ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร. Free Powerpoint Templates
2
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี วรรคหนึ่ง มาตรา 74 2
3
หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความคุ้มค่า (Value for money) ประสิทธิผล (Effectiveness) วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Vision) ภาระรับผิดชอบ (Accountability) การตอบสนอง (Responsiveness) คุณภาพ (Quality) การมีส่วนร่วม (Participation) ความโปร่งใส (Transparency) การกระจายอำนาจ (Decentralization) ความเสมอภาค/ความเที่ยงธรรม (Equity) การมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus oriented)* นิติธรรม (Rule of law) New Public Management Good Governance Democratization * 3
4
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ (มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา 50-มาตรา 53)
5
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ รธน นโยบายของรัฐบาล Strategic Management Result Based Management PDCA ม แผนบริหารราชการแผ่นดิน ม.9 การบริหารคุณภาพ Public Participation Transparency & Responsiveness Customer-Driven ม แผนปฏิบัติการ 4 ปี แผนปฏิบัติการประจำปี Collaborative Management ม.10 การบูรณาการร่วมกัน ม.8 วิเคราะห์ผลดีผลเสีย ฟังความเห็น ปชช. หากเกิดปัญหา รีบแก้ไข ม ปรับปรุงภารกิจ ทบทวนภารกิจอำนาจหน้าที่ โครงสร้างและอัตรากำลัง ม.35 ทบทวนกฎหมาย KM/LO ม.11 องค์การแห่งการเรียนรู้ ม หากมีข้อร้องเรียน ต้องแก้ไข และตอบให้เข้าใจ VFM/Activity-Based Costing Rightsizing Deregulation การปฏิรูปราชการ ม.23 จัดซื้อจัดจ้างโปร่งใส ม.25 วินิจฉัยโดยเร็ว ม.26 สั่งการเป็นลายลักษณ์อักษร ม.43 ทุกเรื่องเป็นเรื่องเปิดเผย ม.44 เผยแพร่ข้อมูลงบประมาณ รายจ่าย สัญญาการจัดซี้อจัดจ้าง ม.22 บัญชีต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ม.22 สศช. ประเมินความคุ้มค่า ม.37 กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ ม.37 นำ ICT มาใช้ ม.45 มีคณะผู้ประเมินอิสระประเมิน ผลสัมทธิ์ คุณภาพความพอใจ ของประชาชน ม ประเมินผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ม รางวัล ม ลดขั้นตอน กระจายอำนาจการตัดสินใจ ม.29 ทำแผนภูมิขั้นตอน ม ศูนย์บริการร่วม Accountability Business Process Reengineering
6
หน่วยงานของรัฐรูปแบบใหม่ หน่วยธุรการขององค์กร หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ
ส่วนราชการ จังหวัดและหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร หน่วยงานที่ใช้อำนาจรัฐ หรือเป็น เครื่องมือของรัฐ แต่ไม่เป็นองค์กรของรัฐ หน่วยงานของรัฐรูปแบบใหม่ ส่วนราชการ จังหวัด กระทรวง/ทบวง (20) รัฐ วิสาหกิจ (58) องค์การมหาชน (44*) หน่วยธุรการขององค์กร ของรัฐที่เป็นอิสระ (8) สถาบันภายใต้มูลนิธิ ทบวง กองทุน ที่เป็น นิติบุคคล (13) หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (2) นิติบุคคล เฉพาะกิจ (1) สภา วิชาชีพ กลุ่มภารกิจ (27) กรม (155) กลุ่มจังหวัด (18) จังหวัด (76) Arm’s length หมายเหตุ : ตัวเลขใน ( ) คือจำนวนหน่วยงาน * องค์การมหาชนแบ่งออกเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งตาม พรบ. องค์การมหาชน พ.ศ จำนวน 29 แห่ง และหน่วยงานที่จัดตั้งตาม พรบ. เฉพาะ (หน่วยงานในกำกับ) จำนวน 15 แห่ง 6
7
Total Quality Management
Baldrige Criteria Framework: A Systems Perspective The framework provides a high-level overview of the Baldrige Criteria for Performance Excellence and illustrates how the Criteria provide a systems perspective for managing your organization to achieve performance excellence. From top to bottom, the framework has three basic elements—Organizational Profile, System Operations, and System Foundation (Measurement, Analysis, and Knowledge Management). The Organizational Profile (the umbrella at the top of the figure) sets the context for the way an organization operates. The environment, key working relationships, and strategic challenges serve as an overarching guide for an organizational performance management system. The System Operations (middle of the figure) comprise two linked triads. The leadership triad—Leadership, Strategic Planning, and Customer and Market Focus—emphasizes the importance of a leadership focus on strategy and customers. The results triad—Human Resource Focus, Process Management, and Business Results—focuses on the employees and key processes that accomplish the work of the organization that yields business results. ALL actions point toward Business Results. The horizontal arrow in the center of the figure links the two triads—a linkage critical to organizational success—and indicates the importance of feedback in an effective performance management system. The System Foundation for the performance management system (bottom of the figure) is Measurement, Analysis, and Knowledge Management, which is critical to a fact-based system for improving performance and competitiveness.
8
Malcolm Baldrige Award (MBA)
Strategic Planning Drivers Leadership Customer & Market Focus Core Work Process Management Workforce Focus Results Measurement, Analysis, and Knowledge Management เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA)
9
Malcolm Baldrige Award (MBA)
8 Malcolm Baldrige Award (MBA) Assess Performance Improve Performance
10
Balanced set of relevant, KEY measurements demonstrating current levels, trends, and comparisons
Social Responsibility Operational H/R Financial Products & Services Customer Satisfaction
11
Business Hospital Education President’s Quality Award (PQA)
Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) President’s Quality Award (PQA) Public Sector Management Quality Award (PMQA) Thailand Quality Award (TQA) Business Hospital Education HA สกอ รัฐวิสาหกิจ
12
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 12 12
13
Concept & Core Values Lead the organization Manage the organization
Systems Perspective มองเชิงระบบ Agility ปรับตัวอย่าง ต่อการเปลี่ยน แปลง Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม Focus on Future เน้นอนาคต Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Org. & Personal Learning การเรียนรู้ของ คนและองค์การ Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Valuing Employees & Partners ให้คุณค่าต่อ พนักงาน และ เครือข่ายพันธมิตร Management By Fact บริหารงานบนฐาน ข้อเท็จจริง Strategic Leadership Operational Excellence Organizational Learning Lead the organization Manage the organization Improve the organization คิด ทำ ปรับ ปรุง 13 13
14
วงจรคุณภาพการบริหารจัดการ
การดำเนินงานขององค์การในปัจจุบัน PDCA ดำเนินการตามแผน วางแผนและพัฒนาปรับปรุงองค์การ ตรวจสุขภาพ -> เจอปัญหา -> หาทางแก้ไข เปรียบเทียบกับแนวทาง / เกณฑ์ขององค์การที่เป็นเลิศ ทราบโอกาส ปรับปรุงการดำเนินงานในด้านใดบ้าง
15
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
หน่วยงานสามารถประเมินตนเองตามเกณฑ์ และแนวทางที่กำหนดได้ เป็นรายหมวด 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ผลการประเมินตนเอง ทำให้ทราบ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และข้อจำกัดในการปรับปรุง 3. การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ วางแผนการพัฒนา และปรับปรุงผลตาม การวิเคราะห์ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการกระบวนการ ดำเนินการตามแผน พร้อมประเมิน เปรียบเทียบเกณฑ์ 7. ผลลัพธ์การดำเนินการ
16
1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว ความโปร่งใสตรวจสอบได้ ความรับผิดชอบ การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ การทบทวน ผลการดำเนินการ การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ 18/02/62 16
17
Path to Organizational Excellence
การนำองค์กรเชิงกลยุทธ์ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ การเรียนรู้ขององค์กร 1.1 การนำองค์การ 1.2 ธรรมมาภิบาล และความรับผิดชอบ ต่อสังคม 7.1 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิผล 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 7.2 ผลลัพธ์ด้านคุณภาพการให้บริการ 2.1 การวางยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอด ยุทธศาสตร์เพื่อนำไปปฎิบัติ 6.2 กระบวนการสนับสนุน 3.2การสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์การ 5.1 ระบบงาน 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการฯ 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร 5.2 การเรียนรู้ของพนักงานและการสร้างแรงจูงใจ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 17
18
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินองค์กร ปี 2551
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินองค์กร ปี 2551 กรม หมวด 1 การนำองค์การ 1.1 การนำองค์การ 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดยุทธศาสตร์เพื่อนำไปปฏิบัติ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการฯ 3.2 การสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 4.1 การวัด และวิเคราะห์ผล 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติด้านประสิทธิผล 7.2 มิติด้านคุณภาพการบริการ 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร 5.3 การความผาสุกและความพึงพอใจ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จังหวัด
19
(เน้น Integration และ Linkage)
Roadmap to Excellence PMQC รางวัล PMQA (Public Sector Management Quality Award) Band 4 คะแนน 650 แต่ละหมวด คะแนน ไม่ต่ำกว่า 50% รางวัล PMQC (Public Sector Management Quality Class) Band 3 คะแนน 350 ขึ้นไป ระบบการตรวจ เชิงคุณภาพ (เน้น Integration และ Linkage) Best หมวด.... เกณฑ์ PL (Progressive Level) Band 3 คะแนนประมาณ เข้าสู่ระบบการตรวจ เชิงคุณภาพ (รางวัลฯ รายหมวด) ภายในปี 2559 Certify เกณฑ์ FL (Fundamental Level) Band 3 คะแนนประมาณ ภายในปี 2558 ภายในปี 2555
20
Roadmap การพัฒนาองค์การตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน
21
ระบบสนับสนุนของ สำนักงาน ก.พ.ร.
ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1 – 7 (Toolkits) Download จาก ศูนย์ความรู้ > เอกสารเผยแพร่ > คู่มือ ให้คำปรึกษาผ่านห้องสนทนาระบบออนไลน์ (PMQA Chat Room) ที่ เว็บไซต์ ทุกวันจันทร์ ถึง พฤหัส เวลา – น. PMQA e-Learning เว็บไซต์ ติดตามความเคลื่อนไหวและข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ PMQA จากเว็บไซต์ > ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 > การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ > เอกสารและสื่อ ปี 2554
23
ต่อ 9948, 8985, 8915,8804
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.