.01 17.83 4 สสนก. 421.95 20.62 5 กรมควบคุมมลพิษ 25.00 98.00 สทอภ. 94.90 79.37 2.8000 7 กรมแผนที่ทหาร 621.47 25.88 8 กรมโยธาธิการและผังเมือง 13.46 9 กรมทรัพยากรธรณี 5.00 5.0000 4.7800 95.60 10 กรมทรัพยากรน้ำบาดาล 15.00 99.93 11 ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ 63.24 12 สำนักงานสถิติแห่งชาติ 711.45 7.52 13 สวทช. 6.50 6.3200 2.8130 44.51 3.5070 รวมโครงการที่ใช้งบเงินกู้ 28 3,922.05 3,722.12 1,507.03 1, 2, โครงการเงินกู้ฯ ที่ไม่สามารถดำเนินการก่อหนี้ภายในวันที่ 31 มี.ค. 60 มีจำนวน 24 โครงการ (จาก 28 โครงการ) 25

26 ประเด็นเสนอที่ประชุม
เพื่อพิจารณายืนยันความถูกต้องของตารางแบบฟอร์มพิจารณารายการก่อหนี้ผูกพัน เพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการสำหรับโครงการที่ ไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันได้ทันภายในวันที่ 31 มีนาคม 2560 ** เพื่อให้ภาพรวมของแผนแม่บทฯ ครบถ้วน ขอให้หน่วยงานที่มีโครงการอยู่ภายใต้แผนแม่บทฯ กรณีไม่ใช้งบเงินกู้ กรุณายืนยันความก้าวหน้าโครงการ โดยส่งมายังฝ่ายเลขานุการฯด้วย ** 26

27 วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)
วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) 27

28 ดาวน์โหลดเอกสารทั้งหมดได้ที่
SubCommittee-PMOC/ meeting1-2560/

29 BACKUP SLIDES 29

30 กรอบแนวคิดแผนแม่บทการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
หน่วยงานปฏิบัติงานและใช้ข้อมูล อต. ชป. ทน. กฟผ. ประปา วท. โยธา กองทัพเรือ กทม. ศภช. ปภ. อปท. สภาพัฒน์ สงป. มหาวิทยาลัย/สถาบันวิจัย N C D ปกติ วิกฤต พัฒนา/อนุรักษ์/ซ่อมบำรุง กำหนดแผนการบริหารจัดการน้ำ เตือนภัย และบริหารสถานการณ์ กำหนดทิศทางการพัฒนา เพื่อสร้างความมั่นคง วิเคราะห์และคาดการณ์ ประเมินความเสี่ยง และแนวโน้มในอนาคต ติดตามและเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อเท็จจริง และสภาพปัญหา I โครงสร้างพื้นฐาน คลังข้อมูลน้ำ อุตุนิยมวิทยา ดัชนีชี้วัด เครื่องมือ การวิเคราะห์เบื้องต้น อุทกวิทยา สังคม เศรษฐกิจ/การลงทุน/โครงการ แผนที่ฐาน สาธารณูปโภค ภัยพิบัติ มาตรฐาน/กฎ ระเบียบ/เกณฑ์ ชั้นข้อมูลแผนที่ 30

31 แผนที่นำทางด้านระบบ (System Roadmap)
เดือนที่ 3-6 ปีที่ 1 (2559) ปีที่ 2 (2560) ปีที่ 3 (2561) ระบบตัดสินใจ/สั่งการ สถานการณ์จำลอง Data Mart สถานการณ์จำลอง สถานการณ์จำลองบนระบบ BI&DSS ระบบ BI และ DSS ระบบรายงานสถานการณ์อุทกภัยด้านคมนาคม ระบบ CCTV ในลุ่มเจ้าพระยา Warroom ประสานเครือข่ายเตือนภัย ระบบแจ้งเตือนปฏิบัติการกู้ภัย ระบบเฝ้าระวังภัยผ่าน CCTV ระบบแจ้งเตือนปฏิบัติการกู้ภัย Rescue Alert ระบบ E-Stock คลังข้อมูลสาธารณภัย ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำด้านคมนาคมแบบบูรณาการ ระบบจัดการภัย ศูนย์ปฏิบัติการของหน่วยงานต่างๆ เว็บไซต์ข้อมูลของแต่ละหน่วยงาน ระบบ CCTV ในลุ่มเจ้าพระยา Media Box ระบบประมวลผลรายงานเข้าสู่ DSS ศูนย์เฝ้าระวังน้ำท่วม กทม. ระบบติดตามสถานการณ์น้ำบาดาล ระบบติดตาม วิเคราะห์และรายงานสถานการณ์น้ำ ระบบการวิเคราะห์/ติดตามสถานการณ์ ระบบรายงานสถานการณ์น้ำรายวัน/สัปดาห์ Warroom อุตุฯ, ทน., ปภ. ระบบพยากรณ์อากาศระยะสั้น ระยะปานกลาง แบบจำลองความเสี่ยงน้ำท่วมน้ำแล้ง ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (เจ้าพระยา,ชี,มูล) ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ์ระยะสั้น ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (ภาคตะวันออก) เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์อากาศระยะปานกลาง ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (ภาคใต้) ระบบคาดการณ์คุณภาพน้ำ (เจ้าพระยา,ท่าจีน) แบบจำลองน้ำท่วม 3 มิติ (เจ้าพระยาตอนล่าง) เพิ่มประสิทธิภาพระบบวิเคราะห์สมดุลน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์อากาศระยะยาว ระบบบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำและระบบชลประทาน ระบบแบบจำลองสมดุลน้ำ 25 ลุ่มน้ำ ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (ครบทั้งประเทศ) แบบจำลองคุณภาพน้ำ (มูล,ชี) ระบบแบบจำลอง ระบบเชื่อมโยงข้อมูล 13 หน่วยงาน เว็บไซต์คลังข้อมูลน้ำ NHC Mobile Application ระบบให้บริการข้อมูล ระยะที่ 1 Mobile Data Center ระบบเชื่อมโยงข้อมูล 32 หน่วยงาน Data Warehouse ระบบให้บริการข้อมูลทุกรูปแบบ (อุปกรณ์เคลื่อนที่, เว็บไซต์, เครือข่ายการเชื่อมโยงข้อมูล) เพิ่มประสิทธิภาพการแสดงผล และบำรุงรักษา ระบบคลังข้อมูลน้ำ โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า 1,218 สถานี โทรมาตรฝน 2,548 สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ 116 สถานี เรดาร์อากาศ 14 สถานี โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า 1,668 สถานี โทรมาตรฝน 2,548 สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ 132 สถานี เรดาร์อากาศ 28 สถานี โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า 1,916 สถานี โทรมาตรฝน 3,352 สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ 132 สถานี เรดาร์อากาศ 28 สถานี ระบบประเมินปริมาณน้ำฝนและพยากรณ์ฝนล่วงหน้า โดยใช้ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ ประยุกต์ใช้ข้อมูลฝนจากดาวเทียมแบบ near real time เพื่อการคาดการณ์น้ำท่วม โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า 2,082 สถานี โทรมาตรฝน 3,352 สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ 132 สถานี เรดาร์อากาศ 28 สถานี เครื่องมือสำรวจปริมาณน้ำอัตโนมัติ 238 ตัว ระบบตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อนระยะไกล ระบบตรวจวัด ระบบแผนที่ โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS จำนวน 17 สถานี (มีสถานีรังวัด GPS 9 สถานี) Thailand Geoid Model WMS ของแต่ละหน่วยงาน โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS 17 สถานี ระบบ WMS ท้องถิ่น 90 แห่ง โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS 128 สถานี ระบบจัดเก็บและบริการข้อมูล (ผท.) ระบบ WMS ท้องถิ่น 110 แห่ง แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน จากการใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกล โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS 222 สถานี ทั่วประเทศ (เสร็จปี สถานี) Thailand Geoid Model ความละเอียดสูง ระบบ WMS กลาง ระบบ WMS ท้องถิ่น แห่ง ระบบองค์ความรู้ Wiki ด้านน้ำ และข้อมูลพื้นฐาน 25 ลุ่มน้ำ การใช้ข้อมูลเพื่อจัดการภัย ระบบข้อมูลกฎหมายด้านน้ำ ระบบการจัดการองค์ความรู้ (KM) ระบบงานวิจัย คาดการณ์ฝนระยะปานกลาง และระยะยาว Center of Excellence on Water Management Systems มาตรฐานสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบภัย มาตรฐานการวิเคราะห์/ประเมินภัย(SOPs) ระบบพยากรณ์/จำลองสถานการณ์การรุกล้ำของน้ำเค็มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง 31 31

32 แผนที่นำทางด้านข้อมูล (Data Roadmap)
เดือนที่ 3-6 ปีที่ 1-3 ( ) ปีที่ 5 >5 ปี ข้อมูลอุทก-เขื่อน-คุณภาพน้ำ ของหน่วยงาน เชื่อมโยงข้อมูล 13 หน่วย เชื่อมโยงข้อมูล 32 หน่วยงาน ข้อมูลอุทก-เขื่อน-คุณภาพน้ำ (Real-time) ทั่วประเทศ ข้อมูลการใช้น้ำอุปโภค ข้อมูลตรงจากสาธารณชน (Crowdsourcing) ข้อมูลอัตราการไหลของแม่น้ำสายสำคัญ ข้อมูลแหล่งน้ำชุมชน ข้อมูลการใช้น้ำอุปโภค (Real-time) ข้อมูลแหล่งน้ำทั่วประเทศครบถ้วน วัฏจักรน้ำ (Hydrological cycle) ข้อมูลน้ำ ภาพเรดาร์ ข้อมูลพยากรณ์ฝนระยะสั้น ข้อมูลวิเคราะห์ของหน่วยงาน ข้อมูลวิเคราะห์จากต่างประเทศ ข้อมูลสภาพอากาศ (Real-time) ทั่วประเทศ ข้อมูลตรงจากสาธารณชน (Crowdsourcing) ข้อมูลพยากรณ์ฝนระยะสั้นและระยะปานกลาง และระยะยาว พยากรณ์เส้นทางเดินพายุ ข้อมูลพยากรณ์ฝนระยะสั้นและยาว รายละเอียดสูง ข้อมูลเรดาร์ฝนเพื่อการพยากรณ์น้ำ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (climate change) ข้อมูลสภาพอากาศ โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS จำนวน 6 สถานี (มีสถานีรังวัด GPS 9 สถานี) สถานี GNSS ทั่วประเทศ ข้อมูล DEM +/-20 ซม. พื้นที่น้ำท่วม ข้อมูล DEM +/-20 ซม. ทั่วประเทศ ข้อมูล DEM +/-๕ ซม. ในเขตเมือง ข้อมูล DEM +/-๑๐ ซม. พื้นที่เกษตร แผนที่ฐาน แผนที่ทางกายภาพผังเมือง ๑:๕๐๐๐๐ แผนที่ทางกายภาพผังเมือง 1:4,000 ข้อมูลระดับความสูงถนน+คันกั้นน้ำ Lidar DEM พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ทั่วประเทศ แผนที่น้ำหลาก-ความเสี่ยง แผนที่ทางกายภาพผังเมือง 1:1,000 ในพื้นที่เมือง แผนที่น้ำหลาก-ความเสี่ยงทั่วประเทศ แผนที่ทางกายภาพผังเมือง 1:1,000 ทั่วประเทศ แผนที่ชั้นข้อมูล คลังข้อมูลภัย คลังข้อมูลภัย E-Stock SOPs ภัยพิบัติ ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่ด้านเศรษฐกิจ-สังคม ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ - Volume of consumption - Consumption pattern Growth conditions Water use efficiency Water footprint ดัชนีชี้วัด เศรษฐกิจ/การลงทุน /โครงการ ข้อมูลโครงการด้านน้ำ ตามหน่วยงาน ข้อมูลโครงการด้านน้ำ ทั่วประเทศ ข้อมูลการประเมินผลโครงการด้านน้ำ เครื่องมือ ข้อมูลของหน่วยงาน ข้อมูลเครื่องมือ อุปกรณ์ มาตรฐาน/ กฎ ระเบียบ/เกณฑ์ กฏหมาย กฏหมายด้านน้ำ ค่าผิวระดับอ้างอิงของประเทศจาก Geoid model มาตรฐานอุปกรณ์โทรมาตร 32

33 ระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ เพื่อการบริหารจัดการน้ำของประเทศ
พัฒนาต่อยอดการวิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลด้านการจัดการน้ำ เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน “ข้อมูล” จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ใช้งานระบบข้อมูลร่วมกัน ติดตาม เฝ้าระวัง วิเคราะห์ และคาดการณ์สถานการณ์น้ำ บริหารจัดการน้ำทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต อย่างมีเอกภาพ คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ 33

34 การเชื่อมโยงฐานข้อมูลน้ำและภูมิอากาศเข้าสู่ระบบรายงานของ PMOC
ศูนย์ปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี (PMOC) 1 สถานะการเชื่อมโยงข้อมูล 2 รายงานสถานการณ์น้ำ ปริมาณข้อมูล ความครบถ้วน และสถานะอัพเดท ภาพรวมสถานการณ์ เช่น ท่วม แล้ง พายุ เป็น PDF file คลาวด์ภาครัฐ back office 3 Archive ค้นหาข้อมูลย้อนหลังโดยวิธี tag search 4 ข้อมูลน้ำ 5 สถานะโครงการด้านข้อมูลน้ำ ข้อมูลฝน ระดับน้ำ ปริมาณน้ำในเขื่อน ฯลฯ สรุปความก้าวหน้ารายเดือน (แผนการทำงาน เป้าหมาย และผลที่ได้) PMOC ฐานข้อมูล น้ำและภูมิอากาศ back office 34


ดาวน์โหลด ppt วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google