งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี โทร

2

3

4 สถานการณ์เอดส์

5 จะมีผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น 1 ราย ใน 1 วันจะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น
ทุก 8 วินาที จะมีผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น 1 ราย ใน 1 วันจะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น 11,000 รายทั่วโลก ในจำนวนนี้ร้อยละ 40 เป็นวัยรุ่นอายุ ปี

6 HIV/AIDS ผู้ติดเชื้อที่ยังไม่แสดงอาการ กลุ่มเสี่ยงต่างๆ

7 สัดส่วนของช่องทางการติดเชื้อสถานบริการสุขภาพ
ในผู้ติดเชื้อรายใหม่ของประเทศไทย ปี

8 อะไรเป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชื้อเอชไอวี..มากที่สุด
การมีคู่นอนที่มากกว่าหนึ่ง การเป็นพวกรักร่วมเพศ การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ ซื้อขายบริการทางเพศ ไม่รักครอบครัว/ครอบครัวไม่อบอุ่น เพราะเมา เพราะไม่รักชีวิต เพราะมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี(ซึ่งดูไม่ออก)

9 ร้อยละผู้ป่วยเอดส์ จำแนกตามปัจจัยเสี่ยง ปี 2527 - 2554
ไม่ทราบปัจจัยเสี่ยง ติดเชื้อจากมารดา ฉีดยาเสพติด เพศสัมพันธ์

10 ระยะใดต่อไปนี้มีความเสี่ยงมากที่สุด ในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี?
A. ระยะ 4 สัปดาห์แรกหลังจากติดเชื้อเอชไอวี B. ระยะที่ไม่มีอาการภายหลัง 4 สัปดาห์ที่ติดเชื้อไปแล้ว C. ระยะที่แสดงอาการเอดส์ D. ระยะที่มีการดื้อยาต้านไวรัส E. ไม่มีความแตกต่างกันในแต่ละระยะ

11 โอกาสการถ่ายทอดเชื้อในแต่ละระยะของการติดเชื้อ
Cohen MS. HIV prevention in the treatment setting. iMEDOPTIONS 2005.

12 พฤติกรรมทางเพศของผู้ติดเชื้อเอชไอวีน้อยกว่าคนทั่วไปจริงหรือไม่ ?
ไม่จริง จากการศึกษาที่รายงานพบว่า ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีประมาณ ร้อยละ ยังมีเพศสัมพันธ์อยู่แม้ในช่วงที่ผู้ป่วยสุขภาพไม่ดีอาจมีการลดพฤติกรรมทางเพศแต่เมื่อผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสผู้ป่วยส่วนใหญ่มีสุขภาพดีขึ้นทำให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีมีพฤติกรรมทางเพศไม่แตกต่างจากคนปกติ Nakayiwa S, et al. AIDS Behav 2006 Sirivongrangson P, et al. J Acquir Immune Defic Syndr 2006 Dave SS, et al. Sex Transm Infect 2006

13 คู่นอนของผู้ป่วยทุกคนมีผลเลือดเป็นบวกเช่นกัน จริงหรือไม่ ?
ไม่จริง อัตราการมีผลเลือดต่างของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและคู่นอนที่มีรายงานในประเทศไทย ( HIV discordance rate) พบมากถึงร้อยละ 30-53 Bennetts A, et al. AIDS Care 1999 de Boer MA, et al. Am J Epidemiol 1998 Chaowavanich A, et al. Thai CDC journal 2007

14 ทำไมคู่ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีจึงมีผลเลือดเป็นลบได้ทั้งๆที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ใช้ถุงยางอนามัย?
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี อาจมีระดับไวรัสในเลือดต่ำ คู่ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีอาจติดเชื้อแล้วแต่ยังอยู่ใน Window period ความเสี่ยงไม่ใช่ร้อยละ 100 ต่อการมีเพศสัมพันธ์ในแต่ละครั้ง คู่ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีอาจพร่อง Chemokine receptor ที่เชื้อเอชไอวีใช้จับ ถูกทั้งข้อ A และ C ถูกทุกข้อ ตอบข้อ F

15 ระดับไวรัสในกระแสเลือดมีความสัมพันธ์กับอัตราความเสี่ยงการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีอย่างไร?
ปริมาณไวรัสในกระแสเลือด (Copies/mL) อัตราเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี (adjusted rate ratio; 95% CI) <3500 1 (อัตราเสี่ยงอ้างอิง) 5.80 เท่าของอัตราเสี่ยงอ้างอิง ( ) 10,000-49,999 6.91 เท่าของอัตราเสี่ยงอ้างอิง( ) >50,000 11.87 เท่าของอัตราเสี่ยงอ้างอิง( ) ระดับไวรัสในกระแสเลือดที่เพิ่มขึ้น 1 log 2.45 เท่าของอัตราเสี่ยงอ้างอิง( ) ไวรัสในกระแสเลือดเพิ่มอัตราเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อโดยถ้าไวรัสเพิ่มขึ้น 1 log ความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 2.45 เท่า MMWR 2003;52: Quinn TC, et al. NEJM. 2000;342:

16 คุณมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี เข้าสู่ร่างกาย.....หรือไม่
ไม่เสี่ยง เสี่ยง ไม่แน่ใจ เพราะ

17 กลุ่มเสี่ยงในอดีต

18 กลุ่มเสี่ยงในปัจจุบัน
กลุ่มวัยรุ่น

19 ความเสี่ยงในวัยรุ่น

20

21 WSW (Women who have sex with Women)

22 (Men who have sex with Men)

23 ชายรักชายจัดเป็นกลุ่มเสี่ยงหลัก 1 ใน 5 ที่ติดเชื้อ เอชไอวี
MSM in Thailand 2007 ชายรักชายจัดเป็นกลุ่มเสี่ยงหลัก 1 ใน 5 ที่ติดเชื้อ เอชไอวี ในกรุงเทพพบชายรักชายติดเชื้อเอชไอวีระหว่าง 17% ถึง 28%

24 AIDS Update 2007 สิ่งที่กังวลมากคือการกลับมาระบาดของโรคเอดส์ เนื่องจาก 1 ใน 3 ของกลุ่มชายรักชาย ยังเที่ยวผู้หญิงและมีภรรยา เมื่อติดเชื้อโดยไม่รู้ตัวและยังคงเที่ยว ทำให้เชื้อแพร่กระจายสู่นักเที่ยวอื่น รวมถึงนำมาติดภรรยาที่บ้าน Source : UNAIDS Nov 2007

25 ประชากรผู้ชาย 100 คน เขาเป็นอย่างไรกันบ้าง ?
เป็นเกย์ คน เป็นสามีของเกย์ คน มีเมียแล้ว คน อยู่ในคุก คน มุ่งสู่นิพพาน คน หน้าตาอุบาทว์มากๆ คน ไร้สมรรถภาพ คน เป็นเอดส์ คน อยู่ในโรงพยาบาลบ้า 1 คน ประชากรผู้ชาย 100 คน เขาเป็นอย่างไรกันบ้าง ? จากสถิติดังกล่าว ผู้ชาย 100 คน เหลือที่ใช้การได้เพียง 1 คน ผู้หญิงเอย.....ผู้ชายมีน้อยโปรดใช้สอยอย่างประหยัด

26 พยาบาล พฤติ กรรม เสี่ยง พระ แม่ชี นักเรียนพาณิชย์
เป็นเด็กดีไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ พยาบาล ใส่ถุงมือทุกครั้งที่ทำการพยาบาล พระ ก่อนบวชมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้องทุกครั้ง ที่มีเพศสัมพันธ์ ชายรักร่วมเพศ ใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้องทุกครั้ง ที่ขายบริการ หญิงขายบริการ แม่ชี ก่อนบวชมีสามีมา 2 คน ป้องกันบางครั้ง

27 สรุป ความเสี่ยงต่อเอดส์ เป็นเรื่อง “ทำอะไร”
เป็นเรื่อง “ทำอะไร” (ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อ) ไม่ใช่ “เป็นใคร” ทุกคนมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อ หากไม่ป้องกันตัวเองจากพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่งส่วนใหญ่จากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน

28 ข้อใดต่อไปนี้มีความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีมากที่สุดในกรณีที่ไม่ได้รับการป้องกัน?
A. การติดเชื้อจากแม่สู่ลูก B. การมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก C. การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน D. การมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด E. การมีเพศสัมพันธ์ทางปาก A. เฉลยในสไลด์ถัดไป

29 ระดับความเสี่ยง เสี่ยงมาก เป็นความเสี่ยงในระดับที่ทำให้มีโอกาส
เสี่ยงมาก เป็นความเสี่ยงในระดับที่ทำให้มีโอกาส ได้รับเชื้อสูงมาก และคนส่วนใหญ่ ได้รับเชื้อเอดส์จากความเสี่ยงนั้นๆ เสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้ออยู่บ้าง แต่ ไม่มากเท่ากับ “เสี่ยงมาก” เสี่ยงน้อยมาก มีความเสี่ยงในเชิงทฤษฏี แต่ในสถานการณ์ จริง โอกาสรับเชื้อแทบไม่มีเลย หรือมีน้อย มากที่จะได้รับเชื้อจากทางนี้ ไม่เสี่ยง เป็นการกระทำหรือช่องทางที่ไม่มีโอกาสรับเชื้อ

30 พฤติกรรมนี้......เสี่ยงระดับไหน
ใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน การมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอดโดย ใส่ถุงยางอนามัยเมื่อถึงจุดสุดยอด การใช้กรรไกรตัดเล็บ หรือมีดโกนร่วมกัน การจูบปากกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี การทำ Oral Sex

31 การติดต่อและการแพร่ระบาด ข้อแม้หรือปัจจัยที่ทำให้ติดเชื้อเอดส์
ของโรคเอดส์ ข้อแม้หรือปัจจัยที่ทำให้ติดเชื้อเอดส์ ปริมาณและแหล่งที่อยู่ของเชื้อ(Quantity and Source) คุณภาพของเชื้อ (Quality) ช่องทางการติดต่อ (Route of Transmisstion)

32 แหล่งที่อยู่ของเชื้อไวรัสเอดส์
มากที่สุด ในเลือด น้ำเหลือง เนื้อเยื่อต่างๆ รองลงมา ในน้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำเลี้ยงสมอง น้อยมาก ในน้ำลาย เสมหะ น้ำนม แทบไม่มีเลย ในเหงื่อ ปัสสาวะ อุจจาระ

33 การทำลายเชื้อเอดส์ ใช้แอลกอฮอล์ 70 % น้ำต้มเดือดอุณหภูมิ 56 องศาเซลเซียส ไฟเผา น้ำยาซักฟอกขาว / ผงซักฟอก ความเป็นกรดเป็นด่าง หรือ กรดในน้ำลาย ฯ นอกร่างกายมนุษย์ สภาวะเหมาะสมที่เชื้อเอดส์สามารถดำรงชีวิต อยู่ได้ ประมาณ นาที คือ อุณหภูมิระหว่าง องศา เซลเซียส โดยที่ไม่มีลม หรือแสงมารบกวนโดยเด็ดขาด

34 เยื่อบุ น้ำรัก/น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำเหลือง ช่องเปิด
ช่องทางออก ช่องทางเข้า เยื่อบุ ช่องคลอด อวัยะเพศชาย ปาก/ก้น น้ำรัก/น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำเหลือง ปัจจัยร่วม ความรุนแรงในการร่วมเพศ เป็นกามโรคที่มีแผล ช่องเปิด รูฉี่(ผู้ชาย) การใส่ห่วงคุมกำเนิด ความบ่อย/ถี่ในการร่วมเพศ

35 เลือด น้ำเหลือง น้ำเหลือง ช่องทางออก ช่องทางเข้า เลือด ปริมาณเลือด
ขนาดของแผล ระยะเวลา สภาพแวดล้อม

36 เสี่ยงมาก เสี่ยงมาก มาก ปริมาณ มาก ปริมาณ คุณภาพ มาก คุณภาพ มาก
ใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน การมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอดโดย ใส่ถุงยางอนามัยเมื่อถึงจุดสุดยอด มาก ปริมาณ มาก ปริมาณ คุณภาพ มาก คุณภาพ มาก ช่องทาง มี ช่องทาง มี เสี่ยงมาก เสี่ยงมาก

37 การจูบปากกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การใช้กรรไกรตัดเล็บ หรือมีดโกนร่วมกัน น้อย ปริมาณ น้อย ปริมาณ คุณภาพ น้อย คุณภาพ น้อย ช่องทาง ไม่มี ช่องทาง น้อย น้อย ไม่เสี่ยง

38 การทำ Oral Sexให้ผู้ติดเชื้อ ผู้ติดเชื้อทำ Oral Sex ให้
น้อย ปริมาณ มาก ปริมาณ คุณภาพ น้อย คุณภาพ มาก ช่องทาง น้อย ช่องทาง น้อย ปานกลาง น้อย

39 การติดเชื้อเอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก

40 กราฟแสดงโอกาสการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูกในระยะต่างๆ
การติดเชื้อจากแม่สู่ลูก ระดับโอกาสของการติดเชื้อ ระยะก่อนคลอด ระยะหลังคลอด ระยะคลอด กราฟแสดงโอกาสการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูกในระยะต่างๆ

41 แนวทางการป้องกันโรคเอดส์
1. การป้องกันการแพร่โรคทางเพศสัมพันธ์ ไม่เปลี่ยนคู่นอน การใช้ถุงยางอนามัยป้องกัน การงดเว้นการมีเพศสัมพันธ์ 2. การป้องกันการแพร่เชื้อทางเลือด เปลี่ยนเข็ม ใช้เลือดตัวเอง ไม่ใช้สารเสพติดทุกชนิด 3. การป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก ควรมาฝากครรภ์แต่เนิน ๆ และรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ ดื่มนมจากนมผง

42 Safe Sex Safe = ปลอดภัย ไม่เสี่ยงต่อการรับเชื้อ
Sex = Sexual Practice การปฏิบัติทางเพศ Sexual Activity กิจกรรมทางเพศ

43 sexual activities masturbation sexual relationship sexual intercourse
sexual outercourse (small sex) oral sex vaginal sex anal sex with condom without condom

44 อุปกรณ์ทางเพศ Sex toy

45 การใช้อุปกรณ์ทางเพศ Sex toy

46 อุปกรณ์ทางเพศ Sex toy

47 วัสดุทำอุปกรณ์ทางเพศ Sex toy

48 ควรระวังสนิม ควรระวังสนิม

49 Sex toy Exhibition

50

51 ถุงยางอนามัยสำหรับสตรี ( Female Condom )

52

53 โรคเอดส์ คืออะไร..?

54 กลุ่มอาการ ภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่อง
โรคเอดส์ คืออะไร..? A = Acquired I = Immuno D = Deficiency S = Syndrome

55 โรคเอดส์...เกิดจาก? เกิดจากการติดเชื้อไวรัส HIV (Human Immunodeficiency Virus) สามารถแบ่งตัวได้ในเซลล์ของคน เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์สมอง เมื่อร่างกายติดเชื้อ จะสร้างภูมิต้านทาน (Antibody) ต่อต้านเชื้อไวรัส แต่ไม่สามารถกำจัดให้หมด เชื้อยังคงอยู่ในเม็ดเลือดและแพร่ต่อไปได้และจะไปทำลายเม็ดเลือดขาว T4 Lymphocyte ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการควบคุมระบบภูมิต้านทานของร่างกายทำให้ภูมิต้านทานลดลง

56 คุณสมบัติของเชื้อไวรัส HIV
แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ในร่างกายมนุษย์เท่านั้น ต้องมีแหล่งที่อยู่ให้อาศัย (เม็ดเลือดขาวซึ่งเป็นระบบภูมิคุมกัน ของร่างกายอยู่ในกระแสเลือด) กลายพันธุ์เร็ว ปัจจุบันมีหลายสายพันธุ์ เมื่อออกนอกร่างกาย ไม่สามารถทนสภาพแวดล้อมภายนอกได้ อาจมีชีวิตอยู่ได้นานเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม และอุณหภูมิที่เหมาะสม

57 เอดส์ ติดต่อได้ 3 ทางหลักๆ
1. ทางเพศสัมพันธ์ - ชาย สู่ หญิง - ชาย สู่ ชาย - หญิง สู่ หญิง “ ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ” “ผู้ที่เปลี่ยนคู่นอนบ่อย ”

58 ความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี
ความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีเรียงจากมากไปน้อยดังนี้ การรับเลือดจากผู้ติดเชื้อ 95/100 การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกโดยไม่ได้ป้องกัน ¼ เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก 1/10-1/1600 โดยเฉพาะถ้ามีการฉีกขาด การใช้เข็มร่วมกันหรือเข็มตำ 1/ ในกรณีนี้เลือดในปลายเข็มอาจมีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับการสัมผัสเลือดในเวลาเด็กคลอดหรือมีเพศสัมพันธ์ซึ่งจะใช้เวลานานกว่า การมีเพศสัมพันธ์จากชายไปหญิงและจากหญิงไปชาย Cohen MS. HIV prevention in the treatment setting. iMEDOPTIONS 2005.

59 2. ทางเลือด การรับเลือดขณะทำผ่าตัด หรือเพื่อรักษา
การรับการปลูกถ่ายอวัยวะ การใช้เข็ม หรือกระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ การสัก การเจาะ

60 ความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี
ความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีเรียงจากมากไปน้อยดังนี้ การรับเลือดจากผู้ติดเชื้อ 95/100 การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกโดยไม่ได้ป้องกัน ¼ เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก 1/10-1/1600 โดยเฉพาะถ้ามีการฉีกขาด การใช้เข็มร่วมกันหรือเข็มตำ 1/ ในกรณีนี้เลือดในปลายเข็มอาจมีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับการสัมผัสเลือดในเวลาเด็กคลอดหรือมีเพศสัมพันธ์ซึ่งจะใช้เวลานานกว่า การมีเพศสัมพันธ์จากชายไปหญิงและจากหญิงไปชาย Cohen MS. HIV prevention in the treatment setting. iMEDOPTIONS 2005.

61 3. ทางมารดาสู่ทารก ก่อนคลอดทางสายรก ขณะคลอด ระยะหลังคลอด

62 ความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี
ความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีเรียงจากมากไปน้อยดังนี้ การรับเลือดจากผู้ติดเชื้อ 95/100 การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกโดยไม่ได้ป้องกัน ¼ เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก 1/10-1/1600 โดยเฉพาะถ้ามีการฉีกขาด การใช้เข็มร่วมกันหรือเข็มตำ 1/ ในกรณีนี้เลือดในปลายเข็มอาจมีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับการสัมผัสเลือดในเวลาเด็กคลอดหรือมีเพศสัมพันธ์ซึ่งจะใช้เวลานานกว่า การมีเพศสัมพันธ์จากชายไปหญิงและจากหญิงไปชาย Cohen MS. HIV prevention in the treatment setting. iMEDOPTIONS 2005.

63 น้องใบเฟิร์น

64

65 ระบบภูมิคุ้มกัน T M M M M B

66 กลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกาย
T M M M M B

67 กลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกาย
เข้าสู่เซลล์ เปลี่ยนจากRNAเป็นDNA เป็นไวรัสสมบูรณ์ เข้าสู่นิวเคลียส รวมกับDNAของคน สร้างRNAจากDNA

68

69 CD 4……คือ อะไร เป็นเซลเม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocytes ที่ทำหน้าที่ในการต่อสู้เชื้อโรค และเป็นเป้าหมายสำคัญที่เชื้อเอชไอวีเข้าไปเจริญเติบโตและแบ่งตัวทำลายเซลล์ ระดับ CD4 ในคนปกติ มีค่าอยู่ที่ เซลล์ต่อเลือด 1 mm3 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีถ้าไม่ได้รับการรักษา CD4 จะลดลงปีละประมาณ เซลล์ต่อปี

70 Viral load……คือ อะไร คือ ปริมาณ HIV-RNA ที่มีในกระแสเลือดของผู้ติดเชื้อเอชไอวี แต่ละคน ปริมาณเชื้อจะมากหรือน้อย ขึ้นกับ - การตอบสนองของภูมิคุ้มกันของร่างกาย - คุณสมบัติในการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัส - ระยะของการติดเชื้อ การตรวจไวรัสโหลด คือ การนับจำนวนไวรัสเอช ไอ วี อิสระในเลือด 1 ซีซี

71 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณซีดี4 กับระยะเวลาที่ติดเชื้อ
700 500 วัณโรค งูสวัดรุนแรง เชื้อราในปาก ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ริ้วขาวข้างลิ้น เริมที่อวัยวะเพศ ตุ่มพีพีอี ท้องเสียเรื้อรัง 200 ปอดอักเสบพีซีพี ผู้ป่วยเอดส์ เชื้อราเยื่อหุ้มสมอง ฝีในสมอง วัณโรคนอกปอด ซีเอ็มวี ระยะเวลา (ปี)

72 เหมือน : ทั้งผู้ติดเชื้อเอชไอวี และ ผู้ป่วยเอดส์ต่างได้รับเชื้อ เอชไอวี เข้าสู่ร่างกายเหมือนกัน ต่างกัน : ผู้ติดเชื้อเอชไอวี หมายถึง ผู้ที่รับเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายแล้วยังไม่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสและมีภูมิคุ้มกัน (CD4) มากกว่า 200 เซลล์ ผู้ป่วยเอดส์ หมายถึง ผู้ที่รับเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายจนกระทั่งมีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสหรือไม่เจ็บป่วยก็ได้แต่ระดับภูมิคุ้มกัน (CD4) น้อยกว่า 200 เซลล์

73 เชื้อราในช่องปาก ฝ้าขาวที่ลิ้น

74 เริมที่อวัยวะเพศ หงอนไก่ รอบทวารหนัก

75 Papulopruritic eruption
(PPE)

76 โรคสะเก็ดเงินที่ผิวหนัง
ผื่นแพ้มีสะเก็ด

77 หูดข้าวสุก ตุ่มน้ำงูสวัดที่แขน

78 TB Lymph node

79 ปอดอักเสบ พี ซี พี วัณโรคปอด

80 แผล ซี เอ็ม วี ที่จอประสาทตา
ฝีในสมอง

81 การติดเชื้อ Penicilliosis ในผู้ป่วยเอดส์

82 ..ปัจจัยที่ทำให้ผู้ติดเชื้อป่วยช้า หรือเร็ว
..ปัจจัยที่ทำให้ผู้ติดเชื้อป่วยช้า หรือเร็ว 1. ภูมิคุ้มกันพื้นฐานแต่ละคนต่างกัน 2. ปริมาณและความรุนแรงของเชื้อHIV 3. การป้องกันและการรักษาโรคฉวยโอกาส 4. การดูแลสุขภาพกาย และใจ

83 การปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อเอดส์
รักษาสุขภาพกาย จิตใจ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการรับและแพร่โรค งดสิ่งเสพติดทุกชนิด งดบริจาคเลือด/ อวัยวะ หลีกเลี่ยงการรับเชื้อเพิ่ม หลีกเลี่ยงการมีบุตร

84 โรคเอดส์...รักษาให้หายได้หรือไม่..?
การป้องกัน/รักษาโรคฉวยโอกาส การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ การเสริมสร้างพลังในการดูแล สุขภาพตนเอง

85 การรักษาดวยยาตานไวรัส

86 เอดส์...รู้เร็ว....รักษาได้

87

88 สิทธิ์ในการรักษาโรคเอดส์
บัตรประกันสุขภาพ (บัตรทอง) บัตรประกันสังคม สิทธิ์ราชการ (เบิกได้) ต่างด้าว

89 การรักษาด้วย ยาต้านไวรัสเอดส์
เพื่อลดปริมาณเชื้อไวรัสให้ต่ำที่สุดและนานที่สุด ทำให้การดำเนินโรคช้าลง เพื่อไม่ให้เชื้อไวรัสดื้อยา ลดการเจ็บป่วยและเสียชีวิต จากโรคเอดส์ เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้ป่วยจำเป็นต้องกินยาต้านไวรัสเอดส์อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

90 ทำไมต้องกินยาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ปริมาณเชื้อ HIV ในร่างกายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ยา ARV มี half life สั้น ต้องกินตามแผนการรักษาเพื่อให้มีระดับยาในเลือดมากพอที่จะลดปริมาณเชื้อไวรัสได้ กินยาไม่สม่ำเสมอหรือขาดช่วงจะทำให้เชื้อไวรัสดื้อยาได้

91 ชนิดของยาต้านไวรัสเอดส์
3TC = สามทีซี AZT= เอแซดที ddI = ดีดีไอ d4T = ดีโฟที TDF=ทีนอฟโฟเวียร์ (Nucleoside Reverse Transcriptase) กลุ่ม 1 NRTIs กลุ่ม 2 NNRTIs (N0n-Nucleoside Reverse Transcriptase) NVP = เนวิราปีน EFV = เอฟฟาวาเรนซ์ กลุ่ม 3 PIs (Protease inhibitors) IDV = อินดินาเวียร์ RTV = ริโทรนาเวียร์ SQV = ซาควินาเวียร์ NFV = เนฟินาเวียร์ LPV = โลปินาเวียร์

92 Highly Active Antiretroviral Therapy
ให้ยาอย่างไร HAART Highly Active Antiretroviral Therapy

93 เมื่อไหร่จะเริ่มยาต้านไวรัส
เมื่อระดับ ซี ดี 4 ต่ำกว่า 200 ระดับ ซี ดี 4 มากกว่า แต่มีโรคแทรกที่มีสาเหตุมาจากภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น เชื้อราในปาก เป็นต้น ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ “ต้องพร้อม”

94 สูตรยาต้านสำหรับผู้ใหญ่
Group D d4T+ 3TC + Boosted PIs ddI + 3TC + Boosted PIs -AZT+ 3TC + Boosted PIs -AZT + ddI + Boosted PIs -AZT+ TDF + Boosted PIs -TDF + 3TC + Boosted PIs -NVP + Boosted PIs EFV + Boosted PIs Group C ddI+ 3TC + EFV ddI + 3TC + NVP -TDF+ 3TC + EFV -TDF+ 3TC + NVP -ddI + 3TC + IDV/r -TDF + 3TC + IDV/r Group A d4T + 3TC + NVP d4T + 3TC + EFV -AZT+ 3TC + NVP -AZT+ 3TC + EFV Group B d4T + 3TC + IDV/r -AZT+ 3TC + IDV/r A และ B สูตรพื้นฐาน แพทย์ทั่วไป C สูตรพื้นฐานเฉพาะกรณีมีผลข้างเคียงจากยา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ D สูตรดื้อยา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

95 สูตรยาต้านสำหรับเด็ก
Group D d4T+ 3TC + Boosted PIs -AZT+ 3TC + Boosted PIs -AZT + ddI + Boosted PIs -AZT+ TDF + Boosted PIs -ddI + 3TC + Boosted PIs -TDF + 3TC + Boosted PIs -NVP + Boosted PIs EFV + Boosted PIs AZT +3TC + TDF +B PIs LPV/r + IDV + 3TC Group C ddI+ 3TC + EFV ddI + 3TC + NVP ddI + 3TC + IDV/r ddI + 3TC + NFV -TDF+ 3TC + EFV -TDF+ 3TC + NVP -TDF + 3TC + IDV/r -TDF + 3TC +NFV Group A - d4T + 3TC + EFV AZT + 3TC + EFV d4T + 3TC + NVP -AZT+ 3TC + NVP Group B d4T + 3TC + IDV/r -AZT+ 3TC + IDV/r -d4T + 3TC + NFV -AZT + 3TC +NFV A และ B สูตรพื้นฐาน แพทย์ทั่วไป C สูตรพื้นฐานเฉพาะกรณีมีผลข้างเคียงจากยา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ D สูตรดื้อยา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

96 ผลข้างเคียงระยะสั้น ผลข้างเคียงระยะยาว

97 อาการแพ้ยา

98 Lipodystrophy

99

100 (ครบถ้วน : ส่งเสริม รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู) Community and home base care
หัวใจ สำคัญ Holistic care (องค์รวม) Comprehensive care (ครบถ้วน : ส่งเสริม รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู) Continuum care (ต่อเนื่อง) Community and home base care (ดูแลถึงชุมชน) การดูแลรักษา

101 ในการอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ Understanding
ข้อควรคำนึง ในการอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ Understanding ความเข้าใจผู้ติดเชื้อ Confidentiality การรักษาความลับ DISCRIMINATION การแบ่งแยกหรือการเลือกปฏิบัติ Stigmatization การตราบาปหรือตรามลทิน

102 ดูไม่ออกบอกไม่ได้....ว่าใครคือตัวจริง
เอดส์รู้เร็ว รักษาได้...นะจะบอกให้


ดาวน์โหลด ppt รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google