ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Organization Design
2
ความหมาย “การออกแบบองค์การ”
Organization Design ความหมาย “การออกแบบองค์การ” กระบวนการสร้างความกลมกลืนระหว่าง โครงสร้างองค์การ คน งาน ระบบการให้รางวัล รวมถึงวัฒนธรรม และองค์การที่ไม่เป็นทางการ
3
ความสำคัญของการออกแบบองค์การ
เมื่อองค์การมีขนาดใหญ่ขึ้น รูปแบบขององค์การจะแตกต่างไปตามประเภทของงานที่ทำ
4
ความสำคัญของการออกแบบองค์การ
รูปแบบองค์การต้องสอดคล้องกับลักษณะของกลยุทธ์ที่เลือกใช้ เมื่อองค์การมีการพัฒนา ทางด้านเทคโนโลยี
5
องค์ประกอบพื้นฐานของการออกแบบองค์การ
โครงสร้าง องค์การ งาน คน การให้รางวัล และ การตัดสินใจ วัฒนธรรม และองค์การที่ ไม่เป็นทางการ
6
องค์ประกอบพื้นฐานของการออกแบบองค์การ
โครงสร้างองค์การ (Structure) โครงสร้างที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีการจัดแบ่งงานออกเป็นกลุ่มตามความชำนาญเฉพาะอย่าง (Specialization) และการประสานงาน (Coordination)
7
องค์ประกอบพื้นฐานของ การออกแบบองค์การ
งาน (Tasks) กิจกรรมย่อยต่างๆของกลยุทธ์ ต้องชี้ชัดว่างานใคคือ “งานวิกฤต” (Critical Tasks) งานวิกฤตคือหัวใจสำคัญของการกำหนดรูปแบบองค์การ
8
องค์ประกอบพื้นฐานของ การออกแบบองค์การ
คน (People) คนที่ทำงานอยู่ในองค์การ กับ คนงานในอนาคต เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับการจ้างงาน
9
องค์ประกอบพื้นฐานของ การออกแบบองค์การ
ระบบการให้รางวัลและการตัดสินใจ (Decision and Reward Systems) วัฒนธรรมและองค์การที่ไม่เป็นทางการ (Informal Org. and Culture)
10
ความสอดคล้องและกลมกลืนขององค์ประกอบทั้ง 5
คนกับระบบการให้รางวัล งานกับคน งานกับระบบการให้รางวัล
11
ความสอดคล้องและกลมกลืนขององค์ประกอบทั้ง 5
คนกับโครงสร้างองค์การ องค์การไม่เป็นทางการกับคน งานกับโครงสร้างองค์การ
12
ทางเลือกในการออกแบบองค์การ
โครงสร้างองค์การแบบง่าย (Simple Structure) เจ้าของ/ผู้จัดการ พนักงาน
13
ข้อดี 1. ควบคุมดูแลง่าย 2. ตัดสินใจรวดเร็ว 3. ไม่มีปัญหาการประสานงาน
โครงสร้างองค์การแบบง่าย (Simple Structure) ข้อดี 1. ควบคุมดูแลง่าย 2. ตัดสินใจรวดเร็ว 3. ไม่มีปัญหาการประสานงาน 4. ควบคุมและจูงใจง่าย เจ้าของ/ผู้จัดการ พนักงาน
14
ข้อเสีย 1.เจ้าของต้องแบกภาระหนัก 2.ไม่มีการส่งเสริมพนักงาน
โครงสร้างองค์การแบบง่าย (Simple Structure) เจ้าของ/ผู้จัดการ พนักงาน ข้อเสีย 1.เจ้าของต้องแบกภาระหนัก 2.ไม่มีการส่งเสริมพนักงาน 3.ไม่มีการวางแผนระยะยาว
15
โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานตามหน้าที่ (Functional Structure)
PRESIDENT Vice President Research / Devel. Manufacturing Marketing Product A Product B Product C
16
โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานตามหน้าที่(Functional Structure)
ข้อดี 1. เกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง 2. ควบคุมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง 3. สามารถส่งเสริมและสนับสนุนหน่วยงานหลักได้เต็มที่
17
โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานตามหน้าที่(Functional Structure)
ข้อเสีย 1. ความชำนาญเฉพาะอย่างก่อให้เกิดความเบื่อหน่ายในงานที่ทำ 2. เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน 3. ประสานงานยาก 4. Line กับ Staff อาจขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน
18
โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานเป็นฝ่าย (Divisional Structure)
PRESIDENT Vice President Product A Division Product B Product C Research / Development Manufacturing Marketing
19
โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานเป็นฝ่าย (Divisional Structure)
ข้อดี เกิดการประสานงานและตัดสินใจได้รวดเร็ว ฝึกผู้จัดการฝ่ายให้เป็นนักวางแผน ผู้บริหารระดับสูงมีเวลาวางแผนกลยุทธ์สำหรับส่วนรวม
20
โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานเป็นฝ่าย (Divisional Structure)
ข้อเสีย เกิดการแข่งขันแย่งทรัพยากร ปัญหาเกี่ยวกับขอบข่ายของอำนาจหน้าที่ นโยบายของแต่ละฝ่ายอาจขัดแย้งกัน
21
โครงสร้างองค์การแบบ SBU (Strategic Business Units)
ประธาน รองประธานฝ่าย SBU 1 SBU 2 SBU 3 รองประฝ่าย Operating Service Administrative Service Divisions A B C D E F G H I
22
โครงสร้างองค์การแบบ SBU (Strategic Business Units)
ข้อดี สร้างการประสานงานที่ดีสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกัน การบริหารและการควบคุมรัดกุมขึ้น ช่วยทำให้การวางแผนมีความละเอียดรอบคอบมากขึ้น
23
โครงสร้างองค์การแบบ SBU (Strategic Business Units)
ข้อเสีย ทำให้สายการบังคับบัญชายาวขึ้น เกิดการแข่งขันแย่งทรัพยากรมากขึ้น เกิดความยุ่งยากสำหรับอิสระในการทำงานของผู้บริหารกลุ่มSBU กับ ผู้บริหาร Divisions
24
โครงสร้างองค์การแบบ Matrix
General Manager Functional Manager A Manager B Manager C Project Manager 1 Employee A1 B1 C1 Manager 2 A2 B2 C2 Group Project Team
25
โครงสร้างองค์การแบบ Matrix
ข้อดี เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเต็มที่ ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในองค์การ ทำให้ผู้บริหารระดับกลางได้พัฒนาตนเองให้เป็นนักวางแผนที่ดี
26
โครงสร้างองค์การแบบ Matrix
ข้อเสีย คนงานอาจสับสนและขัดแย้งในการทำงานเนื่องจากต้องรับผิดชอบงานอ 2 ด้าน ต้องมีระบบการประสานงานที่ดี
27
การออกแบบองค์การ และขนาดขององค์การ
ความชำนาญเฉพาะอย่าง น้อย = คนทำงาน หลากหลาย มาก = คนทำงาน เฉพาะอย่าง organization design
28
การออกแบบองค์การ และขนาดขององค์การ
มาตราฐาน น้อย = แค่งานสำเร็จ มาก = งานรูปแบบง่าย การกระจายอำนาจ น้อย = Centralization มาก = Decentralization
29
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบองค์กร
สภาพแวดล้อม (Environment) นโยบายรัฐบาล คุณค่าของสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี etc. เทคโนโลยี (Technology) ขนาดขององค์การ (Size)
30
การออกแบบองค์กรในอนาคต
ระดับชั้นของผู้บริหารมีน้อยลง องค์กรแบบแบนราบ (Flat Organization) แผนกงานมีอิสระมากขึ้น การกระจายอำนาจ (Decentralized) แยกระบบงานให้ทำงานเป็นอิสระ ใช้ทรัพยากรต่างๆโดยไม่จำกัด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.