งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Workshop หัวข้อความน่าจะเป็นด้วยการใช้บล็อก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Workshop หัวข้อความน่าจะเป็นด้วยการใช้บล็อก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Workshop หัวข้อความน่าจะเป็นด้วยการใช้บล็อก
คณิตศาสตร์สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดย Jon Molomby

2 คำถาม: บริกรหญิงคนนี้ต้องการจะถามอะไร?
ทบทวนคำศัพท์ : และ และ หรือ คำถาม: บริกรหญิงคนนี้ต้องการจะถามอะไร?

3 บริกรหญิง: “ จะรับ ชา หรือ กาแฟ ดีคะ? ”
ทบทวนคำศัพท์ : และ และ หรือ บริกรหญิง: “ จะรับ ชา หรือ กาแฟ ดีคะ? ”

4 นักคณิตศาสตร์ อาจจะตอบว่า : “ ‘ชา หรือ กาแฟ งั้นหรือ ?’ …
นักคณิตศาสตร์ อาจจะตอบว่า : “ ‘ชา หรือ กาแฟ งั้นหรือ ?’ …

5 … คงจะหมายถึง ชา หรือ กาแฟ หรือ ทั้งสองอย่าง สินะ”
คำถาม: จะรับ ชา หรือ กาแฟ ดีคะ? … คงจะหมายถึง ชา หรือ กาแฟ หรือ ทั้งสองอย่าง สินะ”

6 … แต่ว่า ชา และ กาแฟ มันหน้าตาแบบนี้นะ
คำถาม: จะรับ ชา และ กาแฟ ดีคะ? … แต่ว่า ชา และ กาแฟ มันหน้าตาแบบนี้นะ

7 “ คุณหมายถึง ชา Xหรือ กาแฟ - แต่ไม่ใช่ ทั้งคู่
แบบนั้นใช่ไหมครับ ? ”

8 บริกรหญิง : “ ใช่ค่ะ ดิฉันหมายถึงแบบนั้นค่ะ! รับ ชา Xหรือ กาแฟ ดีคะ? ”

9 1. การเรียงสับเปลี่ยน 2. การจัดหมู่ 3. การสุ่ม
เราจะมาศึกษาเรื่องความน่าจะเป็นโดยใช้บล็อก 4 อัน สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีเหลือง 1. การเรียงสับเปลี่ยน 2. การจัดหมู่ 3. การสุ่ม คุณควรเตรียมบล็อก 4 อัน ที่มีสีต่างกัน ดาวน์โหลดแบบฝึกหัดได้จาก

10 1. การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย คณิตศาสตร์สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

11 เมื่อ Caleb Gattegno สอนเรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน (ใน “Mathematics at your Fingertips” : ) เขาให้นักเรียนสร้างตู้รถไฟที่แตกต่างกันโดยใช้แท่งไม้

12 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 !

13 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว สีน้ำเงิน จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 ! 2 (G & B ) ( GB, BG ) 2 !

14 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 ! 2 (G & B ) ( GB, BG ) 2 ! 3 (G & B & R ) ( GBR, GRB, BRG, BGR, RBG, RGB ) 3 !

15 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีเหลือง จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 ! 2 (G & B ) ( GB, BG ) 2 ! 3 (G & B & R ) ( GBR, GRB, BRG, BGR, RBG, RGB ) 3 ! 4 (G & B & R & Y ) 24 4 !

16 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีเหลือง จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 ! 2 (G & B ) ( GB, BG ) 2 ! 3 (G & B & R ) ( GBR, GRB, BRG, BGR, RBG, RGB ) 3 ! 4 (G & B & R & Y ) 24 4 ! 5

17 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีเหลือง จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 ! 2 (G & B ) ( GB, BG ) 2 ! 3 (G & B & R ) ( GBR, GRB, BRG, BGR, RBG, RGB ) 3 ! 4 (G & B & R & Y ) 24 4 ! 5 120 5 !

18 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีเหลือง จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 ! 2 (G & B ) ( GB, BG ) 2 ! 3 (G & B & R ) ( GBR, GRB, BRG, BGR, RBG, RGB ) 3 ! 4 (G & B & R & Y ) 24 4 ! 5 120 5 ! 6

19 จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ?
การเรียงสับเปลี่ยน สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีเหลือง จำนวนของ “ตู้รถไฟ” จำนวนแบบที่แตกต่างกันที่สามารถเรียงได้ ? เขียนแบบย่อได้ว่า 1 (G ) ( G ) 1 ! 2 (G & B ) ( GB, BG ) 2 ! 3 (G & B & R ) ( GBR, GRB, BRG, BGR, RBG, RGB ) 3 ! 4 (G & B & R & Y ) 24 4 ! 5 120 5 ! 6 720 6 !

20 มีของที่แตกต่างกันจำนวน n สิ่ง จะสามารถนำมาจัดเรียงได้ n ! วิธี
การเรียงสับเปลี่ยน กฎทั่วไป มีของที่แตกต่างกันจำนวน n สิ่ง จะสามารถนำมาจัดเรียงได้ n ! วิธี

21 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? (จำคำตอบของข้อแรกไว้)
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? คำใบ้ : (จำคำตอบของข้อแรกไว้)

22 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? 4

23 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? 4 x 3

24 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? 4 x 3 x 2

25 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? 4 x 3 x 2 x 1

26 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? 4 x 3 x 2 x = 24

27 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 2) เรียงบล็อก 4 อัน (ลำดับสำคัญ) ? 4 x 3 x 2 x = 24 Ans : 24

28 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ?

29 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ? ? ? ? แดง

30 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ? 1 x ? ? แดง

31 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ? 1 x 3 x ? แดง

32 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 3) ให้สีแดงขึ้นเป็นลำดับแรกเสมอ (ลำดับสำคัญ) ? 1 x 3 x 2 x = 6 แดง Ans : 6

33 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ? คำใบ้ : (จำคำถามข้อ 3 ไว้)

34 กรณีที่สีแดงขึ้นก่อน
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ? ทุกกรณีที่เป็นไปได้ ลบด้วย กรณีที่สีแดงขึ้นก่อน

35 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ? ทุกกรณี ลบด้วย กรณีที่สีแดงขึ้นก่อน (จากข้อ 3)

36 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ? ทุกกรณี ลบด้วย กรณีที่สีแดงขึ้นก่อน (จากข้อ 3)

37 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 4) ถ้าไม่ให้สีแดงเป็นลำดับแรกล่ะ ? ทุกกรณี ลบด้วย กรณีที่สีแดงขึ้นก่อน (จากข้อ 3) = Ans : 18

38 5) ถ้าให้สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้ายล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 5) ถ้าให้สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้ายล่ะ ?

39 5) ถ้าให้สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้ายล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 5) ถ้าให้สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้ายล่ะ ? สองเหตุการณ์นี้ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมกันได้ (Mutually exclusive) ดังนั้น เราจึงสามารถนำ เหตุการณ์ที่สีเหลืองเป็นอันแรก บวกกับ เหตุการณ์ที่สีเหลืองเป็นอันสุดท้าย

40 5) ถ้าให้สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้ายล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 5) ถ้าให้สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้ายล่ะ ? ทั้งสองเหตุการณ์นั้นเป็น Mutually exclusive ดังนั้น สีเหลืองเป็นอันแรก บวกกับ สีเหลืองเป็นอันสุดท้าย = Ans : 12

41 คำใบ้ : (จำคำตอบข้อ 5 ไว้นะ)
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ? คำใบ้ : (จำคำตอบข้อ 5 ไว้นะ)

42 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ? ทุกเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ ลบกับ เหตุการณ์ที่สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้าย (คำนวณมาแล้วจากข้อ 5)

43 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ? ทุกกรณี ลบด้วย สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้าย (จากข้อ 5)

44 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ? ทุกกรณี ลบด้วย สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้าย (จากข้อ 5)

45 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 6) ถ้าไม่ให้สีเหลืองเป็นทั้งอันแรกและอันสุดท้ายล่ะ ? ทุกกรณี ลบด้วย สีเหลืองเป็นอันแรกหรืออันสุดท้าย (จากข้อ 5) = Ans : 12

46 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 7) ให้สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน ?

47 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
7) ให้สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน ? R B

48 R B so 6 x 2! การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
7) ให้สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน ? x x = 6 แต่ RB BR R B so 6 x 2! Ans : 12

49 คำใบ้ : (จำคำตอบข้อ 7 ไว้นะ) 8) ถ้าไม่ให้สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกันล่ะ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 8) ถ้าไม่ให้สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกันล่ะ? คำใบ้ : (จำคำตอบข้อ 7 ไว้นะ)

50 กรณีที่สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน (คำนวณมากแล้วจากข้อ 7)
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 8) ถ้าไม่ให้สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกันล่ะ? ทุกกรณีที่เป็นไปได้ ลบด้วย กรณีที่สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน (คำนวณมากแล้วจากข้อ 7)

51 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 8) ถ้าไม่ให้สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกันล่ะ?
ทุกกรณี ลบด้วย กรณีที่สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน(จากข้อ 7) = Ans : 12

52 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ? คำใบ้ : (จำคำตอบข้อ 7 ไว้นะ)

53 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ? สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน ลบด้วย สีเหลืองติดกับRB (จากข้อ 7) (BRY or YRB)

54 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ? สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน ลบด้วย สีเหลืองติดกับRB (จากข้อ 7) (BRY or YRB) นั่นก็คือ GBRY , GYRB BRYG , YRBG

55 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ? สีแดงและน้ำเงินอยู่ติดกัน ลบด้วย สีเหลืองติดกับRB (จากข้อ 7) (BRY or YRB) นั่นก็คือ GBRY , GYRB BRYG , YRBG = 8 Ans : 8

56 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 9) ถ้าให้สีแดงอยู่ติดกับสีน้ำเงินเสมอ แต่ห้ามติดกับสีเหลืองล่ะ? ลองเช็คดูโดยการเขียนทุกรูปแบบของการเรียงออกมา : RBGY RBYG RGBY RGYB RYBG RYGB BRGY BRYG BGRY BGYR BYRG BYGR GRBY GRYB GBRY GBYR GYRB GYBR YRBG YRGB YBRG YBGR YGRB YGBR Ans : 8

57 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง

58 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง แบบนี้: R _ _ G R _ _ G G _ _ R

59 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง กรณีที่เป็นไปได้ : R B Y G R Y B G G B Y R G Y B R

60 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง R B Y G R Y B G G B Y R G Y B R Ans : 4

61 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 10) ให้สีแดงและสีเขียวอยู่ริมคนละข้าง ลองเช็คดูโดยการเขียนทุกรูปแบบของการเรียงออกมา : RBGY RBYG RGBY RGYB RYBG RYGB BRGY BRYG BGRY BGYR BYRG BYGR GRBY GRYB GBRY GBYR GYRB GYBR YRBG YRGB YBRG YBGR YGRB YGBR Ans : 4

62 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม

63 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม หมายความว่า ให้สีแดงอยู่ริม หรือ ให้สีเขียวอยู่ริม หรือ ทั้งสองอยู่ริม

64 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม หมายความว่า ให้สีแดงอยู่ริม หรือ ให้สีเขียวอยู่ริม หรือ ทั้งสองอยู่ริม = ทุกกรณีที่เป็นไปได้ ลบด้วย สีแดง/สีเขียว อยู่ตรงกลาง

65 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม หมายความว่า ให้สีแดงอยู่ริม หรือ ให้สีเขียวอยู่ริม หรือ ทั้งสองอยู่ริม = ทุกกรณีที่เป็นไปได้ ลบด้วย สีแดง/สีเขียว อยู่ตรงกลาง i.e _ RG _ _ GR _ _ RG _ _ GR _

66 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม หมายความว่า ให้สีแดงอยู่ริม หรือ ให้สีเขียวอยู่ริม หรือ ทั้งสองอยู่ริม = ทุกกรณีที่เป็นไปได้ ลบด้วย สีแดง/สีเขียว อยู่ตรงกลาง กรณีที่เป็นไปได้ B RG Y B GR Y Y RG B Y GR B

67 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 11) ให้สีแดง หรือ สีเขียวอยู่ริม หมายความว่า ให้สีแดงอยู่ริม หรือ ให้สีเขียวอยู่ริม หรือ ทั้งสองอยู่ริม = ทุกกรณีที่เป็นไปได้ ลบด้วย สีแดง/สีเขียว อยู่ตรงกลาง กรณีที่เป็นไปได้ B RG Y B GR Y Y RG B Y GR B = = 20 Ans : 20

68 11) สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม หรือ ทั้งสองสีอยู่ริม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 11) สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม หรือ ทั้งสองสีอยู่ริม ลองเช็คดูโดยการเขียนทุกรูปแบบของการเรียงออกมา : RBGY RBYG RGBY RGYB RYBG RYGB BRGY BRYG BGRY BGYR BYRG BYGR GRBY GRYB GBRY GBYR GYRB GYBR YRBG YRGB YBRG YBGR YGRB YGBR Ans : 20

69 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
12) สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม แต่ไม่ใช่ ทั้งสองสีอยู่ริม (Xหรือ)

70 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
12) สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม แต่ไม่ใช่ ทั้งสองสีอยู่ริม (Xหรือ) หมายความว่า สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม ลบด้วย สีแดง อยู่ริม และ สีเขียว อยู่ริม

71 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
12) สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม แต่ไม่ใช่ ทั้งสองสีอยู่ริม (Xหรือ) หมายความว่า สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม (จากข้อ 11) ลบด้วย สีแดง อยู่ริม และ สีเขียว อยู่ริม (จากข้อ 10)

72 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
12) สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม แต่ไม่ใช่ ทั้งสองสีอยู่ริม (Xหรือ) หมายความว่า สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม (จากข้อ 11) ลบด้วย สีแดง อยู่ริม และ สีเขียว อยู่ริม (จากข้อ 10) = Ans : 16

73 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
12) สีแดง อยู่ริม หรือ สีเขียว อยู่ริม แต่ไม่ใช่ ทั้งสองสีอยู่ริม (Xหรือ) ลองเช็คดูโดยการเขียนทุกรูปแบบของการเรียงออกมา : RBGY RBYG RGBY RGYB RYBG RYGB BRGY BRYG BGRY BGYR BYRG BYGR GRBY GRYB GBRY GBYR GYRB GYBR YRBG YRGB YBRG YBGR YGRB YGBR Ans : 16

74 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม

75 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม สูตรสำหรับการเรียงของเป็นวงกลม คือ
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม สูตรสำหรับการเรียงของเป็นวงกลม คือ = ( n – 1 ) !

76 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม สูตรสำหรับการเรียงของเป็นวงกลม คือ = ( n – 1 ) ! ดังนั้น จำนวนบล็อก ลบด้วย 1 ทั้งหมดแฟกทอเรียล = ( 4 – 1 ) ! = 3 ! Ans : 6

77 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 13) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม จำนวนบล็อก ลบ 1 ทั้งหมดแฟกทอเรียล = (4 – 1 )! Checking by listing all permutations : Ans : 6

78 14) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม : โดยไม่ให้สีแดงและสีน้ำเงินอยู่ติดกัน
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 14) เรียง 4 บล็อกเป็นวงกลม : โดยไม่ให้สีแดงและสีน้ำเงินอยู่ติดกัน

79 14) เรียง 4 บล็อกเป็น วงกลม : สีแดง และ สีน้ำเงิน ไม่อยู่ติดกัน
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 14) เรียง 4 บล็อกเป็น วงกลม : สีแดง และ สีน้ำเงิน ไม่อยู่ติดกัน จำนวนแบบที่เรียงเป็นวงกลมได้ ลบด้วย สีแดง/สีน้ำเงิน อยู่ติดกัน

80 14) เรียง 4 บล็อกเป็น วงกลม : สีแดง และ สีน้ำเงิน ไม่อยู่ติดกัน
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 14) เรียง 4 บล็อกเป็น วงกลม : สีแดง และ สีน้ำเงิน ไม่อยู่ติดกัน จำนวนแบบที่เรียงเป็นวงกลมได้ ลบด้วย สีแดง/สีน้ำเงิน อยู่ติดกัน 3 ! ! 2 ! = – = 2 Ans : 2

81 14) เรียง 4 บล็อกเป็น วงกลม : สีแดง และ สีน้ำเงิน ไม่อยู่ติดกัน
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 14) เรียง 4 บล็อกเป็น วงกลม : สีแดง และ สีน้ำเงิน ไม่อยู่ติดกัน ลองเช็คดูโดยการเขียนทุกรูปแบบของการเรียงออกมา : ให้ 1 = สีแดง และ 2 = สีน้ำเงิน Ans : 2

82 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?

83 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน :

84 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน :

85 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน : 4P2 =

86 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน : 4P2 =

87 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน : 4P2 = Ans : 12

88 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ?

89 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก

90 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก 4P2 = 4! ไปจนถึงตัวประกอบ 2 ตัวแรก

91 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก 4P2 = 4! ไปจนถึงตัวประกอบ 2 ตัวแรก 4 x = 12

92 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 15) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก 4P2 = 4! ไปจนถึงตัวประกอบ 2 ตัวแรก 4 x = 12 Ans : 12

93 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?

94 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน :

95 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน :

96 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน : 4P3 =

97 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน : 4P3 =

98 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? ใช้สูตรการเรียงสับเปลี่ยน : 4P3 = Ans : 24

99 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ?

100 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก

101 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก 4P3 = 4! ไปจนถึงตัวประกอบ 3 ตัวแรก

102 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก 4P3 = 4! ไปจนถึงตัวประกอบ 3 ตัวแรก 4 x x

103 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)?
การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย 16) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับสำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? เนื่องจาก nPk = n! ไปจนถึงตัวประกอบ k ตัวแรก 4P3 = 4! ไปจนถึงตัวประกอบ 3 ตัวแรก 4 x x = 24 Ans : 24

104 คณิตศาสตร์สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
2. การจัดกลุ่ม ด้วย

105 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?

106 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? ใช้สูตรสำหรับการจัดกลุ่ม :

107 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? ใช้สูตรสำหรับการจัดกลุ่ม :

108 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? ใช้สูตรสำหรับการจัดกลุ่ม :

109 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? ใช้สูตรสำหรับการจัดกลุ่ม : Ans : 6

110 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ?

111 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ? ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

112 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ? ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

113 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม ? ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

114 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C2 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล Triangle

115 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C2 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

116 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C2 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

117 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 17) เลือก 2 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C2 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล Ans : 6

118 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

119 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C3 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

120 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C3 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

121 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C3 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

122 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 18) เลือก 3 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C3 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล Ans : 4

123 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

124 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C4 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

125 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C4 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

126 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 19) เลือก 4 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C4 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล Ans : 1

127 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

128 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C0 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

129 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C0 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

130 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 20) เลือก 0 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C0 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล Ans : 1

131 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

132 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C1 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล

133 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C1 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล .

134 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)?
การจัดกลุ่ม ด้วย 21) เลือก 1 จาก 4 บล็อก (ลำดับไม่สำคัญ)? มีวิธีที่ง่ายกว่านี้ไหม? 4C1 ใช้สามเหลี่ยมปาสกาล Ans : 4

135 อีกหนึ่งเคล็ดลับในการใช้สูตรการจัดกลุ่ม
การจัดกลุ่ม ด้วย อีกหนึ่งเคล็ดลับในการใช้สูตรการจัดกลุ่ม nCr = nCn-r e.g. 20C18 = 20C2

136 3. การสุ่ม โดยไม่หยิบคืน
คณิตศาสตร์สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3. การสุ่ม โดยไม่หยิบคืน

137 …. ? เราจะมีโอกาส สุ่มหยิบได้อะไรบ้าง การสุ่ม ด้วย แล้วกำเอาไว้ในมือ :
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 4 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : เราจะมีโอกาส สุ่มหยิบได้อะไรบ้าง …. ?

138 การสุ่ม ด้วย แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 4 อัน 22)
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 4 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 22) โอกาสที่จะได้สีแดง (หยิบแค่ครั้งเดียว)

139 การสุ่ม ด้วย Ans : 1 ใน 4 แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 4 อัน 22)
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 4 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 22) โอกาสที่จะได้ สีแดง (หยิบแค่ครั้งเดียว) Ans : 1 ใน 4

140 การสุ่ม ด้วย แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 4 อัน 23)
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 4 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 23) โอกาสที่จะได้ สีแดง หรือ สีน้ำเงิน (หยิบแค่ครั้งเดียว)

141 การสุ่ม ด้วย Ans : 2 ใน 4 = 1 ใน 2 แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 4 อัน
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 4 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 23) โอกาสที่จะได้ สีแดง หรือ สีน้ำเงิน (หยิบแค่ครั้งเดียว) Ans : 2 ใน 4 = 1 ใน 2

142 การสุ่ม ด้วย แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 4 อัน
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 4 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 24) โอกาสที่จะได้สีแดง ตามด้วย สีน้ำเงิน (สุ่มหยิบ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน)

143 Ans : 𝟏 𝟒 × 𝟏 𝟑 = 𝟏 𝟏𝟐 = 1 ใน 12 การสุ่ม ด้วย แล้วกำเอาไว้ในมือ :
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 4 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 24) โอกาสที่จะได้สีแดง ตามด้วย สีน้ำเงิน (สุ่มหยิบ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน) Ans : 𝟏 𝟒 × 𝟏 𝟑 = 𝟏 𝟏𝟐 = 1 ใน 12

144 การสุ่ม ด้วย แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 8 อัน 25) โอกาสที่จะ
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 25) โอกาสที่จะ หยิบได้ สีแดง (หยิบได้ครั้งเดียว)

145 การสุ่ม ด้วย Ans : 2 ใน 8 = 1 ใน 4 แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 8 อัน
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 25) โอกาสที่จะ หยิบได้ สีแดง (หยิบได้ครั้งเดียว) Ans : 2 ใน 8 = 1 ใน 4

146 การสุ่ม ด้วย แล้วกำเอาไว้ในมือ : 26)โอกาสที่จะหยิบได้
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 26)โอกาสที่จะหยิบได้ สีน้ำเงิน หรือ สีเขียว (หยิบได้ครั้งเดียว)

147 การสุ่ม ด้วย Ans : 4 ใน 8 = 1 ใน 2 แล้วกำเอาไว้ในมือ : หยิบบล็อก 8 อัน
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 26)โอกาสที่จะหยิบได้ สีน้ำเงิน หรือ สีเขียว (หยิบได้ครั้งเดียว) Ans : 4 ใน 8 = ใน 2

148 การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 27) โอกาสที่จะหยิบได้
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 27) โอกาสที่จะหยิบได้ สีน้ำเงิน และ สีน้ำเงิน (หยิบได้ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน)

149 การสุ่ม ด้วย Ans : 𝟏 𝟒 × 𝟏 𝟕 = 𝟏 𝟐𝟖 = 1 ใน 28 หยิบบล็อก 8 อัน
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 27) โอกาสที่จะหยิบได้ สีน้ำเงิน และ สีน้ำเงิน (หยิบได้ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน) Ans : 𝟏 𝟒 × 𝟏 𝟕 = 𝟏 𝟐𝟖 = 1 ใน 28

150 การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 28) โอกาสที่จะหยิบได้
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 28) โอกาสที่จะหยิบได้ สีเดียวกันทั้งสองครั้ง (หยิบได้ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน)

151 การสุ่ม ด้วย Ans : 𝟏× 𝟏 𝟕 = 𝟏 𝟕 = 1 ใน 7 หยิบบล็อก 8 อัน
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 28) โอกาสที่จะหยิบได้ สีเดียวกันทั้งสองครั้ง (หยิบได้ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน) Ans : 𝟏× 𝟏 𝟕 = 𝟏 𝟕 = 1 ใน 7

152 การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 29) โอกาสที่จะหยิบได้
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 29) โอกาสที่จะหยิบได้ สีต่างกันทั้งสองครั้ง (หยิบได้ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน)

153 การสุ่ม ด้วย Ans : 𝟏× 𝟔 𝟕 = 𝟔 𝟕 = 6 ใน 7 หยิบบล็อก 8 อัน
การสุ่ม ด้วย หยิบบล็อก 8 อัน แล้วกำเอาไว้ในมือ : 29) โอกาสที่จะหยิบได้ สีต่างกันทั้งสองครั้ง (หยิบได้ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืน) Ans : 𝟏× 𝟔 𝟕 = 𝟔 𝟕 = 6 ใน 7

154 การเรียงสับเปลี่ยน 30) คำถามการเรียงสับเปลี่ยน : คุณสามารถเรียง บล็อก 8 อันได้กี่แบบ ถ้าทั้งหมดนั้นประกอบไป ด้วย 2 แดง, 2 น้ำเงิน, 2 เหลือง, 2 เขียว ?

155 การเรียงสับเปลี่ยน 30) คำถามการเรียงสับเปลี่ยน : คุณสามารถเรียง บล็อก 8 อันได้กี่แบบ ถ้าทั้งหมดนั้นประกอบไป ด้วย 2 แดง, 2 น้ำเงิน, 2 เหลือง, 2 เขียว ? Ans : 8! / (2! 2! 2! 2!) = 2520 วิธี

156 การเรียงสับเปลี่ยน 31) คำถามการเรียงสับเปลี่ยน : คุณสามารถเรียง บล็อก 8 อัน เป็นวงกลม ได้กี่แบบ ถ้าทั้งหมดนั้น ประกอบไปด้วย 2 แดง, 2 น้ำเงิน, 2 เหลือง, 2 เขียว ?

157 การเรียงสับเปลี่ยน 31) คำถามการเรียงสับเปลี่ยน : คุณสามารถเรียง บล็อก 8 อัน เป็นวงกลม ได้กี่แบบ ถ้าทั้งหมดนั้น ประกอบไปด้วย 2 แดง, 2 น้ำเงิน, 2 เหลือง, 2 เขียว ? Ans : 7! / (2! 2! 2! 2!) = 315 วิธี

158 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
32) คำถามการเรียงสับเปลี่ยน : คุณสามารถเลือก 2 บล็อก (ลำดับสำคัญ) จาก 5 บล็อก ได้กี่วิธี (สีเขียว, สีเขียว, สีน้ำเงิน, สีแดง, สีเหลือง) [หมายเหตุ : 5P2 หารด้วย 2 ! เป็นคำตอบที่ผิด]

159 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
32) คำถามการเรียงสับเปลี่ยน : คุณสามารถเลือก 2 บล็อก (ลำดับสำคัญ) จาก 5 บล็อก ได้กี่วิธี (สีเขียว, สีเขียว, สีน้ำเงิน, สีแดง, สีเหลือง) [หมายเหตุ : 5P2 หารด้วย 2 ! เป็นคำตอบที่ผิด] Ans : 4P = (ดูสไลด์ถัดไป)

160 การเรียงสับเปลี่ยน ด้วย
32)  ทั้ง เขียว 1 และ เขียว 2 นั้นไม่ถือว่าต่างกัน ดังนั้นจึงเรียงได้เป็น : GB, GR, GY BR, BG, BY, RG, RY, RB, YG, YB, YR. i.e. 4P2 = 12 + GG Ans :

161 การจัดกลุ่ม ด้วย 33) ของกลุ่มหนึ่งมีบล็อก 4 อัน
33)   ของกลุ่มหนึ่งมีบล็อก 4 อัน และอีกกลุ่มมีปริซึมสามเหลี่ยม 4 อัน เราจะสามารถหยิบบล็อกและปริซึมสามเหลี่ยม มาอย่างละอันได้กี่วิธี ?

162 การจัดกลุ่ม ด้วย 33) ของกลุ่มหนึ่งมีบล็อก 4 อัน
33)   ของกลุ่มหนึ่งมีบล็อก 4 อัน และอีกกลุ่มมีปริซึมสามเหลี่ยม 4 อัน เราจะสามารถหยิบบล็อกและปริซึมสามเหลี่ยม มาอย่างละอันได้กี่วิธี ? Ans : วิธี (ดูสไลด์ถัดไป)

163 4 บล็อก x 4 ปริซึมสามเหลี่ยม = 16 วิธี
การจัดกลุ่ม ด้วย 33)   จาก กฎการนับ ถ้ามีของ m ชิ้นจากกลุ่มหนึ่งและ n ชิ้นจากอีกกลุ่มหนึ่ง เราจะสามารถหยิบของอย่างละชิ้นมาจากสองกลุ่ม ได้ทั้งหมด m x n วิธี 4 บล็อก x 4 ปริซึมสามเหลี่ยม = 16 วิธี Ans : 16 วิธี

164 LINKS ลิ้งค์ การสอนคณิตศาสตร์ด้วยจีโอบอร์ด Maths with Geoboards
My Youtube channel : “ Maths with Geoboards “ ( for videos ) My website : ( for worksheets ) My ( for contact ) =========================================================================================================

165 วีดีโอในแชแนลยูทูป“ Maths with Geoboards” จนถึงปัจจุบัน
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัส Vol. 1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส Vol. 2 พิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส – ทางเรขาคณิต พิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส – ทางพีชคณิต ทฤษฎีจำนวณ จำนวณเฉพาะ จำนวณฟีโบนัชชี ตัวประกอบและตัวคูณ ทั่วไป วิธีทำจีโอบอร์ด มุม แนะนำคำศัพท์ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับมุม สองโจทย์ปัญหาเลขาคณิตที่ยากที่สุดในโลก เลขยกกำลัง เลขยกกำลัง : กฎข้อที่ 1, 2, 3 and 4 เลขยกกำลัง :โจทย์ปัญหา ความน่าจะเป็น โจทย์ปัญหา The Monty Hall ใช้ จีโอบอร์ด วีดีโอแบบฝึกหัด วีดีโอแบบฝึกหัด ใช้ จีโอบอร์ด วีดีโอแบบฝึกหัด

166 THE END

167 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
“ข้อมูลนี้ถูกแปลเป็นภาษาไทยเพื่อส่งเสริมการศึกษาไทย เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙” 

168 FEEDBACK กรุณาไปที่เว็บไซต์ www.menti.com
และใส่ โค้ดตัวเลข 6 หลัก ตามที่ผมได้ให้ไว้ จากนั้น ให้พิมพ์ 3 คำ (เป็นภาษาอังกฤษ) ที่แสดงความรู้สึกของคุณต่อการฟังบรรยายครั้งนี้ 1. …………… 2. …………... 3. …………... ซึ่งเราจะนำมารวมกันและทำเป็น “ WordCloud ” … ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt Workshop หัวข้อความน่าจะเป็นด้วยการใช้บล็อก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google