ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล
2
การจ่ายเงินงบประมาณ (รัฐธรรมนูญ 50 ม.169)
การจ่ายเงินงบประมาณ (รัฐธรรมนูญ 50 ม.169) กฏหมาย กระทรวงการคลัง ระเบียบ มติ ครม. ข้อบังคับ คำสั่ง
3
ประเภทของเงินราชการ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน
เงินนอกราชการ เงินนอกระบบ
4
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีแล้ว ต้องได้รับเงินประจำงวดแล้ว มีข้อผูกพันหรือมีความจำเป็นต้องจ่ายให้เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ หนี้ต้องถึงกำหนดหรือใกล้ถึงกำหนดต้องจ่าย
5
การจำแนกงบประมาณรายจ่าย
มี 2 ลักษณะ รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ รายจ่ายงบกลาง
6
รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น แต่ละงบสามารถโอนเปลี่ยนแปลงได้
7
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน
กระทรวงการคลัง
8
โครงการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการควบคุมภายใน
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 ตามระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ รวมทั้งพนักงานราชการมีสิทธิตาม ร.สำนักนายกฯว่าด้วยพนักงานราชการ ผู้มีสิทธิ เงื่อนไขการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกตินอกเวลาราชการ ในที่ตั้งสำนักงาน ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจก่อนโดยพิจารณา ช่วงจำเป็น และคำนึงถึงความเหมาะสมและ สอดคล้องกับระบบและวิธีการจัดการ งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ กรณีเร่งด่วนต้องปฏิบัติงานนอกเวลา โดย ยังไม่ได้รับอนุมัติให้รีบขออนุมัติโดยไม่ชักช้า และให้แจ้งเหตุผลความจำเป็นที่ไม่อาจขอ อนุมัติก่อนได้ ปฏิบัติงานนอกเวลานอกผลัด/กะ จากเงิน งปม. ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณ มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนฯ ตามระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้นำหลักเกณฑ์และอัตราเงินตอบแทนตามระเบียบนี้มาใช้โดยอนุโลม พนักงานราชการมีสิทธิได้รับเงินตอบแทนฯ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ และประกาศคณะกรรมการ บริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ (ฉบับที่ 3) พนักงานราชการ ผู้รับจ้างเหมาบริการ(ตามเงื่อนไขสัญญา) สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
9
หลักเกณฑ์ ข้าราชการผู้ได้รับคำสั่งให้เดินทาง ไปราชการไม่มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนนอกเวลา ราชการ เว้นแต่ ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอก เวลาราชการก่อนการเดินทาง เมื่อการเดินทางไป ราชการนั้นเสร็จสิ้นหรือเสร็จสิ้นการฝึกอบรมในแต่ ละวันกลับถึงสำนักงานในวันเดียวกัน ให้เบิกค่าตอบ แทนได้
10
การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจ้างส่วนราชการ
สำหรับลูกจ้างชั่วคราว ที่ได้รับค่าจ้างจากเงินบำรุง สามารถเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด แต่ ต้องเบิกจ่ายจากเงินบำรุง
11
การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง
กระทรวงการคลังอนุมัติให้ สป. เบิกจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติ งานนอกเวลาราชการให้เจ้าที่ที่ออกปฏิบัติงานตามภารกิจที่ รับผิดชอบนอกที่ตั้งสำนักงานได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตรา ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ และปรับปรุง แก้ไขปี 2550 ตั้งแต่ปี งบประมาณ พ.ศ เป็นต้นไป (ตามหนังสือ กค /29071 ว.18 ตค.48 (ยกเลิก) ตาม กค /29486 ลว. 1 ตค.53)
12
การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง
งานภารกิจที่รับผิดชอบซึ่งเป็นงาน งานส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน เช่น งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ออกตรวจสถานพยาบาล สถานบริการและพนักงานบริการ สถานประกอบการร้านค้า สถานประกอบธุรกิจบริการสุขภาพ ร้านยา ร้านอาหาร ตลาดสด แผงลอยที่มีจำนวนมาก สถานที่ผลิต นำเข้า จำหน่าย และการมีไว้ครอบครองอาหาร ยา เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย วัตถุเสพติด
13
การตรวจสถานประกอบการที่มีผู้ร้องเรียน กรณีโฆษณาผลิต
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การใช้เครื่องมือเกินจริง การปฏิบัติงานร่วมกับจนท.ตำรวจหรือสนับสนุนการปฏิบัติ งานกับหน่วยอื่นด้านการปราบปรามยาเสพติด ออกรถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ภายในเขตใกล้เคียงกับสถานที่ ตั้งสำนักงาน รวมทั้งงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสธ.
14
2. การปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพและควบคุมโรค
ออกตรวจแหล่งแพร่เชื้อในสถานบันเทิงต่างๆ ออกตรวจสารตกค้างในอาหารที่ตลาดสด การอยู่ร่วมกับด่านตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์และสารเสพติด การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ภายในเขตใกล้เคียงกับสถาน ที่ตั้งสำนักงาน การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยหลังเวลาราชการ หรือ ออกประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ภายในเขตใกล้เยงกับสถานที่ งานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ควบคุม และป้องกันโรค ซึ่งจำเป็นต้องออกไปปฏิบัติงานนอกที่ตั้งสำนักงาน
15
อัตราการจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ตามข้อหารือการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานนอกเวลา ที่ สธ /20810 ลว. 19 ธันวาคม 2551 อัตราการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้พิจารณาตามคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติงานในหน้าที่ใด
16
เบิกไม่ได้ การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการไม่เต็ม จำนวนชั่วโมง
อยู่เวรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการ รักษาความปลอดภัยแห่งชาติหรือตามระเบียบหรือคำสั่งที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการ การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการไม่เต็ม จำนวนชั่วโมง
17
ที่ กค0406.4/ว.18 ลว 27 กพ.51 เรื่อง การจ่ายค่าตอบแทนกรรมตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
หลักเกณฑ์การจ่าย บุคคลภายนอกและข้าราชการที่ได้รับแต่งให้เป็น ค.ตรวจการจ้างหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ข้าราชการต้องไม่ดำรงตำแหน่งมีหน้าที่ตรวจ การจ้างหรือควบคุมงานก่อสร้าง เช่นวิศวกรโยธา ก.พ.กำหนดให้มีหน้าที่ลักษณะงานเกี่ยวกับการ ออกแบบ และได้รับมอบหมายปฏิบัติหน้าที่ตรวจ การจ้าง/ควบคุมงาน ประจำในหน่วยงาน ก็ไม่มี สิทธิได้รับค่าตอบ
18
หลักเกณฑ์การจ่าย ในวันเดียวกันกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้
ควบคุมงาน มีสิทธิเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติ งานนอกเวลา ถ้าจะเบิกค่าตอบแทนตามสิทธินี้ ต้องงดเบิกนอกเวลาราชการ การเบิกค่าตอบแทนนี้ไม่กระทบสิทธิการเบิก คชจ.เดินทางไปราชการ
19
การทำประกันภัยทรัพย์สินของทางราชการ
รถราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ภาคบังคับ ส่วนราชการต้องจัดทำประกันภัย ตาม พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยฯ ภาคสมัครใจ พิจารณาตามความจำเป็น เหมาะสมกับภารกิจ เสนอคณะกรรมการกลั่นกรอง การจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ - ตามนส. กค /ว349 ลว.8 กย.48 แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำประกันภัยทรัพย์สิน ของทางราชการ
20
หลักเกณฑ์การทำประกันภัยรถราชการ
1. ต้องเป็นรถราชการส่วนกลางที่ใช้ในภารกิจของหน่วยงานนั้น 2. ลักษณะการใช้รถมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ 3. ต้องมีงปม.เพียงพอโดยไม่ขอตั้งงปม.เพิ่มเติมเพื่อการนี้ 4. มีเหตุจำเป็นนอกเหนือ ให้เสนอขออนุมัติเฉพาะกรณี จาก คกก.กลั่นกรองการจัดเอกประกันภัย
21
รถราชการที่จัดทำประกันภัยได้
รถราชการในเขตพื้นที่ 3 จว.ชายแดนภาคใต้ จดทะเบียนในพื้นที่ เฉพาะเหตุการณ์ไม่ปกติ 2. รถราชการที่มีลักษณะการใช้งานในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น รถพยาบาล รถยนต์ฉุกเฉิน รถดับเพลิง 3. รถราชการในลักษณะรถโดยสาร จำนวนตั้งแต่ 20 ที่นั่งขึ้นไป 4. หรือร้อยละ 15 ของจำนวนรถราชการที่ใช้งานในปัจจุบัน ทั้งนี้ให้หน.ส่วนราชการพิจารณาอนุมัติตามความจำเป็นและเหมาะสม ของหน่วยงานนั้นโดยไม่ต้องดำเนินการจัดซื้อ/จ้าง ตามนส.มอบอำนาจที่ 363/2549 เรื่องมอบอำนาจเกี่ยวกับการทำ ประกันภัยราชการ (มอบผู้ว่าฯ ซึ่งสามารถมอบต่อสสจ.ได้)
22
การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการจัดประชุม เช่น ค่าเช่าห้องประชุม ค่าดอกไม้ตกแต่งสถานที่
23
ค่าวัสดุ ว 68 ลว.29 เมย.58 การจำแนกประเภทรายจ่ายตามงปม. รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของที่มีลักษณะโดยสภาพ ไม่คงทนถาวร หรือ ตามปกติมีอายุการใช้งานไม่ยืนนาน สิ้นเปลือง /หมดไป/หรือเปลี่ยนสภาพไปภายในระยะเวลาอันสั้นและรวมถึงรายจ่ายดังนี้ 1.รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง/ต่อเติม/หรือปรับปรุงวัสดุ 2.รายจ่ายเพื่อจัดหา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาต่อหน่วยหรือ ต่อชุดไม่เกิน 20,000 3.รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของเพื่อใช้ในการซ่อมแซม /บำรุงรักษาทรัพย์สินให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 4.รายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกับค่าวัสดุเช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น
24
ค่าวัสดุ แบ่งเป็น 3 ประเภท 1.วัสดุสิ้นเปลือง เช่น วัสดุสำนักงานต่าง ๆ
สิ่งของโดยสภาพใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพ หรือเปลี่ยนสภาพไปในระยะเวลาอันสั้นหรือไม่คงสภาพ วัสดุสำนักงานต่าง ๆ วัสดุงานบ้านงานครัว เวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ อิฐหรือซีเมนต์บล็อก ทราย กระเบื้อง สังกะสี ตะปู เหล็กเส้น ยางรถยนต์ พู่กัน น๊อตและสกรู หลอดไฟ เช่น
25
ค่าวัสดุ แบ่งเป็น 3 ประเภท 2. วัสดุคงทน เช่น ตาม ว37 ลว. 6 มค. 59
ไม้ต่างๆ แผ่นหรือจานบันทึกข้อมูล เครื่องคิดเลขขนาดเล็ก เครื่องเจาะกระดาษขนาดเล็ก ที่เย็บกระดาษขนาดเล็ก ไม้บรรทัด กรรไกร หม้อ กระทะ กะละมัง ตะหลิว กรอบรูป มีด ค้อน ไขควง คีม ชะแลง จอบ สิ่ว เสียม เลื่อย ขวาน กบไสไม้ เทปวัดระยะ เคียว ประแจ สมุด หนังสือ แปรงลบกระดานดำ ถึง ถาด แก้วน้ำ เก้าอี้พลาสติก สิ่งของโดยสภาพคงทนแต่มีอายุการใช้งานไม่ยืนนาน หรือเมื่อใช้งานแล้วชำรุดไม่สามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ดังเดิมหรือซ่อมแล้วไม่คุ้ม เช่น
26
ค่าวัสดุ แบ่งเป็น 3 ประเภท 3. วัสดุอุปกรณ์/อะไหล่
สิ่งของที่เป็นวัสดุอุปกรณ์ประกอบหรือะไหล่สำหรับซ่อมบำรุงรักษาทรัพย์สินให้กลับคืนสภาพเดิมที่มีลักษณะเป็นการซ่อมบำรุงปกติ ท่อน้ำและอุปกรณ์ประปา ท่อต่างๆ ลำโพง หน่วยประมวลผล (CPU) ฮาร์ดดิสก์ไดนร์ ซีดีรอมไดรฟ์ แผงวงจร เบาะรถยนต์ เบรก ครัช พวงมาลัย สายพานใบพัด หม้อน้ำหัวเทียน แบตเตอรี่ จานจ่าย ล้อถังน้ำมัน ไฟหน้า ไฟเบรก เช่น
27
ครุภัณฑ์ รายจ่ายเพื่อสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรมีอายุการใช้ยืนนาน ชำรุดเสียหายแล้วสามารถซ่อมได้ดังเดิม รวมถึงรายการดังนี้ 5.รายจ่ายที่ต้อชำระพร้อมกับค่ครุภัณฑ์เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่า ประกันภัย ค่าติดตั้ง 1.รายจ่ายเพื่อประกอบ/ดัดแปลง/ต่อเติม/หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ 2.รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีราคา ต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท 3. รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ ขนาดใหญ่ เช่นเครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ เป็นต้น ซึ่ง/ ไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติ,หรือค่าซ่อมกลาง 4. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ เช่น รถต่างๆ เครื่องทำลายเอกสาร เครื่องคอมพิวเตอร์ โต๊ะทำงาน เก้าอี้ เครื่องกรอฟัน เครื่องให้ออกซิเจน เครื่องตรวจเม็ดเลือด เครื่องวัดความดันโลหิต ฯลฯ
28
เพื่อติดตั้งระบบไฟฟ้า/
ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดิน และหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่างๆที่ติดตรึงกับที่ดิน และหรือสิ่งก่อสร้างดังนี้ 3. 2. เพื่อจัดหาที่ดิน สิ่งก่อสร้าง เพื่อติดตั้งระบบไฟฟ้า/ หรือระบบประปา รวมถึง อุปกรณ์ต่างๆซึ่งติดตั้งครั้งแรก ในอาคาร ทั้งที่ดำเนินการพร้อม กันหรือภายหลังการก่อสร้าง อาคารรวมถึงการติดตั้ง ครั้งแรกในสถาน ที่ราชการ เพื่อปรับปรุงที่ดินรวม ถึงรายจ่ายเพื่อดัดแปลง ต่อเติมปรับ ปรุงสิ่งก่อ สร้าง ซึ่งทำให้ที่ดินสิ่ง ก่อสร้าง มีมูลค่า เพิ่มขึ้น 1. 4. เพื่อจ้างออกแบบ/ จ้างควบคุมงาน ที่จ่ายให้เอกชนหรือ นิติบุคคล เพื่อจ้างทีปรึกษาใน การจัดหาหรือ ปรับปรุงที่ดินและ หรือสิ่งก่อสร้าง 5. รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่อง กับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่นค่าเวนคืนที่ดิน/ค่าชดเชย กรรมสิทธิ์ที่ดิน/ค่าชดเชย ผลอาสิน 6.
29
ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ชำระภายใน 15 วัน ค่าประปา ไม่พอ โอนหมวดอื่น
ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์ ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม บัตรเติมเงิน ชำระภายใน 15 วัน ไม่พอ โอนหมวดอื่น ใช้เงินนอกงบประมาณ 2 เดือนสุดท้าย (ส.ค. - ก.ย.)
30
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าไฟฟ้าบ้านพัก
ที่ นร ๐๕๐๕/ว(ล)๑๑๑๗๑ ทั่วไป อาวุโสขึ้นไป วิชาการ ชำนาญการขึ้น ประเภทอำนวยการ/บริหาร ยูนิคต่อเดือน 2. ทั่วไปชำนาญงาน วิชาการปฏิบัติการ ยูนิด 3. ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ยูนิด 4. ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราว ยูนิด 5. ผู้ป่วยโรคเรื้อน ครอบครัวละ ยูนิด ส่วนเกินรับผิดชอบเอง
31
โครงการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการควบคุมภายใน
ค่าสาธารณูปโภค การเบิกจ่ายเงินค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์พื้นฐาน สถานที่ราชการ บ้านพัก (เหมาจ่าย 400 บาท) หมายเลข 02 วิทยุสื่อสารเคลื่อนที่ สถานที่ราชการ ถือครอง (จ่ายจริงไม่เกินที่ กค.กำหนด) ตามนส.ที่ กค /ว108 ลว. 12 ธค.46 และ ว 121 ลว.29 พย.53 สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
32
เงินนอกงบประมาณ
33
พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 ม.4 เงินนอกงบประมาณ
เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนอกจากเงินงบประมาณรายจ่าย เงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิกเกินส่งคืน เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ ม.4 เงินที่ส่วนราชการรับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ไม่ว่าจะได้รับตาม กม.หรือ ระเบียบข้อบังคับ หรือได้รับตามอำนาจหน้าที่หรือสัญญาหรือได้รับ จากการให้ใช้ ท/ส หรือเก็บดอกผลจากทรัพย์สิน ให้นำส่งคลัง เว้น แต่จะมีกม.กำหนดเป็นอย่างอื่น
34
เงินนอกงบประมาณที่ไม่ต้องนำส่งคลัง
พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ ม.24 เงินที่ได้รับชดใช้ความเสียหายและจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สิน เงินบำรุงสถานพยาบาล สถานศึกษา หรือสถานอื่นใดที่อำนวยบริการ อันเป็นสาธารณะประโยชน์หรือประชาสงเคราะห์ เงินที่ได้รับในลักษณะผลพลอยได้จากการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ รายจ่ายที่หักนั้นเป็นรายจ่ายที่กม.อนุญาตให้จ่ายได้ รายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายที่ได้รับความตกลงจาก กค.เพื่อ เป็นค่าสินบนรางวัล เงินค่าธรรมเนียมและเงินค่าปรับ เงินที่ได้รับตามโครงการช่วยเหลือระหว่างต่างประเทศ หรือบุคคลใด ทั้งเงินกู้ หรือเงินให้เปล่า เงินบริจาค เป็นเงินที่มีผู้มอบให้ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ใช้ในกิจการ ของส่วนราชการ และเงินที่เกิดจาก ท/ส ซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผล ใช้จ่ายในกิจการส่วนราชการ
35
หลักเกณฑ์การรับบริจาค
กรณีรับเป็นเงินสด ไม่ระบุวัตถุประสงค์ชัดเจน เข้าเงินบำรุงได้ตามร.เงินบำรุง ระบุวัตถุประสงค์ แยกเป็นเงินรับฝากเพื่อดำเนินการตาม วัตถุประสงค์ จัดซื้อจัดจ้างให้ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ
36
หลักเกณฑ์การรับบริจาค
ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการรับเงินหรือ ทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ทางราชการ พ.ศ. 2526 ควรมีการตั้งคกก.พิจารณาการรับบริจาคโดยคำนึงถึง ผลได้ผลเสีย การรับบริจาคที่มีเงื่อนไขเป็นการผูกพันต้องไม่ให้ประโยชน์ ผู้ใดโดยเฉพาะ การรับบริจาคเงินหรือทรัพย์สินที่มีภาระติดพันหรือ มีภาระต้องเรียกร้องซ่อมบำรุงรักษา ต้องพิจารณาผล ตอบแทนที่ได้รับคุ้มกับค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียหรือไม่
37
กรณีที่มีผู้บริจาคเงินหรือทรัพย์สินต้องรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นถึงหัวหน้าส่วนราชการ
และเป็นการรับบริจาคในนามของส่วนราชการ การรับบริจาคทรัพย์สินอื่นนอกจากเงินให้ตรวจสอบ ทรัพย์สินที่รับบริจาคมีเอกสิทธิสมบูรณ์เพื่อไม่ให้มีคดี ฟ้องร้อยในภายหลัง
38
โครงการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการควบคุมภายใน
วิธีปฏิบัติและหลักเกณฑ์การบริจาคอาคารสิ่งก่อสร้าง ตามหนังสือที่สธ.0212/3784 ลว.18 สค.43 ขออนุมัติปลัดกระทรวงก่อนรับบริจาคโดยส่งแบบฟอร์ม ข้อมูลในการรับบริจาคและเอกสารที่เกี่ยวข้องกรณีรับ บริจาคอาคารหรือที่ดินในการก่อสร้างสถานบริการขอ ให้คำนึงถึงเหตุผลความจำเป็นในการก่อสร้าง ตลอดจน แผนบริหารจัดการด้านกำลังคนบริหารทรัพยากรที่ เหมาะสม และส่งเอกสารที่ผู้บริจาคแจ้งความประสงค์จะ ขอบริจาคประกอบการพิจารณาด้วย โดยส่งแบบฟอร์มข้อมูลบริจาคและเอกสารที่เกี่ยวข้อง สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
39
สป.ไม่มีนโยบายในการจัดสรรงบประมาณสมทบค่า
ก่อสร้างหรือจัดซื้อครุภัณฑ์หรือรับเงื่อนไข อื่นๆ ที่ทำให้ส่วนราชการต้องเป็นภาระผูกพัน กรณีบริจาคอาคารสิ่งก่อสร้างจะต้องก่อสร้างตามแบบ แปลนมาตรฐานของสป.หากไม่ใช่แบบมาตรฐานดังกล่าว ก็ต้องส่งแบบพิมพ์เขียวให้กองแบบแผนรับรองแบบก่อนรวมทั้งต้องได้รับความเห็นชอบผังหลักเพิ่มเติมจาก กองแบบ ส่วนขั้นตอนการก่อสร้างต้องมีวิศวกรของทางราชการเป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้างด้วย
40
หลักเกณฑ์การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการของสป.
การจัดสวัสดิการภายในมี 2 ชนิด 1. สวัสดิการภายในหน่วยงาน ส่วนราชการเนินการเอง วิธีดำเนินการ เสนอคำขอแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสวัสดิการมายัง คกก.สวัสดิการสป. พร้อมระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการ - รายงานแจ้งประเภทของสวัสดิการที่จัดตั้ง รายงานฐานะกองทุนสวัสดิการ รวมทั้งรายรับรายจ่ายให้ คณะกรรมการสป.ทุก 6 เดือน ในการดำเนินการจัดสวัสดิการภายใน รพ.ต้องปฏิบัติตาม ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีปฏิบัติของสน.นายก กท.การคลัง กพ. กรมธนารักษ์ และคกก.สวัสดิการสป.
41
2. สวัสดิการภายในเชิงธุรกิจ เช่น ร้านเซเว่น ร้านกาแฟ
2. สวัสดิการภายในเชิงธุรกิจ เช่น ร้านเซเว่น ร้านกาแฟ กระทำได้โดยไม่ต้องประมูลตามระเบียบพัสดุ เมื่อติดต่อ ประสานงานแล้วเสนอมายังคกก.สป. เพื่อเห็นชอบและอนุมัติ คณะอนุกรรมสวัสดิการดำเนินการติดต่อประสานงาน กับ ธนารักษ์พื้นที่เพื่อขออนุมัติดำเนินการตกขอใช้ที่ราชพัสดุ และทำสัญญาต่างตอบแทนกับผู้เข้ามาทำธุรกิจแล้วนำเงิน เข้าสวัสดิการภายในหน่วยงาน ในการจัดสวัสดิการเชิงธุรกิจ การทำนิติกรรมและสัญญา กับบุคคลใดจะดำเนินการต้องได้รับความเห็นชอบและอนุมัติ จากคณะกรรมการสวัสดิการ สป.
42
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน
กระทรวงสาธารณสุข
43
ว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทน เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้หน่วยบริการ
ข้อบังคับ ว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทน เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้หน่วยบริการ
44
เจ้าหน้าที่ หมายความว่า ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ
เจ้าหน้าที่ หมายความว่า ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างรายคาบ พนักงานของรัฐในสังกัด สธ. หรือบุคคลอื่นที่ได้รับคำสั่งหรือได้รับมอบหมายเป็น ลายลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติงาน ในหน่วยบริการ หรือ นอกหน่วยบริการ หรือต่างหน่วยบริการเพื่อให้บริการ สนับสนุนด้านบริการหรือร่วมบริการ
45
เจ้าหน้าที่อื่น หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน หรือ
เจ้าหน้าที่อื่น หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน หรือ ลูกจ้าง ที่ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการหรือจ้างมา ปฏิบัติงานในตำแหน่งที่มีชื่อตำแหน่งข้าราชการ ลูกจ้างตำแหน่งอื่นๆ หมายถึง ลูกจ้างที่ไม่ได้จ้าง ตามสายงานหรือไม่มีชื่อตำแหน่งข้าราชการ เช่น พนักงานขับรถ พนักงานแปล ผู้ช่วยเหลือคนไข้
46
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน
การจ่ายค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่ ต้องมีคำสั่งหรือ มอบหมายให้ปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร เงินค่าตอบแทนตามข้อบังคับนี้ ไม่กระทบสิทธิของ เจ้าหน้าที่ที่จะได้เงินอื่นใดที่พึงจ่ายในทำนองเดียวกัน ตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ หลักเกณฑ์อื่น ให้มี คกก.พิจารณาค่าตอบแทน และให้มี คกก.การ ติดตามและประเมินผล การจ่ายค่าตอบแทนเพื่อทำ หน้าที่ประเมิน ประสิทธิภาพและความเหมาะสมในการ จ่ายค่าตอบแทน แล้วรายงานผลการประเมิน ให้ปลัด สธ. ทราบปีละ 1 ครั้ง
47
ดังนั้น การกำหนดให้ จพ.สาสุขชุมชน จพ.ทันตกรรม จพ.สาสุขอื่นๆ
ข้อบังคับสธ.ว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ พ.ศ ข้อ 8(1) กรณีที่ต้องจ่ายเงินค่าตอบแทนเพิ่มขึ้นไม่เกินหนึ่งเท่าของอัตราที่กำหนดไว้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจ่ายเงินค่าตอบแทนที่กำหนด ให้คณะกรรมการประกาศกำหนดได้ แล้วเสนอปลัดกระทรวงทราบ ดังนั้น การกำหนดให้ จพ.สาสุขชุมชน จพ.ทันตกรรม จพ.สาสุขอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานลักษณะเป็นเวรหรือผลัดซึ่งได้รับค่าตอบแทนอัตราคนละ 480 และ เพื่อให้ จนท.ดังกล่าวที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาสาธารณสุข ศาสตร์บัณฑิต และได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติงานในตำแหน่ง นวก.สาธารณสุข ให้ได้รับค่าตอบแทนเท่ากับนวก.สาธารณสุข ในอัตรา 600 ได้ โดยต้องกำหนดรายละเอียดไว้ในประกาศว่าต้องเป็นผู้สำเร็จระดับปริญญาตรี สาขาสาธารณสุขศาสตร์บัณฑิตและได้รับมอบหมายโดยมีคำสั่งเป็นลายลักษณ์ อักษรให้ปฏิบัติงานใน ตำแหน่งนวก.สาธารณสุข และเมื่อกำหนดอัตราการจ่าย ค่าตอบแทนแล้วให้เสนอปลัดกระทรวงเพื่อทราบ ตามนส.ที่ สธ ๐๒๐๑.๐๔๒.๘/๖๖ ลว.๑๖ เมย.๕๘
48
ประเด็น จพ.สาสุขชุมชน จพ.ทันตกรรม จพ.สาสุขอื่นๆ ที่สำเร็จ
ประเด็น จพ.สาสุขชุมชน จพ.ทันตกรรม จพ.สาสุขอื่นๆ ที่สำเร็จ การศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาสาธารณสุขศาสตร์ และได้รับมอบ หมายโดยมีคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติงานในตำแหน่ง นวก.สาธารณสุขให้ได้รับค่าตอบแทนประเภทค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายตามหลัก เกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทนฯ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2556 ข้อ กำหนดเงื่อนไขสำหรับจนท.ที่มีสิทธิรับค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งหรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานใน ตำแหน่งต่างๆ ดังนั้น กรณี จพ.สาสุขชุมชน จพ.ทันตกรรม จพ.สาสุขอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายตามคำสั่งก็มีสิทธิได้รับเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายได้ ตามนส.ที่ สธ ๐๒๐๑.๐๔๒.๘/๖๖ ลว.๑๖ เมย.๕๘
49
ตาม นส.ที่ สธ ๐๒๐๑.๐๔๕.๑/๓๔๐ ลว. ๒๐ สค.๕๓ จพ.เภสัชกรหรือนวก.สาธารณสุขปฏิบัติงานในรพช.สำเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร์บัณฑิต และสอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ รพช.ออกคำสั่งให้ปฏิบัติงานในตำแหน่งเภสัช สามารถเบิก 1.เงินเพิ่มพิเศษสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชที่ไม่ทำ เวชส่วนตัวได้หรือไม่ การเบิกเงินเพิ่มพิเศษต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัช จพ.เภสัช หรือนวก.สธ. ไม่ได้ดำรงตำแหน่ง ถึงแม้จะมีคำสั่งก็เบิกเงินเพิ่มไม่ทำเวชส่วนตัวก็ไม่สามารถเบิกเงินเพิ่มพิเศษได้
50
2.สามารถเบิกเงิน พ.ต.ส. ได้หรือไม่
กรณีผู้ดำรงตำแหน่งอื่นที่เป็นขรก. เช่นพยาบาลเทคนิค นวก.สธ จนท.บริหารงานสธ. จพ.สาธารณสุชุมชน และตำแหน่งอื่นที่มีใบ อนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ และได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานใน ตำแหน่งเภสัชกร มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทน พ.ต.ส. จากเงินบำรุง 3. สามารถเบิกเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายได้หรือไม่ ผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งแทพย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร เมื่อจนท.ดังกล่าวยังไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งเภสัชถึงแม้จบปริญญาเภสัชศาสตร์และได้รับคำสั่งปฏิบัติงาน ตำแหน่งเภสัชก็ไม่สามารถเบิกเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายได้(ทบทวนใหม่ว่า) 4.สามารถเบิกค่าตอบแทนนอกเวลา ได้หรือไม่ จพ.เภสัชกรหรือนวก.สาธารณสุขสามารถเบิกค่าตอบแทนนอกเวลา ได้ในอัตราสำหรับจนท.อื่นตามตำแหน่งที่ดำรงอยู่
51
จากการดำเนินงานตามภารกิจปกติ
ตาม นส.ที่ สธ ๐๒๐๑.๐๒๔/ว๘๖ ลว. ๔ พค.๕๓ ตามที่กค.อนุมัติให้หน่วยงานในสังกัดสป.เบิกจ่ายเงินบำรุงเป็นค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้มาบริจาคเลือดรายละ 10 บาท ปัจจุบันสป.พิจารณาแล้วเห็นควรปรับอัตราค่า อาหารว่างจากรายละ 10 บาท เป็น 25 บาท ตามระเบียบคชจ.ในการบริหารงานซึ่งให้หน.หน่วยงานใช้ดุลพินิจในการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารที่เกิด จากการดำเนินงานตามภารกิจปกติ
52
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน เกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
ในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2553
53
ค่าใช้จ่าย หมายถึง 1. รายจ่ายที่จ่ายในการบริหารงานประจำตามอำนาจหน้าที่
ค่าใช้จ่าย หมายถึง 1. รายจ่ายที่จ่ายในการบริหารงานประจำตามอำนาจหน้าที่ 2. รายจ่ายที่เป็นผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ประจำ 3. รายจ่ายจากการปฏิบัติหน้าที่ที่กำหนดไว้ในแผน งปม. 4. รายจ่ายที่เบิกจ่ายจากงบดำเนินงานลักษณะค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุและ ค่าสาธารณูปโภค 5. รวมทั้งรายจ่ายที่เกิดจากภารกิจที่ได้รับมอบหมาย จากคณะรัฐมนตรี จากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย แสดงให้เห็นว่าการบริหารกิจการบ้านเมืองเกิดความล้มเหลว สาเหตุ สำคัญประการหนึ่งเกิดจากความอ่อนแอ และหย่อนประสิทธิภาพของกลไกด้านการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้งในระดับชาติและระดับองค์กรโดยเฉพาะการบริหารจัดการภาครัฐในปัจจุบันยังมีจุดอ่อนที่เป็นวัฒนธรรมและค่านิยมที่ปลูกฝังกันมานาน เช่น มีการขยายอำนาจหน้าที่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด การขาดประสิทธิภาพในการทำงาน การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย ทั้งคนและงบประมาณ การต่อต้านการเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ การวิ่งเต้นแสวงหาความก้าวหน้าให้ตนเองและพวกพ้อง เผด็จการ ไม่บริหารงานแบบมีส่วนร่วม ทุจริต ไม่โปร่งใส และประพฤติมิชอบ และสิ่งที่น่าเป็นห่วงนอกจากการทุจริตแล้ว ยังมีการรั่วไหล โดยการใช้ทรัพยากรไม่เกิดความคุ้มค่า สูญเปล่า สิ้นเปลือง สุรุยสุหร่าย และไม่จำเป็น รวมทั้งการสูญเสียแบบทุจริตโดยไม่บกพร่องโดยใช่ช่องว่างของ กฏระเบียบข้อบังคับ ของทางราชการ โดยผ่านอำนาจหน้าที่ที่มีอยู่ และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ หากยังไม่ ได้รับการแก้ไขและ ป้องกันโดยเร่งด่วน โดยขจัดสาเหตุของปัญหา และส่งเสริมสนับสนุนให้ภาครัฐบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลไม่ว่าจะเป็นระดับชาติหรือระดับองค์กร หน.ส่วนฯ พิจารณาอนุมัติเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด
54
การใช้ดุลยพินิจเบิกจ่าย
กฎหมายให้อำนาจหรือไม่ (การมอบอำนาจ) ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของทางราชการและ ประชาชนเป็นหลัก 3. กระบวนการต้องชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและ มติครม. หรือ กค.อนุญาตจ่าย จากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย แสดงให้เห็นว่าการบริหารกิจการบ้านเมืองเกิดความล้มเหลว สาเหตุ สำคัญประการหนึ่งเกิดจากความอ่อนแอ และหย่อนประสิทธิภาพของกลไกด้านการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้งในระดับชาติและระดับองค์กรโดยเฉพาะการบริหารจัดการภาครัฐในปัจจุบันยังมีจุดอ่อนที่เป็นวัฒนธรรมและค่านิยมที่ปลูกฝังกันมานาน เช่น มีการขยายอำนาจหน้าที่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด การขาดประสิทธิภาพในการทำงาน การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย ทั้งคนและงบประมาณ การต่อต้านการเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ การวิ่งเต้นแสวงหาความก้าวหน้าให้ตนเองและพวกพ้อง เผด็จการ ไม่บริหารงานแบบมีส่วนร่วม ทุจริต ไม่โปร่งใส และประพฤติมิชอบ และสิ่งที่น่าเป็นห่วงนอกจากการทุจริตแล้ว ยังมีการรั่วไหล โดยการใช้ทรัพยากรไม่เกิดความคุ้มค่า สูญเปล่า สิ้นเปลือง สุรุยสุหร่าย และไม่จำเป็น รวมทั้งการสูญเสียแบบทุจริตโดยไม่บกพร่องโดยใช่ช่องว่างของ กฏระเบียบข้อบังคับ ของทางราชการ โดยผ่านอำนาจหน้าที่ที่มีอยู่ และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ หากยังไม่ ได้รับการแก้ไขและ ป้องกันโดยเร่งด่วน โดยขจัดสาเหตุของปัญหา และส่งเสริมสนับสนุนให้ภาครัฐบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลไม่ว่าจะเป็นระดับชาติหรือระดับองค์กร ห้ามใช้ดุลินิจกรณีมีกม ระเบียบ ข้อบังคับ และกระทรวงการคลังกำหนด
55
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเกี่ยวกับค่า ตอบแทน
ค่าใช้จ่ายสำหรับบุคคลภายนอกที่ปฏิบัติงานให้ส่วนราชการ ให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายเป็นค่าตอบแทนได้ตามที่กระทรวงการคลังกำหนด 1
56
ค่าใช้จ่ายที่ หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายได้ตาม ความจำเป็น
เหมาะสม ประหยัด และเพื่อ ประโยชน์ ของทางราชการ 2 ค่าตอบแทนล่ามในการแปลภาษาท้องถิ่น ภาษาต่างประเทศ หรือภาษามือ ค่าตอบแทนในการแปลหนังสือ หรือเอกสาร ค่าตอบแทนในการจัดหรือสำรวจข้อมูล เฉพาะในช่วงระยะเวลา ที่มีการจัดเก็บหรือสำรวจข้อมูล ผู้แปล หรือผู้สำรวจข้อมูล เป็น จนท.ของส่วนราชการนั้น ที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ไม่ให้ได้รับค่าตอบแทน อัตราอยู่ในดุลพินิจ
57
ค่าใช้สอยที่กำหนดโดยมติ ครม.
ค่าเช่าอาคารปฏิบัติงาน/เก็บเอกสารหรือพัสดุต่างๆ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท/ตรม./เดือน กรณีจำเป็นให้จ่ายได้ไม่เกิน 50,000 บาท/เดือน ค่าเช่าที่ดิน เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 50,000 บาท/เดือน หากจำเป็นต้องเบิกจ่ายเกินอัตราที่กำหนดให้ หน.ส่วนราชการเบิกจ่ายเท่าที่ จ่ายจริงไม่เกินอัตราท้องตลาด และบันทึกเหตุผลที่ต้องเบิกจ่ายในอัตรานั้นด้วย
58
ค่าใช้สอยที่เป็นค่าใช้จ่าย ในการดำเนินงานตามภารกิจปกติ (ข้อ 12)
หรือตามนโยบาย ตาม ว. 96 ลว 16 กย 53 ที่กำหนดในระเบียบนี้ หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายได้ ตามความจำเป็น เหมาะสมประหยัด และ เพื่อประโยชน์ของทางราชการ
59
ค่าใช้สอยการดำเนินงานตามภารกิจปกติ
1 ค่าใช้จ่ายเตรียมการรับ/ส่งเสด็จ หรือเกี่ยวเนื่องกับการรับ/ส่งเสด็จ 2 ค่าจ้างเอกชนดำเนินงาน 3 ค่าใช้จ่ายในการเผยแพร่หรือการประชาสัมพันธ์งานของส่วนราชการ ค่าพานพุ่มดอกไม้ พานประดับพุ่มดอกไม้ พานพุ่มเงิน พุ่มทอง กรวยดอกไม้ พวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้าดอกไม้ หรือพวงมาลา สำหรับวางอนุสาวรีย์ หรือ ใช้ในการจัดงานเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสต่างๆ ค่าหรีด หรือพวงมาลาสำหรับสักการะศพให้เบิกจ่าย ในนามของส่วนราชการ เป็นส่วนรวมเฉพาะสักการะศพผู้ที่เคยให้ความช่วยเหลือหรือเป็นผู้เคยทำ ประโยชน์ ให้ ประเทศหรือ ส่วนราชการจนเป็นที่ประจักษ์ชัด 4
60
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกรณีหน่วยงานอื่นหรือบุคคลภาย
ค่าใช้จ่ายจัดประชุมราชการและประชุมราชการทางไกลผ่านดาวเทียม เช่น ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหารในกรณีประชุมคาบเกี่ยวมื้อ อาหารและจำเป็นต้องจัด ค่าเช่าห้องประชุม ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็น 5 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกรณีหน่วยงานอื่นหรือบุคคลภาย นอกเข้าดูงาน หรือเยี่ยมชมส่วนราชการ หรือกรณีการตรวจเยี่ยม หรือ ตรวจราชการตามภารกิจปกติของบุคลากร การแถลงข่าว การมอบ เงินหรือสิ่งของบริจาค 6 - ค่าซ่อมแซมทรัพย์สินที่เกิดจากการเสื่อมสภาพหรือชำรุดเสียหาย จากการใช้งานตามปกติ - ค่าซ่อมแซมทรัพย์สินของส่วนราชการที่ได้รับความเสียหาย ซึ่งมิได้ เกิดจากการเสื่อมสภาพหรือชำรุดจากการใช้งานปกติ เมื่อจ่าย ค่าใช้จ่ายซ่อมแล้วให้ดำเนินการหาผู้รับผิดทางละเมิดตามกฎหมาย และระเบียบว่าด้วยความรับผิดทางละเมิด 7
61
ค่าโล่ ใบประกาศเกียรติคุณ ค่ากรอบใบประกาศเกียรติคุณ ของขวัญ
- ค่าของขวัญหรือของที่ระลึกที่มอบให้ชาวต่างประเทศ กรณีเดินทาง ไปราชการต่างประเทศกรณีชาวต่างประเทศเดินทางมาประเทศไทย ในนามส่วนราชการเป็นส่วนรวม - ค่าของขวัญหรือของที่ระลึกที่มอบให้กรณีหน่วยงานที่ให้ความ ช่วยเหลือส่วนราชการหรือกรณีการเยื่อมชมส่วนราชการในนามส่วน ราชการเป็นส่วนรวม 8 ค่าโล่ ใบประกาศเกียรติคุณ ค่ากรอบใบประกาศเกียรติคุณ ของขวัญ ของที่ระลึกสำหรับข้าราชการหรือลูกจ้างประจำที่เกษียณอายุหรือผู้ให้ ความช่วยเหลือหรือควรได้รับการยกย่องจากทางราชการ 9 10 ค่าใช้จ่ายในการทำเว็บไซต์และส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องในการจัดทำเว็บไซด์
62
ค่าธรรมเนียมอื่นๆ ที่มิใช่ค่าธรรมเนียมธนาคาร ตามข้อ 18(5)
- ค่าธรรมเนียมในการคืนบัตรเปลี่ยนบัตรโดยสารพาหนะในการเดิน ทางไปราชการหรือค่าบัตรโดยสารที่ไม่สามารถคืนหรือเปลี่ยนบัตรได้ กรณีเลื่อนการเดินทางไปราชการ กรณีส่วนราชการสั่งให้งดหรือเลื่อน การเดินทางไปราชการ และให้รวมถึงกรณีเหตุสุดวิสัยอื่นๆ ที่ทำให้ไม่สามารถเดินทางได้ ทั้งนี้ต้องมิได้เกิดจากตัวผู้เดินทางเป็นเหตุ 11 12 ค่าธรรมเนียมอื่นๆ ที่มิใช่ค่าธรรมเนียมธนาคาร ตามข้อ 18(5) 13 ค่าใช้บริการอินเตอร์เน็ตของผู้เดินทางไปราชการเพื่อประโยชน์ราชการ 14 คชจ.การใช้สถานที่ชั่วคราวของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ 15 ค่าใช้จ่ายในการประดับ ตกแต่งอาคารสถานที่ของส่วนราชการ
63
ค่าใช้จ่ายในการจัดหาอาหารสำหรับผู้ป่วยสามัญ ผู้ป่วยโรคเรื้อน
ค่าบริการ หรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการกำจัดแมลง แมง หนู หรือสัตว์ที่ อาจเป็นพาหะนำโรคร้ายมาสู่คน และให้หมายถึงการกำจัดเชื้อโรคหรือเชื้อรา ตามส่วนราชการหรือบ้านพักที่ทางราชการจัดไว้ให้ 16 ค่าใช้จ่ายในการจัดหาอาหารสำหรับผู้ป่วยสามัญ ผู้ป่วยโรคเรื้อน ของสภานบริการหรือสำหรับผู้ถูกควบคุม คุมขัง กักขัง คุมความ ประพฤติ หรือผู้ที่ถูกใช้มาตรการอื่นใดอันมีลักษณะเป็นการจำกัด สิทธิเสรีภาพซึ่งต้องหาว่ากระทำความผิด หรืออาหาร นม อาหาร เสริมสำหรับเด็กที่อยู่ในการสงเคราะห์ของราชการหรือหน่วยงานของ ทางราชการ 17 ค่าใช้จ่ายในการเป็นสมาชิก หรือการจัดซื้อหนังสือ จุลสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการราชการโดยส่วนรวม 18
64
-ค่าบริการในการกำจัดสิ่งปฏิกูลจัดเก็บขยะของส่วนราชการ
ค่าบริการในการกำจัดสิ่งปฏิกูลบ้านพักของทางราชการกรณี ไม่มีผู้พักอาศัย 19 - ค่าผ่านทางด่วนพิเศษ ค่าบริการจอดรถในการเดินทางไป ปฏิบัติราชการสำหรับรถราชการ ตามระเบียบว่าด้วยรถราชการ ซึ่งส่วนราชการได้มาโดยวิธีการซื้อ เช่า การยืมหรือรับบริจาค หรือได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่างประเทศ และขึ้น ทะเบียนเป็นครุภัณฑ์ของส่วนราชการ 20 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัด ผลิตรายการ และถ่ายทอดทาง สถานีโทรทัศน์ และวิทยุ 21
65
ค่าพาหนะกรณีได้รับมอบหมายให้เดินทางไปปฏิบัติราชการ
ซึ่งส่วนราชการไม่สามารถจัดรถยนต์ส่วนกลางให้ได้ 22 23 ค่าตรวจสอบเพื่อการรับรองระบบการทำงานหรือมาตรฐาน การทำงาน ค่าระวางบรรทุกขนส่งพัสดุหรือพัสดุภัณฑ์ของส่วนราชการ ยกเว้น ค่าระวางบรรทุกขนส่งพัสดุหรือพัสดุภัณฑ์ในการ ฝึกอบรม การจัดงานและการจัดประชุมระหว่างประเทศ 24 ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดจากการใช้พัสดุที่ยืมจากหน่วยงานอื่น เพื่อใช้ปฏิบัติราชการกรณีจำเป็นเร่งด่วนเป็นการชั่วคราว 25
66
ค่ารักษาพยาบาลและค่าตรวจสุขภาพสัตว์ สำหรับ
ค่าตรวจร่างการของบุคลากรเพื่อตรวจหาสารกัมมันตภาพ รังสีและเชื้อเอชไอวีจากปฏิบัติงานตามภารกิจปกติ และไม่ถือ เป็นสวัสดิการ การรักษาพยาบาลที่ข้าราชการหรือลูกจ้าง ประจำที่จะใช้สิทธิตามกฎหมายเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่ารักษา พยาบาล 26 ค่ารักษาพยาบาลและค่าตรวจสุขภาพสัตว์ สำหรับ หน่วยงานที่มีภารกิจปกติในการดูแลสัตว์ 27
67
ห้ามเบิกจ่าย ค่าจัดทำสมุดบันทึก สมุดฉีก หรือของชำร่วย
เนื่องในโอกาสต่าง ๆ ค่าพิมพ์ ค่าส่ง สำหรับบัตรอวยพรในเทศกาลต่างๆ และค่าพิมพ์นามบัตรให้กับบุคลากร ค่าพวงมาลัย ดอกไม้ ของขวัญ ของเยี่ยม มอบให้กับ ส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน บุคคล เนื่องในโอกาสต่างๆ ค่าทิป เงินหรือสิ่งของบริจาค ค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ หรือการจัดกิจกรรม นันทนาการภายในส่วนราชการ
68
การจ่ายค่าวัสดุ ให้ หส. เบิกจ่ายเท่าที่ จ่ายจริง ตามความ จำเป็น
เหมาะสม ประหยัด และเพื่อ ประโยชน์ ของทางราชการ ให้ หส. เบิกจ่ายเท่าที่ จ่ายจริง ตามความ จำเป็น เว้นแต่ รายการต่อไปนี้ ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์ที่ กค.กำหนด หรือได้อนุมัติ ค่าเครื่องแบบ เครื่องแต่งกายที่จัดให้เจ้าหน้าที่ไว้ใช้ในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ ค่าเครื่องแบบ ยาม รักษาการณ์ ค่าวัสดุที่ใช้เพื่อ อำนวยความสะดวก แก่ผู้ปฏิบัติงาน
69
อัตราค่าเครื่องแต่งกายสำหรับโรงพยาบาลในสังกัด สป.
หนังสือกค.ที่ /20111 ลว17 พค.55 รายการ ชุดละ 1. เครื่องแบบแพทย์ฝึกหัด ชาย-หญิง 500 2. เครื่องแบบแพทย์ชาย-หญิง(ชุดปฏิบัติการภายในห้องทุกแผนกที่ต้องการความสะอาดเป็นพิเศษ 3.เครื่องแบบพยาบาล เภสัช ทันตแทพย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักรังสีการแพทย์ นักกายภาพบำบัด ชาย-หญิง 800 4.เครื่องแบบพนง.วิทยาศาสตร์การแพทย์ พนง.และจนท.เตรียมเครื่องใช้ปราศจากเชื้อหน่วยจ่ายกลาง พนง.รังสีการแพทย์ พนง.เภสัชกรรม พนง.กายภาพบำบัด พนง.อาชีวบำบัด จนท.ชันสูตร จพง.เวชกรรมฟื้นฟู จนท.พยาบาล(ชุดปฏิบัติการ) ชาย-หญิง 600 5.เครื่องแบบพนง.ชาย พนง.ผู้ช่วย พนง.ชายห้องผ่าตัด พนงตึกอาหาร พนงซักฟอก พนงเสริฟอาหาร (ชุดปฏิบัติการ ) 6.ชุดช่างต่างๆ 830
70
การจ่ายค่าสาธารณูปโภค
ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำ ค่าโทรศัพท์ ของส่วนราชการและบ้านพัก ที่ไม่มีผู้พักอาศัยให้จ่ายเท่าที่จ่ายจริง กรณีมีผู้พักอาศัยก็ให้จ่าย ตามมติครม. หรือตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด ค่าบริการไปรษณีย์ ค่าฝากส่งไปรษณีย์ ค่าบริการไปรษณีย์ตอบรับ ค่าดวงตราไปรษณีย์หรือค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ ระบบและค่าใช้จ่ายบริการอินเทอร์เน็ต ค่าเคเบิ้ลทีวี ค่าเช่าช่อง สัญญาณดาวเทียม ค่าสื่อสารผ่านดาวเทียม ค่าวิทยุสื่อสาร วิทยุติดตามตัว ค่าเช่าพื้นที่เว็บไซต์ และค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง ค่าธรรมเนียมธนาคารเกี่ยวกับการทำธุรกรรมทางการเงินที่มิ ใช่เป็นการร้องขอของผู้มีสิทธิรับเงิน ข้อ 18(5) (เป็นคชจ.ที่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมรายเดือนที่ธ.เรียกเก็บ)
71
โทรศัพท์พื้นฐานประจำสถานที่ทางราชการ เบิกเท่าที่จ่ายจริง
มติคณะรัฐมนตรี การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการ วันที่ 24 สิงหาคม 53 และ 1 มีนาคม 54 โทรศัพท์พื้นฐานประจำสถานที่ทางราชการ เบิกเท่าที่จ่ายจริง โทรศัพท์บ้านพักราชการ (ผอ.กองหรือเทียบเท่า)เหมาจ่ายเดือนละ400 โทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) ใช้เป็นส่วนกลาง เบิกเท่าที่จ่ายจริง โทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) มอบให้ข้าราชการถือครอง เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กค.กำหนด
72
การจ้างเอกชนดำเนินงาน
จากมติครม.ให้ส่วนราชการยุบตำแหน่งเกษียณ และตำแหน่ง ลูกจ้างและมีนโยบายถ่ายโอนให้เอกชนรับไปดำเนินการแทน โดยให้เป็นการจ้างเหมารบริการ เช่น การจ้างเรื่องการรักษา ความปลอดภัย การทำความสะอาด การดูแลต้นไม้ หรือสวนประดับ หลักเกณฑ์การจ้างเหมาบริการให้เป็นไปตามหนังสือกระทรวงการคลัง 1. ที่ กค /ว 131 ลว. 28 ธค.41 เรื่อง การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน และ 2. ที่ กค /ว 86 ลว.17 กพ. 48 เรื่อง ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าใช้จ่าย ในการจ้างเอกชนดำเนินงานของส่วนราชการ
73
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง
พ.ศ. 2551 กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล
74
หลักการ เบิกจ่ายเงิน จากคลัง
การเบิกเงินเพื่อการใดต้องนำไปจ่ายเพื่อการนั้น หลักการ เบิกจ่ายเงิน จากคลัง จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้เฉพาะที่มีกม. ระเบียบ ข้อบังคับคำสั่ง มติครม. หรือ กค.อนุญาตให้จ่ายได้ หนี้ต้องถึงกำหนดชำระหรือใกล้จะถึงกำหนดชำระ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้น
75
การขอเบิกเงินเพื่อจ่ายในระบบ GFMIS
จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากเจ้าหนี้โดยตรง - มีใบสั่งซื้อ/จ้างหรือสัญญาวงเงินตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป -มีหรือไม่มีใบสั่งซื้อ/จ้าง หรือสัญญา แต่วงเงิน ไม่ถึง 5,000 จ่ายให้ส่วนราชการ - ไม่มีใบสั่งซื้อ/จ้างหรือสัญญา - มีใบสั่งซื้อ/จ้าง หรือสัญญาแต่วงเงินไม่ถึง 5,000
76
ตามหนังสือกค /ว192 ลว.21 พค.56 เรื่องการตรวจสอบรายงานการขอเบิกเงินจากคลัง เพื่อยืนยันข้อมูลการขอเบิกเงินจากคลังผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยกำหนดให้ส่วนราชการเรียกรายงานการขอเบิกจากคลัง ประจำเดือนจาก Web Reportแล้วให้พิมพ์รายงานมาตรวจสอบและ ยืนยันรายวานการขอเบิกเงินจากคลังในระบบ GFMIS ส่งคลังจังหวัด ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป ส่วนวิธีการเรียกรายงานให้ปฏิบัติตามหนังสือที่ กค /ว 261ลว.24 กันยายน 2557 เรื่องการเรียกรายงานสรุปรายการเบิกจ่ายเงินจากของ หน่วยงานผ่าน Web online
77
ตามหนังสือกค. 0409.3/ว 33 ลว.2 พฤษภาคม 2549
และที่ กค /ว 82 ลว.28 กุมภาพันธ์ 2556 การจ้างบุคคลธรรมดากรณีการจ้างลูกจ้าง หรือจ้างที่ปรึกษา หรือการจ้างกรณีอื่นๆ ได้รับการยกเว้นไม่ต้องสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย และไม่ต้องจัดทำ PO ในระบบ GFMIS ให้ตั้งเบิกจ่ายตามแบบ ขบ.2 ให้ส่วนราชการจ่ายเงินให้กับผู้รับจ้างโดยตรงได้ ซึ่งในส่วนนี้ไม่ได้เชื่อมโยงกับระบบ e-GP จึงไม่ต้องดำเนินการในระบบ e-GP วงเงินต่ำกว่า 5,000 บาท ซื้อจ้างวิธีตกลงราคาตามข้อ 39 วรรค 2 การจ้างเหมาบุคคลธรรมดา การยืมเงินทดรองฯเงินนอกงปม. จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิง การซื้อจ้าง ไม่ต้องลง e-GP
78
การเบิกเงิน การเบิกเงินให้ใช้ระบบ GFMIS
ให้ออกคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ ขรก. มีหน้าที่เป็นผู้มีสิทธิใช้งาน เพื่อถือบัตรกำหนด สิทธิการใช้ รหัสผู้ใช้ และรหัสผ่าน เพื่อทำหน้าที่ บันทึกข้อมูลและเรียกรายงานในระบบและกำหนด แนวทางการควบคุมในการเข้าใช้งานในระบบ
79
การเบิกเงิน การซื้อ จ้าง เช่า เกิน 5,000 บาท
การซื้อ จ้าง เช่า เกิน 5,000 บาท ให้สร้างใบสั่งซื้อ/จ้าง ในระบบGFMIS การซื้อ จ้าง เช่า เมื่อตรวจรับแล้ว ให้เบิกเงินอย่างช้าไม่เกิน 5 วันทำการ
80
การจ่ายเงิน จะจ่ายได้เฉพาะที่มี กม. ระเบียบข้อบังคับ
หรือ มติครม. อนุญาตให้จ่ายได้ ผู้มีอำนาจได้อนุมัติให้จ่ายได้ (ผู้อนุมัติจะลงลายมือชื่ออนุมัติในหน้างบหลักฐาน การจ่ายก็ได้) มีการตรวจสอบหลักฐานก่อนจ่ายและผู้มีอำนาจ ได้ลงชื่ออนุมัติจ่ายแล้ว
81
การจ่ายเงิน การจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิที่ไม่สามารถมารับเงินได้ต้อง
มีใบมอบฉันทะ หรือใบมอบอำนาจให้ ผู้อื่นรับแทน หลักฐานการจ่ายให้เป็นไปตามที่ กค. กำหนด หรือ ตามที่ได้รับความเห็นชอบจาก กค. โอนสิทธิเรียกร้องได้ตาม ระเบียบ กค ห้ามเรียกใบเสร็จหรือให้ผู้รับลงชื่อรับเงินโดยยังไม่ได้ จ่ายเงิน
82
การจ่ายเงินตามใบมอบฉันทะ
ข้าราชการ ลูกจ้าง ผู้รับบำนาญ เบี้ยหวัด ใช้ใบมอบฉันทะ การสั่งจ่าย จ่ายเช็คหรือเงินสด ให้ผู้มอบหรือผู้รับมอบ บุคคลภายนอกให้ใช้ใบมอบอำนาจ สั่งจ่ายผู้มอบอำนาจ ต้องได้รับอนุมัติจากผู้เบิกก่อน
83
การจ่ายเงิน ให้ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ในหลักฐานการ
จ่ายให้ผู้จ่ายเงินลงลายมือชื่อรับรองการจ่าย เงินพร้อมชื่อผู้จ่ายตัวบรรจง และวันเดือนปี ที่จ่ายกำกับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงินทุกฉบับ
84
การจ่ายเงิน การจ่ายเงินทุกรายการต้องบันทึกรายการ ในระบบในวันที่จ่าย
ทุกสิ้นวันผู้ได้รับมอบหมายต้องตรวจสอบ รายการจ่ายเงินที่บันทึกไว้ในระบบ GFMIS กับหลักฐานการจ่ายในวันนั้น (ข้อ38) ต้องถือปฏิบัติทุกวัน
85
หลักฐานการจ่าย ใบเสร็จรับเงิน
ใบสำคัญรับเงิน (กรณีเจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิไม่มีบร.) ใบรับรองการจ่าย(ใบรับรองแทนใบเสร็จ) (กรณีไม่อาจเรียก บร.ได้) กรณีกรมบัญชีกลางจ่ายเงินตรงให้เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิ ให้ใช้รายงานในระบบตามที่กระทรวงการคลังกำหนด เป็นหลักฐานการจ่าย (ข้อ 40)
86
สาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน
หลักฐานการจ่าย สาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน วัน เดือน ปี ที่รับเงิน รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร ลายมือชื่อผู้รับเงิน
87
หลักฐานการจ่าย กรณีส่วนราชการจ่ายเงินซึ่งไม่อาจเรียก บร.ให้ผู้รับเงินลง ชื่อรับเงินในใบสำคัญรับเงิน กรณี จนท.นำเงินไปจ่ายและไม่อาจเรียก บร. ให้ทำ ใบรับรองการจ่าย (ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน) โดยชี้แจง เหตุที่ไม่อาจเรียก บร.ได้ กรณี บร. มีสาระไม่ครบถ้วน ให้ จนท. ผู้จ่ายทำใบรับรอง การจ่าย และแนบ บร.นั้น ประกอบการตรวจสอบด้วย กรณี ขรก/ล.จ สำรองเงินส่วนตัวจ่ายก่อน และไม่อาจ เรียก บร.ได้ ให้ ทำใบรับรองการจ่ายเสนอต่อผู้มีอำนาจ เมื่อได้รับคืนให้ลงชื่อรับเงินใน ใบสำคัญรับเงิน
88
(ส่วนราชการเป็นผู้ให้)
ที่ (ส่วนราชการเป็นผู้ให้) ใบสำคัญรับเงิน วันที่ เดือน พ.ศ ข้าพเจ้า อยู่บ้านเลขที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ได้รับเงินจากแผนกการ จังหวัด ดังรายการต่อไปนี้ รายการ จำนวนเงิน บาท จำนวนเงิน ลงชื่อ
89
ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน
แบบ บก.111 ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน ส่วนราชการ วัน เดือน ปี รายละเอียดรายจ่าย จำนวนเงิน หมายเหตุ รวมทั้งสิ้น รวมทั้งสิ้น (ตัวอักษร ) ข้าพเจ้า ตำแหน่ง กอง ขอรับรองว่ารายจ่ายข้างต้นนี้ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับได้ และข้าพเจ้าได้จ่ายไปในนามของราชการโดยแท้ (ลงชื่อ) ………… วันที่
90
ใบรับรองการจ่าย (บก.111) 1. การจ่ายเงินในต่างประเทศ ซึ่งกม.หรือประเพณีนิยมของประเทศนั้น ๆ ไม่ต้องออกใบเสร็จ หรือ ออกให้แต่ไม่เป็นไปตามที่กระทรวงการกำหนด กรณีซึ่งตามลักษณะไม่อาจเรียกใบเสร็จได้ ค่าไปรษณียากร ค่ารถประจำทาง ค่าเรือรับจ้าง ใบสำคัญรับเงินสูญหาย ใบเสร็จรับเงินสูญหายไม่อาจขอสำเนาได้ ใบเสร็จรับเงินสาระไม่ครบ 5 ประการ
91
หลักฐานการจ่ายสูญหาย
กรณีสูญหายหลังจากเบิกเงินจากคลังแล้ว บร.สูญหายให้ใช้สำเนา และผู้รับเงินรับรอง หลักฐานการจ่ายอื่นสูญหาย ( เช่น ใบสำคัญรับเงิน) หรือไม่อาจเรียกบร.ได้ ให้ผู้จ่ายทำใบรับรองการจ่าย โดยชี้แจงเหตุผล พฤติการณ์ที่สูญหายหรือไม่อาจ เรียกสำเนา บร.ได้ เสนอผู้หน.หน่วยงานเพื่อ พิจารณาอนุมัติ
92
หลักฐานการจ่ายสูญหาย
กรณีหลักฐานการจ่ายสูญหายก่อนเบิก บร.หายให้ขอสำเนา บร. ไม่อาจขอสำเนา บร.ได้ให้ทำใบรับรองและชี้ แจงเพิ่มเติมว่ายังไม่เคยนำมาเบิกและหากพบ ก็จะไม่นำมาเบิก ก่อนขออนุมัติหน.ส่วนราชการ เมื่อจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิให้ลงชื่อในใบสำคัญรับเงิน เพื่อเป็นหลักฐานการจ่าย
93
ให้จ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นการจ่ายที่วงเงินต่ำ
วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน ให้จ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นการจ่ายที่วงเงินต่ำ กว่า 5,000 บาท จะจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ กรณีซื้อ/เช่า/จ้าง ให้ออกเช็คในนาม “เจ้าหนี้” ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และ ขีดคร่อม กรณีอื่นให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้/ผู้มี สิทธิ ขีดฆ่า คำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และ จะขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้
94
กรณีสั่งจ่ายเช็คเพื่อขอรับเงินสดมาจ่ายให้
วิธีปฏิบัติในการจ่ายเช็ค กรณีสั่งจ่ายเช็คเพื่อขอรับเงินสดมาจ่ายให้ ออกเช็คสั่งจ่ายในนาม จนท.การเงิน และฆ่า คำว่า “หรือผู้ถือ” ออกห้ามออกเช็คจ่ายเงินสด การเขียนจำนวนเงินในเช็คที่เป็นตัวเลขและ ตัว อักษรให้เขียนชิดคำว่า “บาท” หรือขีดเส้นหน้า จำนวนเงิน หรือขีดเส้นทั้งหน้าและหลังตัวอักษร
95
การเบิกจ่าย เงินยืม
96
การจ่ายเงินยืม มี 2 ประเภท เงินงบประมาณ 2. เงินทดรองราชการ
เงินยืม หมายถึง เงินที่ส่วนราชการจ่ายให้แก่ บุคคลใด ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติ ราชการอื่น การจ่ายเงินยืม มี 2 ประเภท เงินงบประมาณ 2. เงินทดรองราชการ 3. เงินนอกงบประมาณ
97
เงินยืมงบประมาณ 1. รายการค่าจ้างชั่วคราว สำหรับค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่าย เป็นงวดแน่นอนเป็นประจำ แต่จำเป็นต้องจ่ายให้ลูกจ้างแต่ ละวันหรือแต่ละคราวเมื่อเสร็จงานที่จ้าง 2. รายการค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 3. รายการค่าสาธารณูปโภค เฉพาะค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข 4. งบกลาง เฉพาะที่จ่ายเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาบุตร เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว 5. งบรายจ่ายอื่น ๆ ที่จ่ายในลักษณะเกี่ยวกับ (1) (2) (3)
98
เงินยืมทดรองราชการ 1. งบบุคลากร เฉพาะค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่ายเป็นงวดแน่นอนเป็นประจำแต่จำเป็นต้องจ่ายให้ลูกจ้างแต่ละวันหรือ แต่ละคราวเมื่อเสร็จงานที่จ้าง 2. งบดำเนินงาน ยกเว้น ค่าไฟฟ้า 3. งบกลาง เฉพาะที่จ่ายเป็นเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตรและค่ารักษาพยาบาล 4. งบอื่นที่จ่ายในลักษณะเช่นเดียวกับ (1) และ (2)
99
เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง/UC) จ่ายได้ตามวัตถุประสงค์ของ เงินนั้น ๆ
การจ่ายเงินยืม เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง/UC) จ่ายได้ตามวัตถุประสงค์ของ เงินนั้น ๆ ยกเว้นกรณีเร่งด่วน ต้องได้รับอนุมัติจากหน.ส่วน
100
กรณีผู้ยืมไม่มีเงินใด ๆ ที่ส่วนราชการจะหักคืนเงิน
การจ่ายเงินยืม กรณีผู้ยืมไม่มีเงินใด ๆ ที่ส่วนราชการจะหักคืนเงิน ยืมได้ ผู้ยืมต้องนำหลักทรัพย์วางประกันหรือหา บุคคลตามที่ กค.กำหนดมาทำสัญญาค้ำประกัน
101
วิธีปฏิบัติ ทำสัญญาเงินยืมตามแบบ กค. กำหนด 2 ฉบับ พร้อมประมาณการ
การจ่ายเงินยืม ทำสัญญาเงินยืมตามแบบ กค. กำหนด 2 ฉบับ พร้อมประมาณการ แสดงประมาณการค่าใช้จ่าย และกำหนด ส่งคืน (ยืมเท่าที่จำเป็น) ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจตามระเบียบ ห้ามให้ยืมรายใหม่โดยยังไม่ได้ชำระหนี้เก่า วิธีปฏิบัติ
102
การยืมเงินสำหรับ คชจ.ไปราชการให้ใช้จ่ายได้ไม่
การจ่ายเงินยืม การจ่ายเงินยืมไปราชการที่คาบเกี่ยวปีงปม.ปัจจุบันถึงปี งปม.ถัดไป โดยให้ถือเป็นรายจ่ายปีปัจจุบันและให้ใช้จ่ายเงินยืมคาบเกี่ยวปีงปม.ถัดไป ดังนี้ การยืมเงินสำหรับ คชจ.ไปราชการให้ใช้จ่ายได้ไม่ เกิน 90 วัน นับแต่วันเริ่มปี งปม.ใหม่ เงินยืมสำหรับปฏิบัติราชการอื่นให้ใช้จ่ายได้ไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันเริ่มปี งปม.ใหม่
103
ผู้มีอำนาจอนุมัติให้ยืมเงิน
1. ส่วนราชการส่วนกลาง : หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของ งบประมาณระดับกรม หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ระดับ 7 ขึ้นไป 2. หน่วยงานสังกัดส่วนกลาง : หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของ งบประมาณมอบอำนาจให้หัวหน้าหน่วยงานอยู่ในภูมิภาค 3. ส่วนราชการในภูมิภาค : หัวหน้าส่วนราชการในภูมิภาค การจ่ายเงินยืมเพื่อเป็นคชจ.ไปราชการ ให้จ่ายได้ไม่เกิน 90 วันหากยืมเกินต้อง ขอตกลงกระทรวงคลัง
104
การใช้อำนาจอนุมัติการจ่าย
ที่ กค ว.114 ลว. 3 พฤศจิกายน 2552 เรื่อง “แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุมัติการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ ค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษาของบุตรและค่าเช่าบ้านข้าราชการ” ผู้ได้รับมอบอำนาจอนุมัติการจ่าย ไม่มีสิทธิอนุมัติการจ่ายให้ตัวเอง เนื่อง จากการอนุมัติการจ่ายเงิน ถือเป็นคำสั่งทางปกครอง ตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง พ.ศ มาตรา 13(1) เนื่องจากคู่กรณีเป็น ตนเองและมีส่วนได้เสียในคำสั่งทางปกครอง ดังนั้นต้องให้ผู้มีอำนาจที่ มอบหมายเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ หรือบุคคลอื่นในส่วนราชการเดียวกันที่ หน.ส่วนราชการผู้มอบมอบหมายให้เป็นผู้ใช้อำนาจอนุมัติสิทธิของผู้นั้นแทน
105
การรับคืนเงินยืม ออกใบรับใบสำคัญ (ตามแบบ กค.กำหนด)
ออกใบเสร็จรับเงิน (เงินเหลือจ่าย) บันทึกการรับคืนในสัญญายืมเงิน
106
ยืมไปราชการประจำต่าง สนง. หรือเดินทาง
กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน ยืมไปราชการประจำต่าง สนง. หรือเดินทาง ไปรับราชการประจำต่างประเทศหรือเดินทาง กลับภูมิลำเนาให้ส่งคืนทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ธนาณัติ ภายใน 30 วัน นับจากวันรับเงิน เดินทางไปราชการอื่นชั่วคราว ภายใน 15 วัน นับจากวันเดินทางกลับ ยืมปฏิบัติราชการอื่นๆ ภายใน 30 วัน นับ จากวันรับเงิน
107
สัญญาเงินยืมที่ครบกำหนดแล้วให้เร่งรัดและ
กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน สัญญาเงินยืมที่ครบกำหนดแล้วให้เร่งรัดและ ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาเงินยืมอย่างช้าไม่ เกิน 30 วัน นับแต่วันครบกำหนด และรายงาน หน.พิจารณาสั่งการบังคับตามสัญญาเงินยืม
108
กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน
กรณี บค. มีเหตุทักท้วงผู้ยืมต้องแก้ไขให้ถูกต้องภายใน 15 วัน นับจากวันที่ได้รับการทักท้วง หากไม่ส่งคืนและ ไม่ชี้แจงให้ดำเนินการตามเงื่อนไขสัญญา โดยถือว่า ผู้ยืมยังไม่ส่งใช้เท่าจำนวนที่ทักท้วง
109
การรับเงิน การรับเงินบริจาคต้องออกใบเสร็จรับเงิน
ออกใบเสร็จรับทุกครั้งที่มีการรับเงินสด เช็ค ดร๊าฟ การรับเงินบริจาคต้องออกใบเสร็จรับเงิน บันทึกการรับเงินในระบบในวันที่รับเงินนั้น
110
การรับเงิน เจ้าหน้าที่ที่รับเงินต้องได้รับแต่งตั้ง
กรณีรับเงินหลังปิดบัญชีให้บันทึกรับในระบบใน วันทำการถัดไป เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงิน ให้จนท.ผู้จัดเก็บเงิน ต้อง นำส่ง จนท. การเงิน เจ้าหน้าที่การเงินต้องจัดทำรายงานเงินคงเหลือ ประจำวันเพื่อให้กรรมการตรวจนับ การจ่ายใบเสร็จให้จนท.ไปจัดเก็บเงิน ให้มีหลักฐานการ รับส่งใบเสร็จนั้นไว้ด้วย กรณียกเลิกใบเสร็จ ต้องนำติดไว้กับสำเนาในเล่ม
111
การรับเงิน ให้มีการตรวจสอบจำนวนเงินที่ จนท.จัดเก็บและนำส่ง
กับหลักฐานและข้อมูลการรับที่บันทึกในระบบว่าถูกต้อง ครบถ้วน (ข้อ 78) เมื่อตรวจสอบถูกต้องแล้วให้แสดงยอดรวมทั้งสิ้น ตาม บร. ที่รับในวันนั้นไว้ในสำเนา บร.ฉบับสุดท้ายและ ลงลายมือชื่อกำกับ
112
ใบเสร็จรับเงิน 1. ใช้ตามแบบ กค.หรือที่ได้รับความเห็นชอบ
2. จัดทำทะเบียนคุม 3. ใช้เฉพาะภายในปีงบประมาณ 4. รายงานภายในวันที่31 ตุลาคม ของปีงบประมาณถัดไป 5. เก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย กรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังไม่ได้ใช้สูญหาย 1. แจ้งความนับแต่ทราบว่าหาย 2. ติดประกาศยกเลิกไว้ในที่พบเห็นและตรวจสอบได้ง่าย 3.ทำหนังสือแจ้งเวียนการยกเลิกให้ส่วนราชการต่างๆ ทราบ
113
การเก็บรักษาเงิน การแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินระดับ 3 หรือ
เทียบเท่าในส่วนราชการนั้นอย่างน้อย 2 คน การแต่งตั้งกรรมการสำรองกรณีกรรมการไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้
114
การเก็บรักษาเงิน เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงินให้จนท.การเงินจัดทำราย
งานเงินคงเหลือ และส่งมอบให้กรรมการตรวจนับ กรรมการตรวจนับเงินสดคงเหลือ/เอกสารแทน ตัวเงิน ถูกต้องครบถ้วนตามรายงานเงินคงเหลือ ประจำวัน แล้วลงลายมือกรรมการทุกคน ก่อนเสนอ หน.หน่วยงาน
115
การเก็บรักษาเงิน ในวันทำการถัดไป ให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
มอบเงินให้ จนท. การเงิน ลงลายมือชื่อรับเงินไว้ ในรายงานเงินคงเหลือประจำวันด้วย
116
การนำเงินส่งคลัง เงินที่เบิกจากคลัง หากจ่ายไม่หมดหรือไม่ได้จ่ายให้นำส่ง คืนคลังภายใน 15 วันทำการ นับจากวันที่รับเงินจากคลัง และเงินที่จ่ายแล้วหากมีการเรียกคืนให้ส่งคืนคลังภายใน 15 วัน นับจากวันเรียกคืน เงินรายได้แผ่นดินให้นำส่งเดือนละ 1 ครั้ง หากวันใดเกิน 10,000 บาท ให้นำส่งภายใน 3 วันทำการถัดไป ผู้มีหน้าหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องนำส่งภายในวันที่ 7 เดือนถัดไป เงินนอกงบประมาณให้นำฝากคลังอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง
117
การจัดทำรายงาน รายงานประจำวัน รายงานเงินคงเหลือประจำวัน
รายงานประจำเดือน งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร งบทดลอง รายงานรายได้และค่าใช้จ่าย รายงานเงินประจำงวด
118
การจัดทำรายงาน รายงานประจำปี งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการดำเนินงาน
งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน
119
ความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
ผู้จ่ายเงินที่ทำหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ไม่นำเงินส่ง ภายในกำหนด จะต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน ผู้ทำหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ต้องรับผิดทางอาญาถูกปรับไม่เกิน ผู้ที่เจตนาละเลยไม่ยื่นรายการ เพื่อหลีกเลี่ยงต้อง ระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งปรับ ทั้งจำ
120
ค่าใช้จ่ายเดินทาง ไปราชการ ………….. ฉบับปรับปรุงล่าสุด
121
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550
กฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการพ.ศ ปรับปรุงฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553 และ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
122
ลักษณะการเดินทาง ไปราชการชั่วคราว ไปราชการประจำ กลับภูมิลำเนา 1 2 3
123
ลักษณะการเดินทาง ไปราชการชั่วคราว ไปราชการประจำ การไปราชการลักษณะประจำ
ระยะเวลาสั้น มีกำหนดแน่นอน เนื้องานเสร็จสิ้น เมื่อครบกำหนดเวลา ไปราชการประจำ มีอัตรา ณ สำนักงานแห่งใหม่ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับบรรจุ (สอบเลื่อนระดับ) การไปราชการลักษณะประจำ เจตนาให้ไปอยู่นาน/ตลอดไป ไม่มีอัตราว่าง ลักษณะงานไม่สิ้นสุด/มีระยะเวลานาน
124
การเดินทางไปราชการในประเทศชั่วคราว
การไปปฎิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสำนักงาน ไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือก ไปช่วยราชการ/รักษาการในตำแหน่ง/รักษาราช การแทน ข้าราชการประจำต่างประเทศมาราชการในไทย การเดินทางข้ามแดนชั่วคราวตามข้อตกลงระหว่าง ประเทศ การไปปฎิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสำนักงาน ไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือก ไปช่วยราชการ/รักษาการในตำแหน่ง/รักษาราช การแทน ข้าราชการประจำต่างประเทศมาราชการในไทย การเดินทางข้ามแดนชั่วคราว
125
บุคคลภายนอก ที่มอบหมายให้มาช่วยราชการ
บุคคลผู้มีสิทธิ ข้าราชการ มี 8 ประเภท ข้าราชการการเมือง เทียบเท่าระดับข้าราชการ บุคคลภายนอก ที่มอบหมายให้มาช่วยราชการ
126
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ชั่วคราว
เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่อง จากการเดินทางไปราชการ
127
การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอกหรือข้าราชการ
ประเภทอื่นเป็นอำนาจของกระทรวงการคลัง เพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการเบิกค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการตามพระราชกฤษฎีกา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 (มาตรา 7)
128
หลักเกณฑ์การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอก ซึ่งมิได้เป็นข้าราชการ
1. มีกฎหมายอื่นกำหนดสิทธิไว้สูงกว่าระดับที่ กค. เทียบ ให้ใช้สิทธิใน ระดับตำแหน่งที่กฎหมายนั้นกำหนด 2. ตำแหน่งนอกเหนือจากที่ กค. ได้เทียบไว้แล้วให้อยู่ในดุลพินิจของ หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ โดยคำนึงถึง ตำแหน่ง หน้าที่ปัจจุบัน คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย 3. หากต้องการเบิกสูงกว่าระดับที่ กค. ได้เทียบไว้ ให้ขอตกลงกับ กค.
129
การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอก
ที่ กค /ว104 ลว.22 กย.51 เทียบตำแหน่งสำหรับ ข้าราชการการเมืองและ ข้าราชการรัฐสภาฝ่าย การเมือง พนักงานรัฐวิสาหกิจ คณะสื่อมวลชล ลูกจ้าง พนักงานราชการ ที่ กค /ว105 ลว.22 กย.51 เทียบตำแหน่งสำหรับ ข้าราชการท้องถิ่น ผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง ของท้องถิ่น
130
พนักงานราชการ กลุ่มงานบริการ / เทคนิค = ซี 1-2
กลุ่มงานบริการ / เทคนิค = ซี 1-2 กลุ่มงานบริหารทั่วไป = ซี 3 – 8 กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ/ เชี่ยวชาญเฉพาะ = ซี 3 – 8 ยกเว้น ผู้ได้รับค่าตอบแทนอัตราสูงสุด = ซี 9
131
พนักงานราชการ กลุ่มงานบริการ / เทคนิค = ระดับปฏิบัติงาน
ใหม่ กลุ่มงานบริการ / เทคนิค = ระดับปฏิบัติงาน กลุ่มงานบริหารทั่วไป เริ่มรับราชการ-9 ปี = ระดับปฏิบัติการ 10-17 ปี = ระดับชำนาญการ 17 ปี ขึ้นไป = ชำนาญการพิเศษ
132
ค่าใช้จ่ายเดินทาง ปรับปรุงฉบับที่ 7
ม. 8 สิทธิการเบิกค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ ได้รับอนุมัติให้เดินทาง/ออกจากราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติระยะเวลาก่อน/หลัง ตามความจำเป็น/เหมาะสม ม.8/1 ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ลากิจ ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการเดิน ทางด้วย
133
ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (เหมาจ่าย)
ประเภท : ระดับ อัตรา / บาท ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น 240 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง 270
134
ข้อสังเกตตามกฤษฎีกา ฯ
ม ได้รับเบี้ยเลี้ยงประจำแล้ว ให้งดเบิกเบี้ย เลี้ยงเดินทางไปราชการอีก ม.18 การเบิกเบี้ยเลี้ยงไปราชการเรื่องหนึ่งเรื่องใดใน สถานที่ปฏิบัติราชการแห่งเดียวกัน ให้ได้เพียงไม่เกิน 120 วัน ถ้าเกินให้ขออนุมัติปลัดฯ ทั้งนี้ให้พิจารณา ถึงความ จำเป็นและประหยัด
135
การนับเวลา ( ม. 16) ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือ
กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่งวัน กรณีลากิจ/พักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการให้ นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ กรณีลากิจ/พักผ่อน หลังเสร็จสิ้นปฏิบัติราชการ ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ
136
ค่าเช่าที่พัก (ม.17) ค่าเช่าที่พัก หมายถึง ค่าเช่าห้องพักในโรงแรม
ค่าเช่าที่พัก หมายถึง ค่าเช่าห้องพักในโรงแรม หรือที่พักแรม ห้ามเบิก กรณี พักในยานพาหนะ ทางราชการจัดให้ ท้องที่มีค่าครองชีพสูง/แหล่งท่องเที่ยว หัวหน้าส่วน ราชการอนุมัติเบิกเพิ่มได้ไม่เกิน 25% เบิกเพิ่มต้อง พักจริงมีหลักฐานแสดง
137
ค่าเช่าที่พัก ข้าราชการ จ่ายจริง เหมาจ่าย พักคนเดียว พักคู่ C8ลงมา
1,500 850 800 C9 2,200 1,200 C10ขึ้นไป 2,500 1,400 - เงื่อนไข จ่ายจริง C8 ลงมาให้พักคู่ เว้นแต่ไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจำเป็น กรณีไม่เลือกจ่ายจริงให้เลือกเหมาจ่ายได้ กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะให้เลือกเบิก ในลักษณะเดียวกันทั้งคณะ
138
ค่าพาหนะ ค่าโดยสาร ค่ายานพาหนะรับจ้าง
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของของผู้เดินทาง นิยามพาหนะประจำทาง บริการทั่วไปประจำ เส้นทางแน่นอน ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน
139
ยกเว้น หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะประจำทาง ไม่มีพาหนะประจำทาง
ปกติ ให้ใช้ยานพาหนะประจำทางเบิกเท่าที่จ่ายจริงและประหยัด ไม่มีพาหนะประจำทาง มีแต่ต้องการความรวดเร็วเพื่อ ประโยชน์ราชการ ใช้พาหนะอื่นได้ (พาหนะรับจ้าง) แต่ต้องชี้แจงเหตุผล ความจำเป็น ยกเว้น
140
ค่าพาหนะรถไฟ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ประเภทรถด่วน ด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1
นั่งนอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) เบิกได้เฉพาะ ระดับ 6 ขึ้นไป ทั่วไป : ชำนาญงาน อาวุโส ทักษะพิเศษ วิชาการ : ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : ต้น สูง บริหาร : ต้น สูง
141
- รถโดยสารประจำทางธรรมดา - รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2
ประเภทรถ ผู้มีสิทธิเบิก - รถโดยสารประจำทางธรรมดา - รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 - รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 - รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 ชนิด ไม่เกิน ที่นั่ง ข้าราชการทุก ระดับ
142
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าพาหนะ
รับจ้าง (TAXI) ไม่มียานพาหนะประจำทาง มีพาหนะประจำทางแต่มีเหตุจำเป็นและต้องชี้แจง ระดับ 6 ขึ้นไป ไป-กลับระหว่างที่พักหรือที่ทำงานกับสถานี/ สถานที่จัดยานพาหนะ ไป-กลับระหว่างที่พักกับที่ทำงานในเขต จังหวัดเดียวกัน (ยกเว้น การสอบคัดเลือก) ไปราชการในเขต กทม. ระดับ 5 ต้องมีสัมภาระ 1 2 3 4 ใหม่ 5-6 อยู่ในบล็อกเดียวกันในตำแหน่งประเภททั่วไป ได้สิทธิเท่าระดับ 6
143
ค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด
ระดับ 6 ขึ้นไปเบิกได้ กรณีไป-กลับ ระหว่างที่พัก/ที่ทำงาน กับสถานี/สถานที่จัดยานพาหนะ ภายในจังหวัดเดียวกันไม่กำหนดวงเงิน ข้ามเขตจังหวัด เขตติดต่อ หรือผ่านกทม. เที่ยวละไม่เกิน บาท เขตติดต่อ จังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน บาท
144
พาหนะส่วนตัว ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง
รถยนต์ จักรยานยนต์ ส่วนบุคคลไม่ว่าจะเป็นกรรมสิทธิของผู้เดินทางหรือไม่ พาหนะส่วนตัว ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง เบิกค่าน้ำมันชดเชยเหมาจ่าย รถยนต์ส่วนบุคคล กม. ละ 4 บาท รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท การคำนวณระยะทาง ให้คำนวณตามระยะทาง ของกรมทางหลวงในระยะสั้นและตรง/ถ้าไม่มี ให้ผู้เดินทางรับรอง
145
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ ปรับปรุงฉบับที่ 8
ผู้เดินทางถึงแก่ความตายระหว่างเดินทางไปราชการ กรณีส่งศพกลับ ให้เบิกค่าพาหนะและค่าใช้จ่ายอื่น ได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินเส้นทาง ท้องที่รับราชการ ท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย
146
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ
ค่าพาหนะเดินทางไปปลงศพ ไป-กลับ เบิกได้สำหรับคู่สมรส บุตร บิดา มารดาของผู้ตาย ไม่เกินสามคน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามสิทธิของผู้ตาย เว้นแต่ ผู้เดินทางเป็นผู้มีสิทธิ เบิกค่าใช้จ่ายเดินทาง สูงกว่าสิทธิของผู้ตาย ให้เบิกตามสิทธิของผู้นั้นไม่เกินเส้นทางท้องที่ที่รับราชการ ท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย ถ้าเบิกให้ผู้จัดการศพ เบิกได้เพียงคนเดียว
147
โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 แก้ไข (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 โดย....กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
148
คำนิยาม บุคลากรของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการทุกประเภท พนักงาน
บุคลากรของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการทุกประเภท พนักงาน ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
149
คำนิยาม เจ้าหน้าที่ หมายความว่าบุคลากรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานตามระเบียบฝึกอบรม (ผู้จัด) และหมายถึงบุคคลอื่นที่ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานรวมทั้ง จนท. รปภ. ด้วย
150
นิยาม การฝึกอบรม อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ)
นิยาม การฝึกอบรม อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ) บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน การดูงาน มีโครงการ / หลักสูตร ซึ่งมีช่วงเวลาจัดที่แน่นอน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากร /เพิ่มประสิทธิ ภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญา / ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมทำงาน
151
การดูงาน หมายถึง การเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์
การดูงาน หมายถึง การเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ ด้วยการสังเกตการณ์ ซึ่งกำหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตร การฝึกอบรมหรือกำหนดไว้ในแผนการจัดประชุมระหว่าง ประเทศให้มีการดูงานก่อน ระหว่าง หรือหลังการฝึกอบรม หรือประชุมระหว่างปะเทศและให้รวมถึงโครงการหรือ หลักสูตรที่มีเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่หน่วยงาน ของรัฐจัด
152
การฝึกอบรมบุคคลภายนอก
ประเภทการฝึกอบรม การฝึกอบรมประเภท ก. การฝึกอบรมประเภท ข. การฝึกอบรมบุคคลภายนอก
153
การเทียบตำแหน่ง ประธาน แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม
การเทียบตำแหน่ง ประธาน แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้สังเกตการณ์ ที่ไม่ได้เป็นบุคลาของรัฐ เพื่อเบิกค่าใช้จ่ายตามระเบียบฝึกอบรม บุคคลที่เคยดำรงตำแหน่งครั้งสุดท้ายก่อนออกจากราชการ 2. บุคคลที่เคยขอเทียบตำแหน่งจาก กค. วิทยากรให้พิจารณาจากระดับการฝึกอบรม ประเภท ก ให้เทียบตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอกให้เทียบ วิทยากรตำแหน่งอำนวยการระดับต้น (เว้นถ้าเดิมสูงกว่า) นอกเหนือจากบุคคลดังกล่าวให้หน.ส่วนราชการพิจารณาตามความเหมาะตามหลักการเทียบข้อ 2
154
การเทียบตำแหน่ง ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
การเทียบตำแหน่ง ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ไม่ได้เป็นบุคลากรของรัฐ (บุคคลภายนอก) การอบรมประเภท ก เทียบได้บริหารระดับสูง การอบรมประเภท ข เทียบได้บริหารระดับต้น บุคลากรของรัฐเบิกตามสิทธิตัวเอง (อบรมร่วมกับบุคลากรของรัฐ)
155
ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม แบ่งเป็น 2 ส่วน ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการ
ผู้จัด ค่าจ่ายฝึกอบรมของ ผู้เข้ารับการอบรม
156
ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัด
1. ค่าใช้และตกแต่งสถานที่ 2. ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด-ปิด 3. ค่าวัสดุ เครื่องเขียนอุปกรณ์ 4. ค่าประกาศนียบัตร 5. ค่าถ่ายเอกสาร 6. ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ 7. ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้าอบรม 8. ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร 9. ค่าเช่าอุปกรณ์ 10.ค่าอาหาร อาหารว่าง เครื่องดื่ม 11. ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสาร ไม่เกิน 300.- 12. ค่าของสมนามคุณดูงาน ไม่เกิน แห่งละ 1,500.- 13. ค่าวิทยากร 14. ค่าที่พัก 15. ค่าพาหนะ นอกเหนือจาก ที่กำหนดให้ขอตกลง กระทรวงการคลัง ปรับปรุงฉบับที่ 3
157
ค่าอาหารว่าง-เครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก
ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัด ค่าอาหารว่าง-เครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก ได้รับการยกเว้นไม่ต้องดำเนินการตามระเบียบพัสดุ (กค /ว193 ลว.8 มิย.52) หลักฐานประกอบการเบิกจ่าย ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน ใบรับรองการจ่ายเงิน (ใบรับรองแทนใบเสร็จ)
158
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดผู้จัดเป็น ผู้จ่าย เว้นแต่ผู้จัดร้องขอ และ
บุคคลผู้มีสิทธิ (ตามข้อ 10) ประธานในพิธีเปิดปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้สังเกตการณ์ 1 2 3 4 ผู้ติดตามเป็นใครก็ได้ เช่น พขร.ที่มากับประธานเปิด-ปิด ก็ถือเป็นผู้ติดตามได้ หากจะขอเบิกค่าใช้จ่ายตามระเบียบอบรม แต่ พขร.มากับผู้อบรมไม่ถือว่าเป็นผู้ติดตาม ค่าใช้จ่ายทั้งหมดผู้จัดเป็น ผู้จ่าย เว้นแต่ผู้จัดร้องขอ และ ต้นสังกัดยินยอม 5
159
นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม
การนับเวลาบรรยาย นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่าง แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรมต้องไม่น้อยกว่า 50 นาที ชั่วโมงการฝึกอบรมไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง
160
ใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากรเป็น
หากมีความจำเป็นต้องจ่ายสูงกว่ากำหนดเนื่องจากวิทยากรมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เป็นพิเศษให้อยู่ในดุลพินิจ หน.ส่วนราชการ วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐไม่ว่าจะสังกัดส่วนราชการเดียวกับผู้จัดหรือไม่ให้ได้รับค่าตอบแทนวิทยากรได้ไม่เกินอัตราที่กระทรวง การคลังกำหนด การจ่ายค่าพาหนะรับจ้างไป–กลับของวิทยากร กรณีวิทยากรมีถิ่นที่อยู่ในท้องที่เดียวกับสถานที่จัดอบรม แทนการจัดรถรับ-ส่ง ใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากรเป็น หลักฐานการจ่าย
161
การเบิกค่าพาหนะในการฝึกอบรม
การเบิกจ่ายค่าพาหนะเดินทางไป-กลับระหว่าง ที่พักไปสถานที่ฝึกอบรม (ของบุคคลตามข้อ 10) ให้อยู่ในดุลพินิจของหน.ส่วนราชการผู้จัด ฝึกอบรมหรือส่วน ราชการต้นสังกัด ผู้จัดควรประสานที่พักให้ใกล้กับที่อบรม หรือให้พักในโรงแรมที่จัดอบรม เพื่อประหยัดค่าพาหนะ
162
ใบสำคัญรับเงิน สำหรับวิทยากร
ชื่อส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรม โครงการ / หลักสูตร วันที่ เดือน พ.ศ ข้าพเจ้า อยู่บ้านเลขที่ ตำบล/แขวง อำเภอ จังหวัด ได้รับเงินจาก ดังรายการต่อไปนี้ รายการ จำนวนเงิน รวม จำนวนเงิน ( ) (ลงชื่อ) ผู้รับเงิน (ลงชื่อ) ผู้จ่ายเงิน
163
หลักเกณฑ์การจัดที่พัก/และค่าอาหาร
การจัดที่พักให้ผู้สังเกตการณ์หรือ จนท. ระดับ 8 ลงมา ให้พักคู่ เว้น แต่ไม่เหมาะสม หน.ส่วนราชการพิจารณา การจัดที่พักให้ผู้สังเกตการณ์หรือ จนท. ระดับ 9 ขึ้นไป ให้พักเดี่ยวได้ การจัดที่พักให้ประธานเปิด-ปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตามหรือวิทยากร ให้พักเดี่ยวหรือคู่ก็ได้ โดยเบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กระทรวง การคลังกำหนด การจัดอาหารให้ประธานเปิด-ปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม หรือ วิทยากรให้เบิกจ่ายค่าอาหารได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ กค.กำหนด
164
หลักเกณฑ์การจัดยานพาหนะ (บุคคล ข้อ 10)
ใช้ยานพาหนะของส่วนราชการผู้จัด / ยืมจากส่วนราชการ อื่น/ หน่วยงานอื่น เบิกค่าน้ำมันเท่าที่จ่ายจริง ใช้ยานพาหนะประจำทาง / เช่าเหมายานพาหนะ ให้จัดยานพาหนะ ตามระดับการฝึกอบรมตามสิทธิกฤษฎีกา คชจ. ดังนี้ จัดอบรม ประเภท ก ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท บริหารระดับสูง เว้นแต่เดินทางโดยเครื่องบินให้ใช้ชั้นธุรกิจ แต่ถ้าไม่สาสามารถเดินทางชั้นธุรกิจได้ให้ใช้ชั้นหนึ่ง จัดอบรม ประเภท ข ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท ทั่วไปชำนาญงาน จัดอบรม บุคคลภายนอก ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิ ประเภท ทั่วประดับปฏิบัติงาน ทั้งนี้ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด
165
ค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ สำหรับบุคคลภายนอก
ค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ สำหรับบุคคลภายนอก ถ้าผู้จัดไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ทั้งหมด หรือจัดให้ บางส่วน ให้จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยง ดังนี้ ไม่จัดให้ทั้ง 3 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน บาท จัดให้ 2 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน บาท จัดให้ 1 มื้อ ให้จ่ายไม่เกิน บาท ที่พักให้เบิกเหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท ค่าพาหนะจ่ายได้ตามสิทธิ ขรก.ประเภททั่วไประดับ (1-4) (ปรับปรุงฉบับที่ 3) หลักฐานการจ่ายใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับบุคคลภายนอก ที่ กค.กำหนด การฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดได้เฉพาะในประเทศเท่านั้น (ข้อ 9)
166
การคิดเบี้ยเลี้ยงในการฝึกอบรม
เลี้ยงอาหาร เบี้ยเลี้ยง วันที่สอง 2/3 วันสุดท้าย สิ้นสุดการอบรม เบี้ย เลี้ยง วันแรก
167
ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ค่าลงทะเบียน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามที่ผู้จัดเรียกเก็บ ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก พาหนะ กรณีค่าลงทะเบียนรวมค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ของผู้เข้าอบรมหรือผู้สังเกตการณ์ หรือผู้จัด จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะทั้งหมดให้งดเบิก หากไม่จัดให้ หรือจัดให้บางส่วน ให้เบิกส่วนที่ขาดได้ที่ต้นสังกัด (ตามหลักเกณฑ์ ข้อ 18)
168
การจัดฝึกอบรมและการเข้ารับการฝึกอบรม
การพิจารณาผู้เข้ารับการฝึกอบรม การจัดฝึกอบรมและการเข้ารับการฝึกอบรม ให้พิจารณาอนุมัติเฉพาะผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อส่วนราชการ ตามจำนวนที่เห็นสมควร โดยคำนึงถึง ความจำเป็น และเหมาะสมในการปฏิบัติงาน
169
ผู้จัดฝึกอบรมต้องประเมินผลการ
ฝึกอบรม และรายงานต่อ หน.ส่วน ราชการผู้จัดภายใน 60 วัน นับแต่ สิ้นสุดการฝึกอบรม สำหรับผู้เข้ารับการอบรมหรือผู้สังเกต การณ์ ต้องจัดทำรายงานผลการเข้ารับ การฝึกอบรมเสนอหน.ส่วนราชการภาย ใน 60 วัน นับแต่วันเดินทางกลับถึง สถานที่ปฏิบัติราชการ
170
ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
ต้องเป็นค่าใช้จ่ายจัดงานตามแผนงานโครงการตามภารกิจปกติ หรือตามนโยบาย ของทางราชการซึ่งต้องกำหนดไว้ในแผน การปฏิบัติราชการ วันสถาปนาของส่วนราชการ การจัดงานนิทรรศการ เช่น การจัดงานแถลงข่าว การจัดประกวดหรือแข่งขัน การจัดกิจกรรมต่างๆ หน.ส่วนราชการต้องพิจารณาอนุมัติการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสมและ ประหยัด
171
ตัวอย่างกิจกรรมการจัดงาน
การจัดแข่งขันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นคุณประโยชน์ในการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นงานตามแผนงานโครงการของกรมควบคุมมลพิษที่ได้รับจัดสรร เงินงบประมาณเพื่อดำเนินการควบคุมมลพิษ สามารถเบิกจ่ายเงินรางวัล ในการประกวดแข่งขันได้ กท.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดงานโครงการมหกรรม สัปดาห์ผู้สูงอายุแห่งชาติ และกำหนดให้มีการประกวดคำขวัญ/สุนทรพจน์ จะจ่ายค่าตอบแทนให้กรรมการตัดสินการประกวดและรางวัลผู้ชนะการ ประกวดก็สามารถเบิกได้
172
กรณีส่วนราชการมีภารกิจปกติหรือได้รับมอบหมายจากครม.หรือนายก
รัฐมนตรีให้ดำเนินการจัดงานหรือกิจกรรมในงานพระราชพิธี รัฐพิธี และ พิธีสำคัญ การเบิก คชจ. เช่น การทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของการจัดงาน แต่หากการทำบุญตักบาตรหากเป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้า ร่วมงานได้บุญร่วมกันก็ไม่ควรเบิกจ่ายคชจ.ส่วนนี้จากราชการ กรณีส่วนราชการจัดทำโครงการประกวดจนท.ในด้านการให้บริการปชช. โดยมีการนำเสนอผลงานหรือมีการประกวดในด้านให้ความรู้ ไม่ถือเป็นการ จัดงานตามภารกิจปกติเนื่องจากเป็นลักษณะการจัดงานประกวดแข่งขัน สำหรับจนท.บุคลากรภายในหน่วยงานของตน ซึ่งไม่ใช่การจัดงานตาม ภารกิจหลักของหน่วยงาน จึงไม่สามารถเบิกค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้ หรือกิจกรรมที่ครม.เห็นชอบ เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ เห็นชอบให้กระทรวงศึกษาจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ เห็นชอบให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ร่วมกันจัดงานสัปดาห์ส่งเสริมศาสนาและจริยธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติในหลวง หรือเห็นชอบให้กพ.กำหนดเป็นนโยบายจัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็นขรก.ที่ดีและพลังงานของแผ่นดินทุกปีในโอกาสวาระเฉลิมพระชนพรรษา
173
สำหรับการแข่งขันกีฬาสีภายในหน่วยงาน หรือการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์หรือประกวดแข่งขันภายในหน่วยงาน ไม่ถือเป็นการจัดงานตามภารกิจปกติของส่วนราชการ แต่เป็นการจัดสวัสดิการให้กับบุคลากรในหน่วยงานตามระเบียบสำนันายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 หรือกิจกรรมที่ครม.เห็นชอบ เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ เห็นชอบให้กระทรวงศึกษาจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ เห็นชอบให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ร่วมกันจัดงานสัปดาห์ส่งเสริมศาสนาและจริยธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติในหลวง หรือเห็นชอบให้กพ.กำหนดเป็นนโยบายจัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็นขรก.ที่ดีและพลังงานของแผ่นดินทุกปีในโอกาสวาระเฉลิมพระชนพรรษา
174
การจัดงานตามนโยบายของทางราชการ
หมายถึง กรณีที่คณะรัฐมนตรีมีมติหรือนายกรัฐมนตรีในฐานะผู้นำ ประเทศได้มอบหมายให้ส่วนราชการดำเนินการจัดงานหรือรับผิด ชอบในการจัดงานร่วมกับส่วนราชการหน่วยงานของรัฐหรือ ภาคเอกชน เช่น เห็นชอบให้กระทรวงศึกษาจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ เห็นชอบให้กพ.กำหนดเป็นนโยบายจัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็น ขรก.ที่ดีและพลังงานของแผ่นดินทุกปี
175
ลักษณะค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
ค่าเช่าสถานที่ ค่าเช่าเต้น ค่าตกแต่งสถานที่ ค่าภัตตาหารเลี้ยงพระ ค่าประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ค่าตอบแทน คกก.ตัดสินการประกวดแข่งขัน (เฉพาะวันที่จัดงาน) ค่าจ้างการแสดงในวันจัดงาน หรือค่าตอบแทนการแสดง (ไม่ใช่การจ้างตามร.พัสดุ) ค่าของที่ระลึกให้แก่ผู้เข้าร่วมงาน ค่าของขวัญ/ของรางวัล/เงินรางวัล (กรณีการประกวดแข่งขัน) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการจัดงาน รายการใดได้มาซึ่งพัสดุผู้จัดงานต้องดำเนินการตามระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ยกเว้นอาหารว่างเครื่องดื่ม อาหาร และค่าที่พัก
176
กรณีที่ส่วนราชการที่จัดงาน จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ
ให้ประธานพิธีเปิด แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม/ เจ้าหน้าที่หรือ ผู้เข้าร่วมงาน จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ตามอัตรา ฝึกอบรมที่ กค.กำหนด (ตามหลักเกณฑ์ฝึกอบรม) กรณีไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ให้ถือปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม ข้อ 18 (เบิกต้นสังกัด) ตัวอย่างการจัดงาน การจัดงานวันคล้อยวันสถาปนาของส่วนราชการ การจัดงานนิทรรศการ การจัดงานแถลงข่าว การจัดประกวดหรือแข่งขัน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ
177
การจ้างจัดงานให้ดำเนินการได้ตามหลักเกณฑ์
กรณีจ้างจัดงาน การจ้างจัดงานให้ดำเนินการได้ตามหลักเกณฑ์ และอัตราค่าใช่จ่ายตามระเบียบอบรม(ข้อ 26) วิธีการจัดจ้างทำตามระเบียบพัสดุ ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการจ่าย
178
ธรรมาภิบาล : การตรวจสอบภายใน
ยุทธศาสตร์ : การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ปีงบประมาณ 2559 ธรรมาภิบาล : การตรวจสอบภายใน
179
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่
เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด ดำเนินการตรวจสอบภายใน และประเมินระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนมีกระบวนการติดตามหน่วยงานที่ไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะรายงานการตรวจสอบภายใน - ภาคีเครือข่ายมีแผนการตรวจสอบภายในประจำปี - ภาคีเครือข่ายปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายใน - ภาคีเครือข่ายมีการกำกับ ติดตาม สอดคล้องกับนโยบาย สป. กำหนด หน่วยงานในสังกัด สป. มีกลไกการตรวจสอบภายในอย่างเป็นรูปธรรม คือ แผนการตรวจสอบภายในสอดคล้องนโยบาย สป. (5 กิจกรรม/ประเมินคภน.9 กระบวนงาน)
180
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่
เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ - มีการติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอ แนะของรายงานการตรวจสอบภายใน - มีหลักฐานเชิงประจักษ์การดำเนินการแก้ไข - มีการปฏิบัติตามแผน - มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการตรวจสอบเชิงผลผลิต ผลลัพธ์ - ข้อเสนอแนะตามรายงานการตรวจสอบภายในได้รับการแก้ไขทุกประเด็น
181
ขั้นตอนการนิเทศ ตรวจราชการ
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 1 แผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558/2559 แผนการตรวจสอบภายในประจำจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558/2559 ประกอบด้วย 1. กิจกรรมตรวจสอบ 5 กิจกรรม 1.1 ระบบบัญชีGFMIS/บัญชีเกณฑ์คงค้าง/รายงานการเงิน 1.2 พัสดุตามนโยบายธรรมาภิบาล (การจัดทำแผนการจัดซื้อ วิธีจัดซื้อ การควบคุมเก็บรักษา ) ได้แก่ ยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุสำนักงาน วัสดุวิทยาศาสตร์ วัสดุการแพทย์และจัดทำแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ 1.3 การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล/ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล 1.4 เจ้าหนี้ 1.5 ลูกหนี้เงินยืม
182
ขั้นตอนการนิเทศ ตรวจราชการ
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 2. ประเมินระบบการควบคุมภายใน - ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน - สุ่มกระบวนปฏิบัติงาน (นโยบายที่สำคัญ) 1) การจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน 3) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ 4) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุการแพทย์ 5) การจัดทำแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ (ปรับปี 58) 6) การควบคุม เก็บรักษา (บริหารคลังยา วัสดุทั่วไป ) 7) การจัดเก็บเงินรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิข้าราชการเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง 8) การจัดเก็บเงินรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC 9) การจัดทำแผนประมาณการรายได้และควบคุมค่าใช้จ่าย
183
4. แผนการตรวจสอบภายในได้รับอนุมัติจากนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 3. การจัดทำแผน มีเอกสารแสดงการประเมินและจัดลำดับความเสี่ยงของหน่วยงานเป็นลายลักษณ์อักษร 4. แผนการตรวจสอบภายในได้รับอนุมัติจากนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 5. บันทึกการแจ้งแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ ให้หน่วยรับตรวจทราบ
184
แผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan)
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 2 แผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) 1. แผนการปฏิบัติงาน จัดทำรายหน่วยรับตรวจ โดยอนุมัติจากประธานคณะกรรมการภาคีเครือข่ายตรวจสอบภายในระดับจังหวัด แผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) ประกอบด้วย 2.1 เรื่องที่ตรวจสอบ 2.2 วัตถุประสงค์การตรวจสอบ 2.3 ขอบเขตการตรวจสอบ 2.4 วิธีการตรวจสอบ 2.5 ผู้รับผิดชอบการตรวจสอบ
185
การปฏิบัติงานตรวจสอบ 1. ระบบการควบคุมภายใน
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 3 การปฏิบัติงานตรวจสอบ 1. ระบบการควบคุมภายใน 1.1 สอบทานการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน (ปย.2/ปอ.3) ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, โรงพยาบาลศูนย์/รพ.ทั่วไป, โรงพยาบาลชุมชน ) ของหน่วยงานครบทุกภารกิจในความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) ภารกิจด้านบริหาร 2) ภารกิจด้านบริการ 3) ภารกิจด้านวิชาการ
186
1) การจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 1.2 สุ่มสอบทานการจัดทำรายงานการควบคุมภายในของหน่วยบริการ (ปย.2/ปอ.3) ตามนโยบาย/ที่สำคัญ ดังนี้ 1) การจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน 3) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ 4) การจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุการแพทย์ 5) การจัดทำแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ 6) การควบคุม เก็บรักษา (บริหารคลังยา วัสดุทั่วไป) 7) การจัดเก็บเงินรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิข้าราชการเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง 8) การจัดเก็บเงินรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC 9) การจัดทำแผนประมาณการรายได้และ ควบคุมค่าใช้จ่าย
187
1.3 การวิเคราะห์แบบ ปย. 2/ปอ.3
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 1.3 การวิเคราะห์แบบ ปย. 2/ปอ.3 1) การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เหลืออยู่สอดคล้องกับผลการปรับปรุงการควบคุม 2) แบบติดตาม ปย. 2/ปอ.3 รอบ 12 เดือน ปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2558) 3) รายงานความก้าวหน้า รอบ 6 เดือน 4) รายงานความก้าวหน้า รอบ 9 เดือน
188
2.1 สอบทานการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับแผนการตรวจสอบภายในที่กำหนด
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 2. ตรวจสอบภายใน 2.1 สอบทานการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับแผนการตรวจสอบภายในที่กำหนด 2.2 การออกรายงานการตรวจสอบภายใน 45 วัน 2.3 สอบทานกระดาษทำการ 2.4 สอบทานแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) รายละเอียดที่กำหนด 2.5 เอกสารการประชุมปิดตรวจและสรุปร่างรายงานการตรวจสอบนความก้าวหน้า รอบ 9 เดือน
189
รายงานผลการตรวจสอบภายใน
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 4 รายงานผลการตรวจสอบภายใน 1. รายงานผลการตรวจสอบภายใน เสนอนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 2. บันทึกแจ้งรายงานผลการตรวจสอบภายในให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขภายใน 3. รายงานผลการติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะรายงานการตรวจสอบภายใน
190
ลำดับที่ ตัวชี้วัด รายละเอียด 5 สรุปผลการตรวจสอบภายในภาพรวมของจังหวัด บันทึกแจ้งสรุปผลการตรวจสอบภายในภาพรวมของจังหวัด รอบ 6 เดือน ภายในวันที่ 15 เมษายน 2559 และรอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 15 กันยายน 2559
191
การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เหลืออยู่
การประเมิน ระดับความสำเร็จ ขั้นตอนที่๑ ขั้นตอนที่๒ ขั้นตอนที่๓ ขั้นตอนที่๔ ขั้นตอนที่๕ ระบบการควบคุมภายใน 9 กระบวน งาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เหลืออยู่ สอดคล้อง กับผลการปรับปรุงการควบคุมเชิงคุณภาพ ตามขั้นตอน ที่๑ (ปย.๒/ปอ.๓) รายงานความก้าวหน้า (ปย.๒/ปอ.๓) รอบ ๖ เดือน รายงานความก้าวหน้า (ปย.๒/ปอ.๓) รอบ ๙ เดือน ผลสำเร็จมีหลักฐานเชิงประจักษ์ สามารถระบุ คุณภาพ ประสิทธิ ภาพ ของกระบวน การปฏิบัติ งานได้ชัด เจน ปย.๒/ปอ.๓ (ผลผลิต ผลลัพธ์) ประเมินระบบการ ควบคุมภายในงวด ๓๐ กย.๕๘ โดย -ทบทวนความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ครบทุกภารกิจและกระบวนการปฏิบัติ งานตามนโยบาย/ที่สำคัญ(๙กระบวนงาน) - ติดตามระบบควบคุมภายในรอบ ๑๒ เดือน ณ วันที่ ๓๐ กย.๕๘ ทั้ง 9 กระบวนงาน
192
จัดทำปฏิทิน กำกับงาน เพิ่มการตรวจสอบ (แบบ ติดตาม ปย . ๒/ปอ.3 งวดก่อน)
(แบบ ติดตาม ปย . ๒/ปอ.3 งวดก่อน) โรงพยาบาล ส่วนงานย่อย รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปี สิ้นสุด วันที่ เดือน...กันยายน พ.ศ กระบวนการปฏิบัติงาน / โครงการ / กิจกรรม / ด้านของงานที่ประเมิน และวัตถุประสงค์ของ การควบคุมภายใน การควบคุม ที่มีอยู่ การประเมิน ผลการควบคุม ความเสี่ยง ที่ยังมีอยู่ การปรับปรุงการควบคุม กำหนดเสร็จ / ผู้รับผิดชอบ สถานะ การดำเนิน การ วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน / ข้อคิดเห็น กระบวนการจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล ตามสิทธิจ่ายตรงข้าราชการ วัตถุประสงค์ - เพื่อให้การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันเวลา - มีระบบการส่งข้อมูลเรียกเก็บค่ารักษา พยาบาล - มีระบบการส่งข้อมูลการเรียกเก็บค่ารักษาพยา บาล แต่ยังไม่เพียงพอต่อการบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ - การส่งข้อมูลการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล มีความล่าช้า เนื่องจาก ข้อมูลผู้ป่วย มีปริมาณมากการบันทึกข้อมูล ที่ส่งมา ไม่ทันเวลา - เพิ่มอัตรากำลังให้เพียงพอเหมาะสมกับปริมาณงาน เช่น จ้างเหมาบริการ จนท. บันทึกข้อมูลให้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จัดทำปฏิทิน กำกับงาน เพิ่มการตรวจสอบ ๓๑ พ.ค. ๒๕๕๗ - ศูนย์ประกันสุขภาพ - ฝ่ายการเงิน ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนการปรับปรุง มีการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เพื่อทำหน้าที่รวบรวม / ตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล ค่ารักษาพยาบาลจ่ายตรงข้าราชการ การส่งข้อมูลค่ารักษา เรียกเก็บ ทันเวลา รายได้ค่ารักษา เพิ่มขึ้น ตามแผนรายรับเงินบำรุง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.