ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ
วรพจน์ พรหม จักร
2
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ ความหมายของแหล่ง สารสนเทศ
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะ ของแหล่งสารสนเทศแต่ละ ประเภทและแยกแยะความ แตกต่างได้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเลือก แหล่งสารสนเทศได้อย่าง เหมาะสมและเป็นประโยชน์ วัตถุประสงค์
3
แหล่งสารสนเทศ เป็น แหล่งที่ผู้ใช้สารสนเทศ สามารถแสวงหา สารสนเทศที่ต้องการได้
แหล่งสารสนเทศ หรือ Information sources หมายถึง แหล่งที่เกิด, แหล่งผลิต หรือแหล่งที่ เป็นศูนย์รวมทรัพยากร สารสนเทศ ในรูปแบบ ที่หลากหลายไว้ ให้บริการค้นคว้าผู้ ต้องการสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ
4
แหล่งสารสนเทศแบ่งได้ 4 กลุ่ม ดังนี้
แหล่งสารสนเทศบุคคล แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน แหล่งสารสนเทศอินเตอร์เน็ต
5
ประเภทของแหล่งสารสนเทศ
แหล่งสารสนเทศบุคคล ผู้ที่มีความรู้ + ประสบการณ์ ผู้สร้างสรรค์ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ปราชญ์ชาวบ้าน.... การเข้าถึง(access) พูดคุย ถาม-ตอบ สัมภาษณ์ ด้วย ช่องทางต่างๆ เช่น สอบถาม ส่วนบุคคล โทรศัพท์ อีเมล์ จดหมาย ตัวอย่าง : แฟนพันธุ์แท้, คุณหญิงพรทิพย์, โค้ชซิโก้ เกียรติศักดิ์ ..... ประเภทของแหล่งสารสนเทศ
6
แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสถาบัน ห้องสมุด หอจดหมายเหตุ
ศูนย์ข้อมูล, ศูนย์ สารสนเทศ .... แหล่งสารสนเทศสถาบัน
7
ห้องสมุด คือ ที่, สถานที่ รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ สารสนเทศหลากหลาย รูปแบบ เช่น หนังสือ ซีดี ดีวีดี สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ มีระบบการ บริหารจัดการเพื่อให้ สารสนเทศและบริการที่ ตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้ใช้บริการ แหล่งสารสนเทศสถาบัน
8
วัตถุประสงค์หลักของห้องสมุด
เพื่อการศึกษา (Education) เพื่อข่าวสารความรู้ (Information) เพื่อการค้นคว้าวิจัย (Research) เพื่อความจรรโลงใจ (Inspiration) เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ (Recreation) วัตถุประสงค์หลักของห้องสมุด
9
ประเภทของห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดโรงเรียน
ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา, ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ประเภทของห้องสมุด
10
ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
สิ่งพิมพ์รัฐบาล (สร, GP) หนังสืออ้างอิง (อ, R, Ref) นวนิยาย(นว, Fic) เรื่องสั้น(รส, SC) หนังสือเด็ก(ด, C) จุลสาร กฤตภาค หนังสือ/ตำรา วารสาร(วิชา การ, สารคดี ,บันเทิง) หนังสือพิมพ์ เชิง ปริมาณ เชิง คุณภาพ สื่อโสตทัศน์ วิทยานิพนธ์(ว น, วพ, Thesis) รายงานการ วิจัย(วจ, Res) ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
11
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
จัดเก็บในระบบหมวดหมู่ DDC(Dewey Decimal Classification) LC(Library of Congress Classification) NLM(U.S. National Library of Medicine Classification) การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
12
DDC 000 ความรู้ทั่วไป 500 วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ 100 ปรัชญา จิตวิทยา
000 ความรู้ทั่วไป 100 ปรัชญา จิตวิทยา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร์ การเมืองการ ปกครอง เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย การบริหารรัฐ กิจ การศึกษา 400 ภาษา 500 วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ 600 วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ การแพทย์ พยาบาล เกษตรศาสตร์ บริหารธุรกิจ การบัญชี 700 ศิลปะ 800 วรรณคดี วรรณกรรม 900 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว DDC
13
LC จัดหมวดหมู่โดยใช้อักษร โรมัน จำนวน 20 หมวด แต่ใช้ 21 ตัวอักษร
จัดหมวดหมู่โดยใช้อักษร โรมัน จำนวน 20 หมวด แต่ใช้ 21 ตัวอักษร A B C D E-F G H J K L M N P Q R S T U V Z ไม่ใช้ I O W X Y A-P หมวดหมู่เกี่ยวกับ มนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ Q-V หมวดหมู่เกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์ Z หมวดหมู่เกี่ยวกับ บรรณารักษศาสตร์ LC
14
เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 เลขหมวดหมู่จาก หนังสือชื่อ “สารสนเทศและ การศึกษาค้นคว้า” คือ 025 ส่วนที่ 2 เลขผู้แต่งและชื่อเรื่อง เช่น ธิดารัตน์ เจริญเขต เลขผู้แต่ง คือ ธ51เรื่องที่แต่ง “สารสนเทศและการศึกษา ค้นคว้า” เลขเรียก คือ 025 ธ51ส ส่วนที่ 3 ลักษณะเพิ่มเติม ปี พ.ศ./ค.ศ. ฉบับที่ เล่มที่ 025 ธ51ส 2551 ล.2 ฉ.2 025 ธ51ส 2551 ฉ.3
15
แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน
ได้แก่ โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ บริการข่าวสารทันสมัย ประเภท ข่าว เหตุการณ์สำคัญ สาระ ความรู้ต่างๆ แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน
16
แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกให้สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้ เว็บไซต์ (World Wide Web, WWW) นอกจากนั้นยังมี จดหมายอิเล็กทรอนิกส์( ) FTP(File Transfer Protocol) บริการโอนย้ายไฟล์ แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต
17
การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
เราสามารถเลือกใช้แหล่ง สารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และเป็นประโยชน์ โดยมีหลัก ในการพิจารณาดังนี้ มีความสะดวกในการเข้าใช้ อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งที่เข้า ใช้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ เพียงแต่ผู้ใช้ต้องมีเครื่อง คอมพิวเตอร์และเข้าถึงแหล่ง ความรู้เป็น ห้องสมุดก็เป็น แหล่งที่มีความสะดวกในการ เข้าใช้ จัดตั้งอยู่ในบริเวณที่ เป็นศูนย์กลาง และเปิด ให้บริการตามเวลาที่กำหนด การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
18
การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
เป็นแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ ห้องสมุดเป็นแหล่งสารสนเทศที่ มีความน่าเชื่อถือมากกว่าแหล่ง บุคคลและอินเทอร์เน็ต เนื่องจากมีวิธีการคัดเลือก จัดหา จัดเก็บ ทรัพยากร สารสนเทศอย่างเป็นระบบ และมุ่งเน้นให้บริการ สารสนเทศที่ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ ประหยัดเวลาในการค้นหา สารสนเทศ “แหล่งสารสนเทศบุคคล”ควร คำนึงถึงผู้ที่มีชื่อเสียงคุณวุฒิ หรือประสบการณ์ที่เป็นที่ ยอมรับกว้างขวาง อาจเป็น ระดับประเทศหรือ นานาชาติ การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
19
การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
ในขณะที่อินเทอร์เน็ตเป็น แหล่งที่มีความน่าเชื่อถือน้อย กว่าห้องสมุด เนื่องจากมีการ เผยแพร่ความรู้จำนวนมากที่ ขาดการกลั่นกรองเนื้อหา บางครั้งอาจไม่ถูกต้อง ไม่ ครบถ้วน หรือขัดต่อศีลธรรม ดังนั้นการใช้เว็บไซต์ต่างๆจึง ควรมีความระมัดระวัง ควร เลือกเว็บไซต์เป็นของสถาบัน ต่างๆที่น่าเชื่อถือมากกว่า เว็บไซต์ของบุคคล หรือ หน่วยงานที่ไม่รู้จักชื่อเสียงใน การเลือกใช้ การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
20
การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
มีความสอดคล้องกับลักษณะของ เนื้อหาสารสนเทศที่ต้องการ เช่น - ถ้าต้องการความรู้เฉพาะ สาขาวิชา อาจเลือกใช้ ห้องสมุด คณะ, ห้องสมุดเฉพาะ, ศูนย์ สารสนเทศ - ถ้าต้องการความรู้ทั่วไป หลากหลายสาขาวิชา อาจเลือกใช้ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย - ถ้าเรื่องที่ต้องการ เฉพาะเจาะจงและหาอ่านไม่ได้จาก ทรัพยากรสารสนเทศ อาจต้องใช้ แหล่งบุคคล ที่เชี่ยวชาญในเรื่อง นั้น การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
21
การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
ระมัดระวังเรื่องความ ทันสมัยของเนื้อหาที่ นำเสนอสื่อมวลชน เป็น แหล่งที่เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ที่เป็น ปัจจุบัน ดังนั้น ข้อมูล ข่าวสาร ที่เผยแพร่จึง ล้าสมัยเร็ว เช่น ราคา ทองคำ อาจมีการ เปลี่ยนแปลงตัวเลขทุกวัน ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้อง พิจารณา วัน เดือน ปี ของการผลิต หรือเผยแพร่ ข้อมูลของแหล่งสื่อมวลชน ด้วย การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.